ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: รุก, -รุก- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ รุก่น | [อัร-รุกนุ] الركن, See also: 1 |
|
| กรุก | (v) engrossed with, See also: consumed with interest in, absorbed mentally, Syn. ขลุก, ขลุกขลุ่ย, ง่วนอยู่, Example: เขาชอบกรุกอยู่แต่ในห้องไม่ออกมาสุงสิงกับใคร | บุกรุก | (v) trespass, Syn. ละเมิด, รุกล้ำ, ล่วงล้ำ, Example: คนชนบทในภาคเหนือที่ยากจนมักจะบุกรุกเขตป่าไม้เพื่อเป็นที่ทำกิน, Thai Definition: ล่วงล้ำเข้าไปในเขตที่หวงห้าม, ล่วงล้ำเข้าไปในบริเวณที่หวงห้ามเพื่อยึดครอง, ล่วงล้ำเข้าไปในสถานที่ของผู้อื่นโดยบังอาจหรือพลการ | รุกคืบ | (v) advance, See also: move forward, Example: เมื่อจัดการยึดเมืองธนบุรีได้แล้ว กองทัพเรือก็รุกคืบหน้าต่อไปอย่างรวดเร็ว โดยมุ่งสู่กรุงศรีอยุธยา | รุกฆาต | (v) check, See also: checkmate, Example: เขารุกฆาตคู่ต่อสู้โดยไม่ลังเล, Thai Definition: เดินแต้มหมากรุกเข้าไปกระทบตาขุน และตาตัวอื่นของอีกฝ่ายหนึ่ง | รุกราน | (v) invade, See also: attack, assault, encroach, raid, infringe, Example: การที่อิรักรุกรานคูเวตทำให้แผนการของตะวันตกในตะวันออกกลางล้มลง, Thai Definition: ล่วงล้ำเข้าไปก้าวร้าวระราน | รุกราน | (v) attack, See also: burst into, intrude, assault, Syn. บุกลุก, ล่วงล้ำ, Example: อังกฤษต้องปกป้องจุดนี้ด้วยชีวิต มิเช่นนั้นมหาอำนาจของยุโรปอื่นๆ จะสามารถรุกรานอินเดียอย่างสะดวก, Thai Definition: ล่วงล้ำเข้าไปก้าวร้าวระราน | รุกร้น | (v) hasten, See also: hurry, rush, dash, Syn. รีบเร่ง, Thai Definition: เร่งเข้าไป | รุกล้ำ | (v) trespass, See also: intrude, encroach on, invade, Example: ในพ.ศ. 2437 รัฐบาลฝรั่งเศสในอินโดจีนได้รุกล้ำอธิปไตยของประเทศสยาม โดยส่งกองทัพเข้ายึดครองจังหวัดพระตะบอง | นิรุกติ | (n) language, See also: speech, words, Syn. ภาษา, คำพูด, Notes: (สันสกฤต) | หมากรุก | (n) chess, Example: กีฬาในร่มที่ครูชื่นชอบมากเป็นพิเศษอีก 2 อย่างก็คือบิดเลียดและหมากรุกไทย, Count Unit: กระดาน, Thai Definition: การเล่นชนิดหนึ่ง เดินบนกระดานสี่เหลี่ยมมี 64 ตาซึ่งเรียกว่า กระดานหมากรุก | กรุกกรัก | (adv) sound of hard things bumping against each other, See also: rattle, clatter, Syn. กุกกัก, Example: ใครทำอะไรข้างหลังบ้านเสียงกรุกกรัก | รุกขชาติ | (n) tree, See also: plant, Syn. ต้นไม้, Example: พรรณรุกขชาติในสุมทุมพุ่มไม้ขยายกลีบเกสรรับน้ำค้าง | การรุกล้ำ | (n) trespass, See also: intrusion, encroachment, invasion, Syn. การล่วงล้ำ, การบุกรุก, การรุกราน, Example: การรุกล้ำอธิปไตยของประเทศเป็นจุดเริ่มของการทำสงคราม | ตาหมากรุก | (adj) chequered, See also: checkered, Example: เขาออกแบบพื้นห้องโถงเป็นลายตาหมากรุก, Thai Definition: ที่มีลักษณะเป็นตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสแบบกระดานหมากรุกมีสีสลับกัน | ผู้บุกรุก | (n) trespasser, See also: invader, intruder, interloper, Example: ในสงครามตามจารีตนี้ผู้บุกรุกมักเป็นฝ่ายพ่ายแพ้เสมอ, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่ล่วงล้ำเข้าไปในสถานที่ของผู้อื่นโดยบังอาจหรือพลการ | ผู้รุกราน | (n) invader, See also: attacker, raider, aggressor, Syn. ผู้บุกรุก, Example: มนุษย์เป็นผู้รุกรานที่อยู่ของสัตว์ป่า, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ล่วงล้ำเข้าไปก้าวร้าวระราน | ภีรุกชาติ | (adj) cowardly, See also: timid, Syn. ขี้ขลาด, Notes: (บาลี) | ฝ่ายรุกราน | (n) aggressor, Syn. ฝ่ายบุก, ฝ่ายรุก, Ant. ฝ่ายรับ, Example: ฝ่ายรุกรานไม่ทันตั้งตัวจึงตกเป็นฝ่ายรับอย่างตั้งตัวไม่ติด, Count Unit: ฝ่าย, Thai Definition: ฝ่ายที่เข้าไประรานผู้อื่น | ม้าหมากรุก | (n) knight, Syn. ม้า, Example: การแข่งขันหมากรุกจะดำเนินไปไม่ได้หากขาดม้าหมากรุก, Count Unit: ตัว | ม้าหมากรุก | (n) knight, Syn. ม้า, Example: การแข่งขันหมากรุกจะดำเนินไปไม่ได้หากขาดม้าหมากรุก, Count Unit: ตัว | กระดานหมากรุก | (n) chessboard, See also: checker board, Example: กระดานหมากรุกมี 64 ตา, Count Unit: กระดาน | กลยุทธ์เชิงรุก | (n) approach strategy, See also: dissemination strategy, Ant. กลยุทธ์เชิงรับ, Example: คาราบาวแดงเดินกลยุทธ์เชิงรุก ใช้ช่อง 7 ช่วงหลังข่าว 2 ทุ่ม เปิดตัวเป็นทางการกับกลุ่มเป้าหมายทั่วประเทศ, Thai Definition: วิธีการในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์หรือการรณรงค์ | กลยุทธ์เชิงรุก | (n) approach strategy, See also: dissemination strategy, Ant. กลยุทธ์เชิงรับ, Example: คาราบาวแดงเดินกลยุทธ์เชิงรุก ใช้ช่อง 7 ช่วงหลังข่าว 2 ทุ่ม เปิดตัวเป็นทางการกับกลุ่มเป้าหมายทั่วประเทศ, Thai Definition: วิธีการในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์หรือการรณรงค์ | กลยุทธ์เชิงรุก | (n) approach strategy, See also: dissemination strategy, Ant. กลยุทธ์เชิงรับ, Example: คาราบาวแดงเดินกลยุทธ์เชิงรุก ใช้ช่อง 7 ช่วงหลังข่าว 2 ทุ่ม เปิดตัวเป็นทางการกับกลุ่มเป้าหมายทั่วประเทศ, Thai Definition: วิธีการในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์หรือการรณรงค์ |
| กรุก | (กฺรุก) ก. ขลุก, ขลุกขลุ่ย, ง่วนอยู่, เช่น พรรษาหนึ่งสองพรรษาไม่ผาสุก เข้าบ้านกรุกเลยลาสิกขาบท (นิ. เดือน). | กรุก | (กฺรุก) ว. เสียงดังกุก เช่น ได้ยินเสียงกรุกลุกขึ้นมอง (คาวี). | กรุกกรัก | ก. ขลุกขลัก เช่น กรุกกรักประดักประเดิดเปิดฝาลุ้ง (คาวี). | กรุกกรัก | ว. เสียงดังกุกกัก เช่น ได้ยินเสียงกรุกกรักก็ทักถาม (ม. ร่ายยาว ชูชก). | กรุกกรู๊ | (กรุกฺ-) ว. เสียงนกเขาขันคู, จุ๊กกรู๊ ก็ว่า. | กินรุก | ก. เดินหมากเข้าไปกินหมากของอีกฝ่ายหนึ่งแล้วอยู่ในตำแหน่งที่จะกินขุนของอีกฝ่ายหนึ่งทันที (ใช้ในการเล่นหมากรุก). | ครุกรรม | (คะรุกำ) น. กรรมหนัก มีทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล, การได้บรรลุฌานสมาบัติเป็นครุกรรมฝ่ายกุศล การกระทำอนันตริยกรรมเป็นครุกรรมฝ่ายอกุศล. | ครุก- | (คะรุกะ-) ว. หนัก เช่น ครุกาบัติ ว่า อาบัติหนัก. | ครุกาบัติ | (คะรุกาบัด) น. อาบัติหนัก ได้แก่ อาบัติปาราชิก เมื่อภิกษุต้องอาบัติปาราชิก ถือว่าขาดจากความเป็นภิกษุทันที แม้กลับมาบวชใหม่ก็ไม่เป็นภิกษุ. | คุรุกรรม | น. กิจหรือหน้าที่แห่งครู. | จรุก | (จะหฺรุก) น. หมู. | ชรุก | (ชะรุก) ก. ซุก, แอบ, แทรก, เอาของไปแอบแฝงไว้, เช่น ช่อช้อยชรุกระโยงยาน (ม. คำหลวง จุลพน). | ตาหมากรุก | น. เรียกผ้าที่มีลายเป็นตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสแบบกระดานหมากรุกมีสีสลับกัน ว่า ผ้าตาหมากรุก. | นิรุกติ | น. ภาษา, คำพูด. | นิรุกติศาสตร์ | น. วิชาว่าด้วยที่มาและความหมายของคำ. | บุกรุก | ก. ล่วงลํ้าเข้าไปในเขตที่หวงห้าม เช่น บุกรุกเข้าไปในเขตพระราชฐาน, ล่วงลํ้าเข้าไปในบริเวณที่หวงห้ามเพื่อยึดครองเป็นต้น เช่น บุกรุกป่าสงวน, ล่วงลํ้าเข้าไปในสถานที่ของผู้อื่นโดยบังอาจหรือพลการ เช่น บุกรุกเข้าไปในบ้านผู้อื่น. | บุกรุก | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำเข้าไปในอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นเพื่อถือการครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นทั้งหมดหรือแต่บางส่วน หรือเข้าไปกระทำการใด ๆ อันเป็นการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของเขาโดยปรกติสุข | บุกรุก | ยักย้ายหรือทำลายเครื่องหมายเขตแห่งอสังหาริมทรัพย์นั้นทั้งหมดหรือแต่บางส่วน เพื่อถือเอาอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นเป็นของตนหรือของบุคคลที่สาม | บุกรุก | เข้าไปหรือซ่อนตัวอยู่ในเคหสถาน อาคารเก็บรักษาทรัพย์หรือสำนักงานในความครอบครองของผู้อื่นโดยไม่มีเหตุอันควร หรือไม่ยอมออกไปจากสถานที่เช่นว่านั้นเมื่อผู้มีสิทธิที่จะห้ามมิให้เข้าไปได้ไล่ให้ออก. | พรุก | (พฺรุก) น. วันพรุ่งนี้, รุ่งขึ้น. | ภีรุ, ภีรุก- | (พีรุกะ-) ว. กลัว, ขี้ขลาด. | ภีรุ, ภีรุก- | (พีรุกะ-) น. ผู้หญิง เช่น ภีรุอวตาร ว่า อวตารเป็นผู้หญิง (แช่งนํ้า). | ภีรุกชาติ | (พีรุกะชาด) ว. ขี้ขลาด. | รุก ๑ | ก. ล่วงลํ้าเข้าไปในเขตแดนของผู้อื่น เช่น รุกที่ดิน ทำไร่รุกเข้าไปในเขตหวงห้าม, บุกเข้าไปในเขตของฝ่ายตรงข้ามเพื่อให้ได้ชัยชนะ เช่น กองทัพรุกฝ่ายตรงข้าม ฟุตบอลทีมนี้เป็นฝ่ายรุกอยู่ตลอดเวลา | รุก ๑ | เริ่มดำเนินการโดยวางแผนล่วงหน้า เช่น ทำงานในเชิงรุกเพื่อพัฒนาองค์กร นโยบายเชิงรุก | รุก ๑ | โดยปริยายหมายถึงทำให้ถอยร่นหรือต้อนให้จนมุม เช่น เขาถูกนายรุกเสียจนตั้งตัวไม่ติด | รุก ๑ | เดินตัวหมากรุกเข้าไปในตาซึ่งจะสามารถกินตัวขุนได้ในการเดินครั้งต่อไป (ใช้ในการเล่นหมากรุก). | รุกฆาต | ก. เดินหมากรุกเข้าไปจะกินขุนของอีกฝ่ายหนึ่ง พร้อมกันนั้นก็เตรียมจะกินหมากอีกตัวหนึ่งด้วย ถ้าฝ่ายนั้นถอยขุนหนีก็จะกินหมากตัวที่เหลือ เช่น รุกฆาตขุนฆาตเรือ ถ้าถอยขุนหนีก็จะกินเรือ, (ใช้ในการเล่นหมากรุก). | รุกเงียบ | ก. กระทำหรือดำเนินการอย่างเงียบ ๆ ไม่เปิดเผย เช่น นายทุนรุกเงียบสร้างบ้านในที่สาธารณะ. | รุกร้น | ก. เร่งเข้าไป, รีบเร่ง. | รุกราน | ก. ล่วงลํ้าเข้าไปก้าวร้าวระราน เช่น ถูกข้าศึกรุกราน. | รุกล้ำ | ก. รุกล่วงล้ำเข้าไป เช่น รุกล้ำอธิปไตย รุกล้ำดินแดน. | รุกไล่ | ก. ไล่โจมตีให้หนีไป เช่น รุกไล่ข้าศึก. | รุก ๒ | ก. ทำเส้นให้เล็ก (ใช้แก่แกะตรา) เช่น รุกลายเส้นในตราให้ชัด. | รุกข-, รุกข์ | (รุกขะ-, รุก) น. ต้นไม้. | รุกขชาติ | น. ต้นไม้, หมู่ไม้. | รุกขเทวดา | น. เทวดาที่สิงสถิตอยู่ตามต้นไม้. | รุกขมูล | น. โคนต้นไม้, เรียกพระที่ถือธุดงค์อยู่โคนไม้ ว่า พระรุกขมูล. | รุกขมูลิกธุดงค์ | (-มูลิกะ-) น. ธุดงค์อย่าง ๑ ใน ๑๓ อย่าง ที่ภิกษุจะต้องสมาทานว่าจะอยู่โคนต้นไม้เป็นประจำ. | รุกขกะ | (-ขะกะ) น. ต้นไม้เล็ก. | รุกขา | น. ต้นไม้. | รุกรุย | (รุกฺ-) ว. รุงรัง, กระจุยกระจาย, ไม่น่าดู, เช่น บ้านช่องรุกรุย เสื้อผ้ารุกรุย | รุกรุย | ตํ่าช้า เช่น คนรุกรุย. | รุกษะ | (รุกฺ-) น. รุกข์, ต้นไม้. | สรุก | (สฺรุก) น. เมือง. | สรุกเกรา | (-เกฺรา) น. บ้านนอก. | สวนรุกขชาติ | น. บริเวณที่ปลูกพรรณไม้นานาชนิด โดยเฉพาะไม้ยืนต้นที่มีค่าทางเศรษฐกิจและไม้ดอกซึ่งมีอยู่ในท้องถิ่น มักเขียนป้ายบอกชื่อสามัญและชื่อวิทยาศาสตร์ไว้ด้วย เพื่อพักผ่อนหย่อนใจ เช่น สวนรุกขชาติห้วยแก้ว จังหวัดเชียงใหม่. | หมากรุก | น. การเล่นชนิดหนึ่ง ใช้ตัวหมากซึ่งมีรูปและชื่อต่างกันได้แก่ ขุน เรือ ม้า โคน เม็ด และเบี้ย เดินบนกระดานสี่เหลี่ยมจัตุรัสแบ่งเป็น ๖๔ ตาเท่า ๆ กันเรียกว่า กระดานหมากรุก. | กระดาน ๑ | ลักษณนามเรียกการแข่งขันที่เดินบนตากระดานซึ่งถึงที่สุดแล้ว เช่น เล่นหมากรุกชนะ ๒ กระดาน | กรุ ๒ | (กฺรุ) ก. ปิดกันช่องโหว่หรือที่ว่าง เช่น กรุฝาเรือน, รองไว้ข้างล่าง เช่น กรุก้นชะลอม, ปิดกั้น เช่น กรุบ่อ. |
| | Women political activists | นักปฏิบัติการเชิงรุกทางการเมืองสตรี [TU Subject Heading] | Aggression (International law) | การรุกราน (กฎหมายระหว่างประเทศ) [TU Subject Heading] | Arboretums | สวนรุกขชาติ [TU Subject Heading] | Art, Uruguayan | ศิลปะอุรุกวัย [TU Subject Heading] | Arts, Uruguayan | ศิลปกรรมอุรุกวัย [TU Subject Heading] | Biological invasions | การรุกรานทางชีวภาพ [TU Subject Heading] | Chess | หมากรุก [TU Subject Heading] | Etymology | นิรุกติศาสตร์ [TU Subject Heading] | Political activists | นักปฏิบัติการเชิงรุกทางการเมือง [TU Subject Heading] | Trespass | ความผิดฐานบุกรุก [TU Subject Heading] | Uruguay Round (1987-1994) | การเจรจาการค้าหลายฝ่ายรอบอุรุกวัย (ค.ศ.1987-1994) [TU Subject Heading] | Uruguay Round | การเจรจารอบอุรุกวัย, Example: การเจรจารอบที่ 8 ของแกตต์ เริ่มการเจรจาเมื่อ พ.ศ. 2529 และสิ้นสุดการเจรจาเมื่อ พ.ศ. 2536 มีประเทศเข้าร่วมเจรจา 117 ประเทศ ได้จัดประชุมระดับรัฐมนตรี จากประเทศภาคี เพื่อเปิดการเจรจาที่เมืองปุนต้า เดล เอสเต้ ประเทศอุรุกวัย จึงได้ใช้ชื่อการเจรจาเพื่อเป็นเกียรติแก่ประเทศเจ้าภาพ การเจรจารอบนี้ถือได้ว่าเป็นการเจรจาที่ครอบคลุมเรื่องต่างๆ อย่างกว้างขวางที่สุดเท่าที่แกตต์ (ดู GATT) ได้เคยขยายการเจรจาออกไปยังเรื่องใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อน ได้แก่ เรื่องการค้าที่เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา การค้าที่เกี่ยวกับมาตรการลงทุน และการค้าสินค้าบริการ ผลทางการเจรจาครอบคลุมกว้างขวางถึงการเปิดเสรีในการค้าสินค้าและการค้า บริการ รวมทั้งการปฏิรูประบบและกลไกของแกตต์ อาทิ ข้อตกลงเปิดตลาดสินค้าเกษตรโดยเปลี่ยนรูปแบบจากการห้ามนำเข้าหรือการจำกัด การนำเข้ามาเป็นภาษีศุลกากร (ดู Tariffication) การลดการอุดหนุนการส่งออก การปรับปรุงกระบวนการยุติข้อพิพาทของแกตต์ การกำหนดกรอบของการเปิดเสรีการค้าบริการการค้าที่เกี่ยวกับทรัพย์สินทาง ปัญญา (ดู IPRs) การเปลี่ยนรูปแบบข้อตกลงแกตต์เป็นสถาบันที่เรียกว่า องค์การการค้าโลก (ดู World Trade Organization) เป็นต้น [สิ่งแวดล้อม] | Aboretum | สวนรุกขชาติ, Example: พื้นที่คุ้มครองประเภทหนึ่ง มีลักษณะเป็นสวนเล็กๆ มีเนื้อที่น้อยกว่าสวนพฤกษศาสตร์ สร้างขึ้นเพื่อปลูกรวบรวมพันธุ์ไม้ต่างๆ ไว้ โดยเฉพาะ ไม้ยืนต้นที่มีค่าในทางเศรษฐกิจและไม้ดอกซึ่งมีอยู่ในท้องถิ่นนั้น แต่มิได้ปลูกเป็นหมวดหมู่เหมือนอย่างในสวนพฤกษศาสตร์ แต่มีชื่อพันธุ์ไม้ติดไว้ มีการทำถนนและทางเดินเท้าเข้าชม จุดมุ่งหมายเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ และการศึกษา ในประเทศไทยมีอยู่ 29 แห่ง [สิ่งแวดล้อม] | ASEAN Free Trade Area - Mercado Común del Sur (Southern Common Market) | ความร่วมมือระหว่างเขตการค้าเสรีอาเซียนกับตลาดร่วมอเมริกาใต้ ประกอบด้วยประเทศอาร์เจนตินา บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย โดยความร่วมมือในชั้นนี้เป็นการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในเรื่องการ รวมตัวทางเศรษฐกิจของแต่ละฝ่าย [การทูต] | Asociaci?n Latinoamericana de Integraci?n | สมาคมเพื่อการบูรณาการแห่งภูมิภาคลาตินอเมริกา ก่อตั้งเมื่อเดือนสิงหาคม 2523 ประเทศสมาชิกประกอบด้วย อาร์เจนตินา บราซิล เม็กซิโก ชิลี โคลัมเบีย เปรู อุรุกวัย เวเนซุเอลา โบลิเวีย เอกวาดอร์ และปารากวัย [การทูต] | Andean Community (Communidad Andina - CAN) | ประชาคมแอนเดียน ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2512 ประกอบด้วยสมาชิก 4 ประเทศ ได้แก่ โบลิเวีย โคลัมเบีย เอกวาดอร์ และเปรู และสมาชิกสมทบ 4 ประเทศ ได้แก่ อาร์เจนตินา บราซิล อุรุกวัยและปารากวัย และประเทศผู้สังเกตการณ์ 2 ประเทศ ได้แก่ เม็กซิโก และปานามา [การทูต] | Andean Community (Communidad Andina -CAN) | ประชาคมแอนเดียน ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2515 ประกอบด้วยสมาชิก 4 ประเทศ ได้แก่ โบลิเวีย โคลัมเบีย เอกวาดอร์ และเปรู และสมาชิกสมคบ ประเทศ ได้แก้ อาร์เจนตินา บราซิล อุรุกวัย และปารากวัย และประเทศผู้สังเกตการณ์ 2 ประเทศ ได้แก่ เม็กซิโก และปานามา [การทูต] | East Asia Latin American Forum | เวทีหารือระหว่างภูมิภาคเอเชียตะวันออกและลาตินอเมริกา " ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2542 ประกอบด้วยสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ จีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และประเทศจาก ภูมิภาคลาตินอเมริกา 12 ประเทศ เม็กซิโก ปานามา โคลัมเบีย เอกวาดอร์ เวเนซุเอลา เปรู บราซิล ชิลี อาร์เจนตินา อุรุกวัย ปารากวัย และโบลิเวีย " [การทูต] | Eisenhower Doctrine | ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ [การทูต] | Forum for East Asia - Latin America Cooperation | เวทีความร่วมมือระหว่างเอเชียตะวันออกและลาตินอเม ริกา สมาชิก 32 ประเทศ จากภูมิภาคเอเชียและลาตินอเมริกา โดยมีสมาชิก จากฝ่ายเอเชีย 15 ประเทศ คือ กลุ่ม ASEAN (10 ประเทศ) จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ และจากฝ่ายลาตินอเมริกา 17 ประเทศ ได้แก่ เม็กซิโก กัวเตมาลา เอลซัลวาดอร์ คอสตาริกา นิการากัว คิวบา ปานามา เปรู โคลอมเบีย เวเนซุเอลา บราซิล โบลิเวีย เอกวาดอร์ ปารากวัย อุรุกวัย อาร์เจนตินา และชิลี วัตถุประสงค์ จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2542 มีการประชุมระดับรัฐมนตรีต่าง -ประเทศทุก 2 ปี ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส ปีละ 2 ครั้ง และคณะทำงาน 3 คณะ ปีละ 2 ครั้ง (คณะทำงานด้านการเมือง วัฒนธรรม และการศึกษา / ด้านเศรษฐกิจและสังคม / และด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเวทีปรึกษาหารือและร่วมมือกันอย่างไม่เป็นทางการระหว่างประเทศเอเชียและ ลาตินอเมริกา โดยมีเป้าหมายไปที่การดำเนินโครงการความร่วมมือในทุกสาขาที่ประเทศสมาชิกมี ความสนใจร่วมกัน [การทูต] | Forward Engagement | การทูตเชิงรุก ยุทธศาสตร์กรอบใหญ่ในนโยบายต่างประเทศของไทย ที่มีเป้าหมายที่จะขยายกรอบความร่วมมือให้ครอบคลุมทุกมิติความร่วมมือกับ ต่างประเทศ รวมทั้งการส่งเสริมและกระชับความสัมพันธ์กับทุกประเทศทั่วโลก เพื่อสันติภาพที่ยั่งยืนและความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจสำหรับประชาคมโลก [การทูต] | Free Trade Area of the Americas | เขตการค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา " ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมดขององค์การรัฐอเมริกัน (Organization of American States หรือ OAS) ยกเว้นประเทศคิวบา มีเป้าหมายที่จะจัดตั้งให้สำเร็จในปี พ.ศ. 2548 (OAS มีสมาชิกทั้งหมด 35 ประเทศ ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก อาร์เจนตินา โบลิเวีย บราซิล ชิลี โคลัมเบีย คอสตาริกา คิวบา โดมินิกัน เอกวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ กัวเตมาลา เฮติ ฮอนดูรัส นิการากัว ปานามา ปารากวัย อุรุกวัย เวเนซุเอลา แอนติกัวและบาร์บูดา เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ จาเมกา บาร์เบโดส เกรนาดา สุรินาเม โดมินิกา เซนต์ลูเซีย บาฮามาส เซนต์คิดตส์และเนวิส เบลิซ กายอานา ตรินิแดดและโตบาโก) " [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Inviolability of the Mission Premises | คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ? [การทูต] | Southern Common Market (Mercado Común del Sur : MARCOSUR หรือ Mercado Commun do Sul : MERCOSUL) | กลุ่มตลาดร่วมอเมริกาใต้ตอนล่าง ก่อตั้งเมื่อเดือนมีนาคม 2534 ประกอบด้วยประเทศสมาชิก 4 ประเทศ ได้แก่ อาร์เจนตินา บราซิล ปารากวัย และอุรุกวัย โดยมีโบลิเวียและชิลีเป็นสมาชิกสมทบ [การทูต] | North Atlanitc Treaty Organization | องค์การนาโต้ หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ซึ่งได้ลงนามกันเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1949 ประเทศสมาชิกขณะเริ่มตั้งองค์การครั้งแรก ได้แก่ ประเทศเบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ต่อมาประเทศกรีซและตรุกีได้เข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952 และเยอรมนีตะวันตก ( ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1949ในภาคอารัมภบทของสนธิสัญญา ประเทศภาคีได้ยืนยันเจตนาและความปรารถนาของตน ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติกับประเทศและรัฐบาลทั้งหลาย ที่จะปกป้องคุ้มครองเสรีภาพมรดกร่วม และอารยธรรมของประเทศสมาชิกทั้งมวล ซึ่งต่างยึดมั่นในหลักการของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพส่วนบุคคลหลักนิติธรรม ตลอดจนจะใช้ความพยายามร่วมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อป้องกันประเทศ และเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงในสนธิสัญญาดังกล่าว บทบัญญัติที่สำคัญที่สุดคือข้อ 5 ซึ่งระบุว่า ประเทศภาคีสนธิสัญญาทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า หากประเทศภาคีหนึ่งใดหรือมากกว่านั้น ในทวีปยุโรปหรือในอเมริกาเหนือ ถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ จักถือว่าเป็นการโจมตีต่อประเทศภาคีทั้งหมด ฉะนั้น ประเทศภาคีจึงตกลงกันว่า หากมีการโจมตีด้วยกำลังอาวุธเช่นนั้นเกิดขึ้นจริง ประเทศภาคีแต่ละแห่งซึ่งจะใช้สิทธิในการป้องกันตนโดยลำพังหรือร่วมกัน อันเป็นที่รับรองตามข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติ จะเข้าช่วยเหลือประเทศภาคีแห่งนั้นหรือหลายประเทศซึ่งถูกโจมตีด้วยกำลัง อาวุธในทันทีองค์กรสำคัญที่สุดในองค์การนาโต้เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศภาคีสนธิสัญญานาโต้ คณะมนตรีนี้จะจัดตั้งองค์กรย่อยอื่น ๆ หลายแห่ง รวมทั้งกองบัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรภาคพื้นยุโรปและภาคพื้น แอตแลนติก สำนักงานใหญ่ขององค์การนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | Organization of American States | คือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต] | Pacific Charter | คือกฎบัตรแปซิฟิค ซึ่งประกาศ ณ กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ในโอกาสที่มีการตกลงกันทำสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia Defense Treaty-SEATO ) ประเทศที่ลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญา คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาสาระสำคัญในสนธิสัญญาดังกล่าว หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า SEATO (ซีโต้) นั้นคือ ทุกประเทศภาคีจะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้พลเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมาตรฐานการครอง ชีพสูงขึ้น มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมีสวัสดิภาพสังคมที่ดี แต่จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคามสนธิสัญญาคือ บรรดาประเทศภาคีตกลงที่จะป้องกันหรือตอบโต้ความพยายามใด ๆ ที่จะล้มล้างเสรีภาพที่มีอยู่ในเขตสนธิสัญญา หรือทำลายอธิปไตยหรือบูรณภาพแห่งเขตแดนของประเทศภาคี พูดอย่างสั้น ๆ ก็คือฝ่ายโลกเสรีอันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ต้องการกีดกันมิให้ประเทศฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไปมีอำนาจครอบงำดินแดนเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างสงครามเย็น (Cold War ) โดยวิธีรุกรานหรือวิธีอื่นใดก็ตาม [การทูต] | proactive foreign policy | นโยบายต่างประเทศเชิงรุก " เป็นนโยบายต่างประเทศของไทยในช่วงยุคหลังสงครามเย็นที่การแข่งขันและความขัด แย้งทางอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่างประเทศ ได้เกือบหมดสิ้นไป โดยประเทศไทยได้เน้นบทบาทนำทางการทูต และ มีส่วนร่วมรับผิดชอบในกิจการต่าง ๆ ของประชาคมระหว่างประเทศมากขึ้น " [การทูต] | Rio Group | กลุ่มริโอ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2529 ตามปฏิญญาแห่งเมืองรีโอเดจาเนดรปัจจุบันประกอบด้วยสมาชิก 23 ประเทศ/องค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ อาร์เจนตินา เบลิซ โบลิเวีย บราซิล ชิลี โคลัมเบีย คอสตาริกา คิวบา สาธารณรัฐโดมิกัน เอกวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ กัวเตมาลา กายอานา เฮติ ฮอนดูรัส เม็กซิโก นิการากัว ปานามา ปารากวัย เปรู อุกรุกวัย และเวเนซุเอลา แและ CARICOM [การทูต] | Southeast Asia Collective Defense Treaty (Mahila Pact) | สนธิสัญญาซีโต้ สนธิสัญญานี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ประเทศที่ลงนามในสนธิสัญญามีประเทศออสเตรเลีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ประเทศไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาได้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1955ในภาคอารัมภบทของสัญญานี้ บรรดาประเทศสมาชิกต่างแสดงความปรารถนาที่จะประสานความพยายามของตนที่จะ ป้องกันร่วมกัน เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคง โดยเฉพาะข้อ 4 ของสนธิสัญญาเป็นข้อสำคัญที่สุด คือ แต่ละประเทศภาคีคู่สัญญาตกลงเห็นพ้องกันว่า หากดินแดนของประเทศใดถูกรุกรานจาการโจมตีด้วยกำลังอาวุธ ประเทศภาคีทั้งหมดที่เหลือจะถือว่าเป็นอันตรายร่วมกัน และจะปฏิบัติการเพื่อเผชิญหน้ากับอันตรายร่วมกัน หรือถ้าหากพื้นที่ภายในเขตครอบคลุมของสนธิสัญญาถูกคุกคามด้วยประการใด ๆ ประเทศภาคีทั้งหมดจะปรึกษากันในทันที เพื่อตกลงในมาตรการเพื่อการป้องกันร่วมกันสำนักงานใหญ่ขององค์การซีโต้ตั้ง อยู่ในกรุงเทพมหานคร โดยที่สถานการณ์ทางการเมืองของโลกได้เปลี่ยนไปมากทำให้องค์การซีโต้หมดความ จำเป็น และได้ยุบเลิกไปนานแล้ว [การทูต] | Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] | Stalemate | ภาวะจนมุม เป็นคำที่ยืมมาจากเกมหมากรุกและใช้ในความหมายที่ว่า ตกอยู่ในสภาพชะงักงันหรือทางตัน คำนี้จะใช้กันแพร่หลายในด้านการทูต และในด้านการเจรจาระหว่างประเทศ คือ ทั้งสองฝ่ายต่างยึดมั่นในหลักการของแต่ละฝ่าย ซึ่งแตกต่างกันได้ก็ด้วยอาศัยมือที่สาม หรือประเทศที่สามเข้ามาแทรกแซงแก้ไขให้ [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] | Cancer, True Preinvasive | มะเร็งชนิดเริ่มรุกรานจริง [การแพทย์] | Checker Board Pattern | ภาพที่เป็นตาหมากรุก [การแพทย์] | Etymologists | นักนิรุกติศาสตร์ [การแพทย์] | Fructose | ฟรุกโตส, ฟรุคโตส, ฟรุคโทส [การแพทย์] | Fructose Intolerance, Hereditary | ความคงทนฟรุกโตสตามพันธุกรรม [การแพทย์] | channel encroachment | channel encroachment, การบุกรุกทางน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] | Infect | บุกรุก, ทดลองกิน [การแพทย์] | Infestation | การติดเชื้อ, บุกรุกเข้าไปอาศัยอยู่ในร่างกาย [การแพทย์] | Invasion | แทรกซึม, การแทรกลง, การรุกราน, ลุกลาม [การแพทย์] | Line Rush | รุกข้ามเส้น [การแพทย์] | Mosaic Pattern | การเรียงตัวแบบโมซาอิค, เรียงกันคล้ายหมากรุก [การแพทย์] |
| Checkmate. | รุกฆาต Blazing Saddles (1974) | Check. | รุก Pawn Sacrifice (2014) | Someone penetrates the house, gets upstairs, jerks off on the bed. | มีคนบุกรุกเข้ามาในบ้าน.. The Bodyguard (1992) | - and ask Crooks to give you another one. | - แล้่วบอกครุกส์ให้หาตัวใหม่มา - ได้เลย มานี่เร็ว Of Mice and Men (1992) | Crooks! | ครุกส์ Of Mice and Men (1992) | I'm looking for Crooks. This mule's got a hurt foot. | ผมมาหาครุกส์ ล่อตัวนี้ขาเจ็บ Of Mice and Men (1992) | You shouldn't be in here. | มาทำอะไรในห้องครุกส์ นายไม่ควรอยู่ที่นี่นะ Of Mice and Men (1992) | Come on, Crooks, put it in. | เริ่มล่ะนะ เร็ว ครุกส์ โยนมันลงไป Of Mice and Men (1992) | Mom was sick of hearing Auntie Lindo brag about her daughter Waverly, who was Chinatown's chess champion. | แม่เบื่อกับการต้องได้ยินป้าลินโด คุยโม้เรื่องเวฟเวอรี่ลูกสาวของเธอ... ที่ได้เป็นแชมป์หมากรุกของย่านไชน่าเทาน์ The Joy Luck Club (1993) | All day long she play chess. | ตลอดทั้งวันเธอเอาแต่เล่นหมากรุก The Joy Luck Club (1993) | As if she had been the chess champion. | ราวกับว่าเธอเคยเป็นแชมป์หมากรุกมาก่อน The Joy Luck Club (1993) | Waverly Jong, chess champion? | เวฟเวอรี่ จอง แชมเปี้ยนหมากรุกหรือยังคะ The Joy Luck Club (1993) | If you wanna show off, then why don't you learn to play chess? | ถ้าแม่อยากจะอวดคนอื่น งั้นทำไมแม่ไม่ไปหัดเรียนเล่นหมากรุกล่ะ The Joy Luck Club (1993) | I'm never gonna play chess again. | หนูจะไม่มีวันเล่นหมากรุกอีกเด็ดขาด The Joy Luck Club (1993) | For months I kept expecting Ma to beg me to play chess again, but she never mentioned it, as if I had never played at all. | เป็นเวลาหลายเดือนที่ฉันคอย ให้แม่มาขอร้องให้ฉันเล่นหมากรุกอีก แต่เธอไม่เคยพูดขึ้นมาเลย ราวกับว่าฉันไม่เคยเล่นหมากรุกมาก่อนเลย The Joy Luck Club (1993) | Guess what? I've decided to play chess again. | ทายสิคะ หนูตัดสินใจจะเล่นหมากรุกอีกครั้งแล้ว The Joy Luck Club (1993) | The best part of me just... | ส่วนที่ดีที่สุดในตัวฉันเพิ่งจะ... รุก The Joy Luck Club (1993) | I never played chess again. | ฉันไม่ได้เล่นหมากรุกอีกเลย The Joy Luck Club (1993) | Get in your car and leave! | - คุณบุกรุก พื้นที่ส่วนบุคคลแห่งนี้ - พวกเรา กำลังทำการสืบสวนคดีอยู่ Deep Throat (1993) | I've got nothing to say. This is an invasion of my privacy! | ผมไม่มีอะไรจะพูด นี่เป็นการบุกรุกความเป็นส่วนตัวผม ! Squeeze (1993) | - Intruder arriving. | - ผู้บุกรุกมาถึงแล้ว Squeeze (1993) | - I don't want to offend you. | - ฉันไม่ต้องการที่จะรุกรานคุณ Pulp Fiction (1994) | Chess. Now, there's a game of kings. | หมากรุก ขณะนี้มีเป็นเกมของพระมหากษัตริย์ The Shawshank Redemption (1994) | The man likes to play chess. | คนชอบที่จะเล่นหมากรุก The Shawshank Redemption (1994) | I'll keep an eye out for you and the chessboard ready. | ฉันจะเก็บตาออกสำหรับคุณ และกระดานหมากรุกพร้อม The Shawshank Redemption (1994) | These mountains have defeated every invader. | ภูเขาลูกนี้ปราบผู้บุกรุกทุกราย The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | Oh, yes, they all invaded this island of Britain but they've never taken the mountains from us. | พวกไวกิ้งส์ พวกนอร์แมนส์ โอ้ใช่ ทั้งหมดเป็นผู้บุกรุก ของเกาะแห่งราชอาณาจักร The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | The truth is that, while we Welsh like to believe that it was the mountains that beat the successive invaders it was, really, the weather that comes with mountains. | ความจริงก็คือว่า... เราชาวเวลส์เชื่อว่า... ภูเขาเป็นสิ่งที่ทำให้เรา ชนะเหนือผู้บุกรุก The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | -It was the rain that defeated every invader. | เพราะฝนต่างหากที่ปราบผู้บุกรุกทุกสมัย The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | They didn't steal anything yet. | ความผิดบุกรุก มันไม่ได้ขโมยอะไร Heat (1995) | So we invade, or we stop. | เราจะรุกคืบหน้า ไม่หยุดยั้ง Beneath the Planet of the Apes (1970) | But now he has the incident he requires to go on a rampage of conquest. | เเต่ตอนนี้ เขามีข้ออ้างที่จะยกทัพไปรุกรานชาวบ้าน Beneath the Planet of the Apes (1970) | Well, let's play chess. | - เล่นหมากรุกดีกว่า Blazing Saddles (1974) | Play chess screw. | - ไม่รู้สิ เล่นหมากรุกมั้ง... Blazing Saddles (1974) | Checkmate. | - อะไรนะ - รุกฆาต Blazing Saddles (1974) | An Egyptian Pharaoh, Shishak, invaded Jerusalem about 980 BC, and may have taken the Ark to the city of Tanis and hidden it in a secret chamber called the Well of Souls. | ฟาโรห์แห่งอียิปต์, ซิซา, รุกรานเยซูซาเล็ม ประมาณปี 980 ก่อนคริสต์ศักราช, และอาจจะนำเอาหีบ ไปที่เมืองทานิส และซ่อนมันเอาไว้ในแชมเบอร์ลึกลับ เรียกว่า กำแพงแห่งวิญญาณ Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | Survivor of countless incursions behind enemy lines. | รอดชีวิตจากการรุกรานที่นับไม่ถ้วนของศัตรู First Blood (1982) | I wouldn't want to offend you. | ฉันไม่อยากรุกรานคุณ Idemo dalje (1982) | Poor baby, you're startin' to lose it, aren't ya ? | ม้ารุกสาม หนูน้อย, เธอเริ่มจะแพ้แล้ว The Thing (1982) | My move: rook to knight six. | คิงรุกหนึ่งตัว ฉันเดินเรือไป 96 The Thing (1982) | What grudge do the two of you have with Quan Zhen Sect to involve with so many men? | เจ้ามีเรื่องบาดหมางอะไรกับสำนักช้วนจิน ถึงได้พาคนมารุกรานที่นี่? Return of the Condor Heroes (1983) | Chong Yang Palace was attacked by Prince Huo Du and his men because of Miss Long. | ตำหนักเต็งเอี๊ยงถูกองคืชายฮั่วตูและพวกบุกรุก ก็เพราะแม่นางเล้งนี่แหละ. Return of the Condor Heroes (1983) | Would you like to play a game of chess? | คุณต้องการที่จะเล่นเกม หมากรุกหรือไม่? 2010: The Year We Make Contact (1984) | Then we will overrun the Muslims. | แล้วเราจะบุกรุกชาวมุสลิม Indiana Jones and the Temple of Doom (1984) | history demonstrates conclusively that naive wishing for peace is the surest possible way to encourage an aggressor. | ประวัติศาสตร์ชี้ชัดว่า พวกโลกสวยที่เรียกร้องสันติภาพ มีทางเดียวที่เป็นไปได้ นั่นคือ ยอมสยบแก่ผู้รุกราน Spies Like Us (1985) | "No Trespassing" was enforced by Milo Pressman, the junkman and his dog, Chopper. | "ห้ามบุกรุก" สั่งโดย ไมโล เพลสแมน พนักงานเก็บขยะ และสุนัขของเขา ช็อปเปอร์ Stand by Me (1986) | You're invading my dance space. This is my dance space. | คุณบุกรุกพื้นที่เต้นของฉันแล้ว นี่เขตของฉัน Dirty Dancing (1987) | I didn't know there was danger of invasion. | ผมไม่คิดว่าจะมีอันตรายจากผู้บุกรุกหรอกนะครับ Mannequin (1987) | Then Kaoru came | แล้วคาโอรุก็มา 1999 - Nen no natsu yasumi (1988) | According to the defense team, intruders were encountered in the wiring shaft. | การสอดคล้องกันของทีมป้องกัน ผู้บุกรุกจะถูกพบได้ในด้ามสายโลหะ Akira (1988) |
| บุกรุก | [bukruk] (v) EN: trespass ; intrude ; invade ; violate ; encroach FR: pénétrer ; s'introduire sans autorisation ; empiéter ; envahir ; faire intrusion ; franchir | บุกรุก | [bukruk] (v) EN: attack ; commit aggression FR: attaquer ; forcer le passage ; s'imposer | บุกรุกป่า | [bukruk pā] (v, exp) EN: encroach on forests | เชิงรุก | [choēng ruk] (n, exp) EN: offense ; aggressive posture | เชิงรุก | [choēng ruk] (adj) EN: active ; proactive | ห้ามบุกรุก | [hām bukruk] (v, exp) FR: défense d'entrer ; interdiction de pénétrer dans un lieu ; interdiction de circuler | การบำรุงรักษาเชิงรุก | [kān bamrungraksā choēng ruk] (n, exp) EN: proactive maintenance | การบุกรุก | [kān bukruk] (n) EN: encroachment ; incursion ; intrusion ; aggression ; trespass FR: empiétement [ m ] ; usurpation de terres [ f ] ; intrusion [ f ] ; incursion [ f ] | การเรียนรู้เชิงรุก | [kān rīenrū choēng ruk] (n, exp) EN: active learning | การรุกราน | [kān rukrān] (n) EN: aggression ; invasion ; attack FR: agression [ f ] ; invasion [ f ] | กลยุทธ์เชิงรุก | [konlayut choēng ruk] (n, exp) EN: approach strategy ; offensive strategy | กระดานหมากรุก | [kradān mākruk] (n) EN: chessboard ; checker board FR: échiquier [ m ] | หมากรุก | [mākruk] (x) EN: chess FR: jeu d'échecs [ m ] | นักเล่นหมากรุก | [nak len mākruk] (n, exp) FR: joueur d'échecs [ m ] | ป้ายห้ามบุกรุก | [pāi hām buk ruk] (n, exp) FR: panneau d'interdiction d'entrer [ m ] ; panneau d'interdiction de circuler [ m ] | ปฏิบัติการเชิงรุก | [patibatkān choēng ruk] (v, exp) EN: take the initiative ; be proactive | ผู้บริหารเชิงรุก | [phūbørihān choēng ruk] (n, exp) EN: proactive executive | ผู้บุกรุก | [phū bukruk] (n, exp) EN: trespasser | ผู้บุกรุกที่ดิน | [phū bukruk thīdin] (n, exp) EN: squatter FR: squatteur [ m ] ; squatter [ m ] | ผู้รุกราน | [phūrukrān] (n) EN: invader ; attacker ; raider ; aggressor FR: envahisseur [ m ] ; agresseur [ m ] | รุก | [ruk] (v) EN: invade ; be on the offensive ; commit aggression ; trespass ; assail ; attack FR: envahir ; assaillir ; attaquer | รุกเข้า | [ruk khao] (v) EN: invade FR: envahir | รุกล้ำ | [ruklam] (v) EN: trespass ; intrude ; encroach on ; invade FR: empiéter ; violer la propriété | รุกลาม | [ruk lām] (adj) EN: rampant | รุกราน | [rukrān] (v) EN: invade ; attack ; assault ; encroach ; raid ; infringe ; intrude ; burst into FR: envahir ; attaquer ; assaillir ; agresser | ซึ่งรุกราน | [seung rukrān] (adj) FR: agressif | ตัวหมากรุก | [tūa māk ruk] (n) EN: chessmen FR: pièces du jeu d'échecs [ fpl ] |
| territorial | (adj) แสดงความเป็นเจ้าของที่หรืออาณาเขต, แสดงอาการป้องกันอาณาเขตของตนจากผู้บุกรุก เช่น สุนัขเห่าคนแปลกหน้าที่เข้ามาในบริเวณ, See also: A. nonterritorial, Syn. territorial behavior | poacher | [โพช-เออะ] (n) 1. พรานเถื่อน, ผู้ลักลอบล่าสัตว์, ผู้บุกรุกป่าเข้าไปล่าสัตว์, ผู้รุกล้ำอาณาเขตเข้าไปจับสัตว์ 2. กระทะพิเศษสำหรับทำ poached egg (ไข่ปรุงกึ่งสุกในน้ำขลุกขลิก, ไข่ลวกฝรั่ง, ไข่ดาวน้ำ) 3. Goal poacher นักฟุตบอลที่รออยู่โกลฝั่งตรงข้ามเพื่อรอได้บอลแล้วยิง |
| aggression | (n) การบุกรุก, See also: การรุกราน | aggressive | (adj) เริ่มต่อสู้, See also: เริ่มทะเลาะ, เริ่มรุกราน | aggressor | (n) ฝ่ายรุกราน, See also: ผู้รุกราน, Syn. assailant, invader, offender, attacker | assail | (vt) โจมตี, See also: รุกราน, ถล่ม, Syn. attack, assault | attack | (vi) บุก, See also: โจมตี, รุกราน, รุก, ตี | attack | (vt) บุก, See also: โจมตี, รุกราน, รุก, ตี, Syn. assault, strike | advance on | (phrv) บุก, See also: โจมตี, รุกราน, เข้าตี, Syn. advance upon | advance upon | (phrv) บุก, See also: โจมตี, รุกราน, เข้าตี, Syn. advance on | assail with | (phrv) จู่โจมด้วย (มักใช้รูป passive voice), See also: โจมตีด้วย, รุกรานด้วย | bishop | (n) ตัวหมากรุกที่มีวิธีเดินทแยงมุม | break-in | (vi) การบุกรุกเข้าไป (เช่น บ้าน, รถ, ที่ทำงาน), Syn. burglary | break into | (phrv) บุกรุก (ด้วยกำลัง), See also: พังเข้าไป, Syn. burst into | castle | (vi) เดินหมาก, See also: เดินตัวหมากรุก | castle | (n) ตัวเรือในเกมหมากรุก, Syn. rook | check | (vi) รุกฆาต | check | (n) ลายหมากรุก, See also: ตาหมากรุก | checked | (adj) ที่มีลายตารางหมากรุก | checker | (n) ตารางหมากรุก | checker | (vt) ใส่เครื่องหมายตารางหมากรุก | checkerboard | (n) กระดานหมากรุกหรือหมากฮอส | checkmate | (n) การอยู่ในตำแหน่งชนะในการเล่นหมากรุก, Syn. mate | checkmate | (vt) ทำให้เข้าตาจน, See also: รุกให้จนแต้ม, Syn. mate | chess | (n) หมากรุก, Syn. chess game | chessboard | (n) กระดานหมากรุก | counteroffensive | (n) การรุกตอบโต้, See also: การโจมตีตอบโต้ | drive off | (phrv) ขับผู้รุกรานออกไป, Syn. fight off | encroach on | (phrv) รุกล้ำ, See also: ยื่นเข้าไป, บุกรุก, Syn. encroach upon | encroach upon | (phrv) รุกล้ำ, See also: ยื่นเข้าไป, บุกรุก, Syn. encroach on | draughtboard | (n) กระดานหมากรุก, Syn. checkerboard | draughts | (n) เกมหมากรุก, Syn. checkers | draughtsperson | (n) ผู้เล่นหมากรุก, Syn. a curse on!, confound on! | encroach | (vt) ละเมิดสิทธิ, See also: บุกรุก, ล่วงล้ำ, Syn. intrude, invade, trespass | encroachment | (n) การบุกรุก, See also: การละลาบละล้วง, การละเมิดสิทธิ, การรุกล้ำ, Syn. intrusion, trespass, violation | etymology | (n) นิรุกติศาสตร์, See also: วิชาที่ว่าด้วยกำเนิดและการพัฒนาของคำ | fez | (n) หมวกสักหลาดที่มียอดแบน, See also: หมวกแขก, หมวกตรุกี | foray | (vi) จู่โจม, See also: รุกคืบ | fructose | (n) น้ำตาลฟรุกโตส ซึ่งมีอยู่ในผลไม้และน้ำผึ้ง, Syn. fruit sugar, levulose | intrude into | (phrv) บุกรุกเข้าไป, See also: รุกเข้าไป, บุกเข้า, รุกล้ำเข้าไป, Syn. intrude on, obtrude on | intrude on | (phrv) ก้าวก่าย, See also: รุกล้ำ, ยุ่มย่าม, Syn. intrude into, obtrude on | intrude upon | (phrv) ก้าวก่าย, See also: รุกล้ำ, ยุ่มย่าม, Syn. intrude into, obtrude on | gingham | (n) ผ้าฝ้ายลายตาหมากรุก | guard | (n) ตัวเบี้ยของกีฬาหมากรุก | gumption | (n) การริเริ่ม (คำไม่เป็นทางการ), See also: การรุก, Syn. enterprise, initiation | horn in | (vi) บุกรุก (คำไม่เป็นทางการ), See also: ก้าวก่าย, Syn. interfere, intrude | no trespassing | (idm) ห้ามบุกรุก, See also: ห้ามรุกล้ำ, ห้ามล่วงล้ำ | impinge | (vt) เข้าแทรกแซง, See also: สอดแทรก, บุกรุก, Syn. encroach, interfere, invade | incursion | (n) การบุกรุก (คำทางการ), Syn. instrusion, irruption | inoffensive | (adj) ไม่เป็นภัย, See also: ไม่ทำอันตราย, ไม่รุกราน, ไม่ทำร้ายคนอื่น, ไม่น่ารังเกียจ, Syn. friendly, harmless, innocuous, Ant. offensive | inroad | (n) การล่วงล้ำ, See also: การบุกรุก, การโจมตี, Syn. encroachment, invasion | interlope | (vi) บุกรุก, See also: ล่วงละเมิด, ล่วงล้ำ, รุกล้ำ, เข้าไปโดยไม่ได้รับอนุญาต, Syn. intrude |
| acariasis | (แอคคะไร' อะซิส) n. ภาวะที่มีแมลง 6 ขา (เช่นเห็บ, หมัด) รุกราน infestation with mites | aggression | (อะเกรส' เชิน) n. การรุกราน, การบุกรุก, การล่วงละเมิด, Syn. attack | aggressive | (อะเกรส'ซิฟว) adj. รุกราน, ก้าวร้าว. -agressiveness n., Syn. belligerent | aggressor | (อะเกรส' เซอะ) n. ผู้รุกราน, ทำให้ได้รับทุกข์, ทำให้เจ็บปวด, Syn. attacker | aggrieved | (อะกรีฟวดฺ') adj. เสียใจ, ได้รับอันตราย, ได้รับบาดเจ็บ, ถูกรุกราน -aggrievedness n., Syn. sorrowful | assail | (อะเซล') vt. โจมตี, ป้ายร้าย, รุกราน, กล่าวหา, ทำร้าย-assailer, assailment n. | assertive | (อะเซอ'ทิฟว) adj. ซึ่งยืนยัน, รุกราน, Syn. decided, positive, aggressive | bishop | (บิช'เชิพ) n. หัวหน้าบาทหลวง, สังฆนายก, ตัวหมากรุกฝรั่งที่เทียบเท่ากับโคนของหมากรุกไทย, See also: bishopric adj. ดูbishop | board | (บอร์ดฺ) { boarded, boarding, boards } n. ไม้กระดาน, แผ่นกระดาน, แผ่นกระดาษแข็ง, กระดานหมากรุก, ข้างเรือ, ค่าอาหาร, อาหาร, ที่พัก, โต๊ะประชุม, โต๊ะอาหาร, เวที, คณะกรรมการ, สภา, กลุ่มผู้บริหารของหน่วยงาน, แป้นสวิตช์ไฟฟ้าบนผลฝาผนัง, ขอบ, ข้าง vt. ใช้กระดานปู, บริการอาหาร, บริการ แผงวงจรแผงหมายถึง แผ่นพลาสติกที่มีการติดตั้งวงจรไฟฟ้าซึ่งใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แผงเหล่านี้จะทำหน้าที่ต่าง ๆ เช่น แผงวงจรเร่งความเร็ว (accelerator board) จะมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็วกว่าตัวประมวลผลทีมีอยู่เดิม แผงวงจรภาพ (video board) แผงวงจรเสียง (sound board) ก็จะเป็นตัวเพิ่มภาพและเสียง เป็นต้น | break-in | (เบรค'อิน) n. การบุกรุกเข้าไปในบ้าน, ระยะแรกของขบวนการหรือการใช้ | castle | (คาส'เซิล) { castled, castling, castles } n. ประสาท, คฤหาสน์, ป้อมปราการ, ตัวหมากรุกฝรั่งที่เทียบเท่ากับเรือของหมากรุกไทย, สถานหลบภัยที่ปลอดภัย vt. ใส่ในป้อมปราการ, ใช้เรือคุ้มครองขน, Syn. palace | check | (เชค) { checked, checking, checks } vt. หยุด, รั้ง, ดึง, ตรึง, สกัด, ทำลาย, ตรวจสอบ, สำรวจ, ทำเครื่องหมายตรวจสอบ, ฝากเก็บ, รุกฆาต (หมากรุก) , ทำให้เกิดรอยแตก, ปลูกพืชเป็นแนวยาว. -vi. ตรงกัน (ถูกต้อง) , ตรวจสอบ, แตกเป็นช่อง, ร้าวเป็นช่อง, หยุด -Phr. check in (ลงชื่อ (เข้าพักในโรงแ | checker { checkered | n. ตัวหมากรุก, See also: checkers draughts เกมหมากรุกฝรั่งชนิดหนึ่ง, ผู้หยุดยั้ง, สิ่งยับยั้ง, คนตรวจ -vt. ทำเครื่องหมายเตารางสี่เหลี่ยม, ทำให้แตกแขนง, ทำให้เปลี่ยนแปลง, Syn. chequer | checkered | (เชค'เคิด) adj. มีการเปลี่ยนแปลง, เป็นตารางหมากรุก, มีสีหลากหลาย | checkering | n. ตัวหมากรุก, See also: checkers draughts เกมหมากรุกฝรั่งชนิดหนึ่ง, ผู้หยุดยั้ง, สิ่งยับยั้ง, คนตรวจ -vt. ทำเครื่องหมายเตารางสี่เหลี่ยม, ทำให้แตกแขนง, ทำให้เปลี่ยนแปลง, Syn. chequer | checkers } | n. ตัวหมากรุก, See also: checkers draughts เกมหมากรุกฝรั่งชนิดหนึ่ง, ผู้หยุดยั้ง, สิ่งยับยั้ง, คนตรวจ -vt. ทำเครื่องหมายเตารางสี่เหลี่ยม, ทำให้แตกแขนง, ทำให้เปลี่ยนแปลง, Syn. chequer | checkmate | vt., n. (การ) รุกจนแต้ม, ทำให้แพ้ | chequer | (เชค'เคอะ) { chequered, chequering, chequers } n. หมากรุก (หนึ่งเม็ด) , ตาหมากรุก, ลายตาหมากรุก -vt. สับเปลี่ยน, กลับกัน, Syn. checker | chequered | (เชค'เคิด) adj. มีการเปลี่ยนแปลง, เป็นตารางหมากรุก, มีสีหลากหลาย | chess | (เชส) n. เกมหมากรุก | chessboard | n. กระดานหมากรุก | chessman | (เชส'เมิน) n., เม็ดหมากรุก, เบี้ยหมากรุก | chinese checkers | เกมหมากรุกกระโดดข้ามหมากชนิดหนึ่ง | counteroffensive | (เคา'เทอะออฟเฟน'ซิฟว) n. การรุกกลับ, การโจมตีข้าศึกที่กำลังรุกเข้ามา, สงครามตอบโต้ | defence | (ดิเฟนซฺ') n. การป้องกัน, การต้านการรุกราน, การพิทักษ์, การแก้ตัวให้, การเป็นทนายให้, การแก้ต่าง, See also: defenceable adj. ดูdefence, Syn. protection | defensible | (ดิเฟน'ซิเบิล) adj. ซึ่งต่อต้านการรุกรานได้, ซึ่งป้องกันได้, ซึ่งสามารถแก้ต่างหรือแก้คดีได้., See also: defensibility n. ดูdefensible | draught | (ดราฟทฺ) n. การลาก, การดึง, การถอน, การดื่ม, การสูบ, การสูด, ปริมาณของเหลวที่ดื่มหนึ่งครั้ง, ปริมาณยาที่ใช้ต่อครั้ง, จำนวนปลาที่จับได้, กระแสลม, หมากรุกยุโรป (ส่วน'checkers'เป็นหมากรุกอเมริกา) , ต้นร่าง, ฉบับร่าง, ตั๋วแลกเงิน, การเกณฑ์ทหาร. vt. ร่าง, ยกร่าง, ออกแบบ, เกณฑ์ท | draughtboard | (ดราฟทฺ'บอร์ด) n. กระดานหมากรุก, Syn. draughtsboard | draughtsman | (ดราฟซฺ'เมิน) n. คนร่าง, คนยกร่าง, คนทำแบบแผน, หมากรุก, ผู้เชี่ยวชาญในการสเก็ตช์ภาพ, ช่างวาด, Syn. checker -pl. draughtsmen | drive | (ไดรฟว) { drove, driving, drives } vt. ขับ, ขับไล่, ไล่, ผลัก, ไส, ผลักดัน, ขับขี่, ต้อน (สัตว์เลี้ยง) , ลอย (ซุง) vi. แล่น, พุ่ง, ขับรถ, ตี (ลูกกอล์ฟ, ตะปู) , มุ่งหมาย n. การขับ, การขับขี่, ทางรถ, สัตว์ที่ไล่ตาม, สัตว์ (ที่ต้อน) , การรุกทางทหาร, พลังงาน, แรงกระตุ้น, กลไกในการขับ, หน่วยขับหน่วยบันทึกไดร์ฟ <คำอ่าน>อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่มีหน้าที่อ่านและบันทึกข้อมูล เช่น หน่วยขับแถบบันทึก (tape drive) หน่วยขับจานบันทึก (disk drive) | encroach | (เอนโครช') vt. ล่วงล้ำ, บุกรุก, ล่วงละเมิด, กัดกร่อน, See also: encroachment n. ดูencroach encroachr n. ดูencroach, Syn. intrude | entrench | (เอนเทรนชฺ') vt. ขุดสนามเพลาะ, ยึดที่มั่น. -vi. รุก, รุกล้ำ, บุกรุก., See also: entrencher n. ดูentrench, Syn. intrench | etymologist | (เอททะมอล'โลจิสทฺ) n. นักนิรุกติศาสตร์ | etymology | (เอททะมอล'โลจี) n. นิรุกติศาสตร์, เรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของคำ., See also: etymological adj. ดูetymology | frug | (ฟรุก) n. การเต้นรำชนิดหนึ่ง | gambit | (แกม'บิท) n. การเล่นหมากรุกโดยการยอมเสียสละหมากเพื่อเดินได้เปรียบขึ้น, กลเม็ด, แผนที่สุขุมรอบคอบ, Syn. stratagem, plan | gumption | (กัมพ'เชิน) n. การริเริ่ม, ความกล้าหาญ, การรุก | harbinger | (ฮาร์'บินเจอะ) n. ผู้สืบข่าวที่ไปล่วงหน้าก่อน, สมาชิกของกองหน้า, ผู้คาดการณ์ล่วงหน้า, ลาง, ผู้รุกไปข้างหน้า. vt. กระทำเป็นผู้สืบข่าวที่ไปล่วงหน้า, Syn. precursor | heuristics | วิทยาการศึกษาสำนึกหมายถึง วิธีการแก้ปัญหาที่ดูเหมือนว่าจะไม่มีแนวทางหรือกฎเกณฑ์ที่ชัดเจนตายตัว เช่น ในเกมหมากรุก คงมีแต่การทดลองหรือคาดเดาหลาย ๆ ทางให้ตัดสินเลือกทางที่คิดว่าจะได้ผลดีที่สุด ซึ่งมักจะใช้ผลจากประสบการณ์ที่ผ่านมา ตรงข้ามกับกับ "สามัญสำนึก" หรือ common sense | horn | (ฮอร์น) n. เขาสัตว์, แตรรูปเขา, แตรทรัมเป็ต (trumpet) , ยอดเขาแหลม vt. แทงด้วยเขา, ทิ่มด้วยเขา. -Phr. (horn in บุกรุก) . adj. ทำด้วยเขา, Syn. outgrowth | housebreaker | n. ผู้บุกรุกเข้าบ้าน, ขโมยงัดบ้าน, คนรับจ้างรื้อบ้าน | impinge | (อิมพินจฺ') vt. กระทบ, การแทก, ปะทะ, บุกรุก, รุกราน, มีผลต่อ., See also: impinger n. impingement n., Syn. strike, collide | incursion | (อินเคอ' เชิน) n. การบุกรุก, การโจมตี, การรุกล้ำ, Syn. inroad, raid, attack | incursive | (อินเคอ' ซิฟว) adj. บุกรุก, โจมตี, รุกล้ำ (making incursions) | innocuous | (อินอค'คิวอัส) adj. ไม่มีอันตราย, ไม่เป็นภัย, ไม่เป็นพิษ, ไม่รุกราน, ไม่น่ากลัว., See also: innocuously adv. innocuousness n., Syn. harmless-A. noxious | inoffensive | (อินอะเฟน'ซิฟว) adj. ไม่เป็นภัย, ไม่ทำอันตราย, เป็นรุกราน, ไม่ทำร้ายคนอื่น, ไม่น่ารังเกียจ., See also: inoffensiveness n., Syn. innocuous, Ant. offensive | inroad | (อิน'โรด) n. การรุกล้ำ, การบุกรุก, การจู่โจม, Syn. incursion | interlope | (อินเทอโลพ') vi. ดำเนินกิจการโดยไม่มีใบอนุญาต, รุกล้ำไปในบริเวณที่หวงห้ามโดยไม่มีใบอนุญาต, พูดสอดขึ้น, ยุ่งเรื่องของคนอื่น., See also: interloper n., Syn. trespass | intrude | (อินทรูด') vt., vi. บุกรุก, รุกล้ำ, ก้าวก่าย, ก้าวร้าว., See also: intruder n. intrudingly adv., Syn. interfere, invade, obtrude | intrusion | (อินทรู'เชิน) n. การบุกรุก, การก้าวก่าย, การก้าวร้าว, การผลักดัน, สิ่งที่ถูกดันขึ้นมา., See also: intrusional adj. |
| aggression | (n) การรุกราน, การบุกรุก, การก้าวร้าว, การล่วงละเมิด | aggressive | (adj) รุกราน, ล่วงละเมิด, ก้าวร้าว, แข็งขัน | aggressor | (n) ผู้รุกราน, ผู้บุกรุก | assail | (vt) ทำร้าย, ก้าวร้าว, ด่าว่า, โจมตี, รุกราน, ต่อสู้ | checker | (n) ตาสี่เหลี่ยม, ตาหมากรุก | checker | (vt) ทำเป็นตาสี่เหลี่ยม, ทำเป็นตาหมากรุก, ทำให้เปลี่ยนแปลง | checkerboard | (n) กระดานหมากรุก | checkered | (adj) มีตาสี่เหลี่ยม, เป็นตารางหมากรุก, เปลี่ยนง่าย | checkers | (n) การเล่นหมากฮอส, การเล่นหมากรุก | checkmate | (n) การรุกจนแต้ม | checkmate | (vi) รุกจนแต้ม | chequer | (n) ตาสี่เหลี่ยม, ตาหมากรุก, ตัวหมากรุก | chequer | (vt) ทำให้เป็นตาสี่เหลี่ยม, ทำให้เป็นตาหมากรุก, กลับกัน | chess | (n) เกมหมากรุก | chessboard | (n) กระดานหมากรุก | chessman | (n) เบี้ยหมากรุก | draughts | (n) การเล่นหมากฮอส, การเล่นหมากรุก | encroach | (vi) ล่วงล้ำ, รุกล้ำ, เบียดเบียน, ล่วงเกิน, บุกรุก | encroachment | (n) การล่วงเกิน, การรุกล้ำ, การเบียดเบียน, การล่วงล้ำ, การบุกรุก | entrench | (vt) ตั้งมั่น, บุกรุก, รุกล้ำ, ก้าวร้าว | entrenchment | (n) การตั้งมั่น, การรุก, การขุดสนามเพลาะ | etymology | (n) นิรุกติศาสตร์, วิชาว่าด้วยประวัติที่มาของคำ | horse | (n) ม้า, กำลังม้า, ม้าหมากรุก | housebreaking | (n) การย่องเบา, การงัดแงะ, การบุกรุกเข้าบ้าน | impinge | (vt) กระทบ, บุกรุก, รุกราน | incursion | (n) การบุกรุก, การจู่โจม, การโจมตี | initiative | (adj) ริเริ่ม, รุก, เริ่มต้น | inoffensive | (adj) ไม่น่ารังเกียจ, ไม่ทำอันตราย, ไม่รุกราน | inroad | (n) การโจมตี, การบุกรุก, การรุกราน | interloper | (n) ผู้บุกรุก, ผู้รุกล้ำ, ผีซ้ำด้ามพลอย | intrench | (vi) ก้าวร้าว, รุก, บุกรุก | intrude | (vt) บุกรุก, ก้าวร้าว, รบกวน, แย่ง, ยื่น, ก้าวก่าย | intruder | (n) ผู้บุกรุก, ผู้ก้าวร้าว, ผู้ก้าวก่าย | intrusion | (n) การบุกรุก, การก้าวร้าว, การก้าวก่าย | intrusive | (adj) ซึ่งบุกรุก, ซึ่งก้าวร้าว, ซึ่งล่วงล้ำ | invade | (vt) บุกรุก, ย่ำยี, ร้าวราน | invader | (n) ผู้บุกรุก, ผู้รุกราน, ผู้ย่ำยี | invasion | (n) การบุกรุก, การย่ำยี, ความร้าวราน | irruption | (n) การบุกรุก, การระเบิด, การไหลบ่า, การจู่โจม | knight | (n) ขุนนาง, อัศวิน, ม้าหมากรุก | molest | (vt) แกล้ง, รบกวน, ทำร้าย, ข่มเหง, รุกราน | molestation | (n) การแกล้ง, การรบกวน, การทำร้าย, การข่มเหง, การรุกราน | move | (n) รอบ, คราว, อุบาย, แต้ม, การเดินหมากรุก, การเคลื่อนไหว | obtrude | (vt) ยุ่ง, เสนอหน้า, เสือก, ถลัน, บุกรุก | obtrusive | (adj) สะเออะ, เสือก, ซึ่งบุกรุก, ซึ่งรุกล้ำ | offence | (n) การรุกราน, การละเมิด, การกระทำผิด | offend | (vt) ทำให้ขุ่นเคือง, ทำให้ไม่พอใจ, รุกราน, ละเมิด, ทำผิด | offender | (n) ผู้ละเมิด, ผู้รุกราน, ผู้กระทำผิด | offensive | (adj) ซึ่งรุกราน, ก้าวร้าว, น่ารังเกียจ | offensive | (n) การรุกราน, การบุกรุก, การล่วงละเมิด |
| approach strategy | (adj) กลยุทธ์เชิงรุก | biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ | biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ | biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ | Magnetic resonance cholangiopancreatography (MRCP) | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพทางการแพทย์ที่ใช้การถ่ายภาพสะท้อนแบบแม่เหล็กเพื่อแสดงให้เห็นถึงน้ำดีและท่อตับอ่อนในลักษณะที่ไม่รุกราน ขั้นตอนนี้สามารถใช้ในการตรวจสอบว่านิ่วในท่อที่อยู่รอบถุงน้ำดีหรือไม่ | philology | [(ฟิลอจ'ละจี)] (n) นิรุกติศาสตร์, ภาษาศาสตร์, การศึกษาเรื่องภาษา., Syn. Synonym: . philological adj. philologist n. !philologer n. philologize vi. ###S. |
| 防御 | [ぼうぎょ, bougyo] (n, adj) การป้องกันถัย (จากการรุกราน) |
| 指す | [さす, sasu] TH: เล่นหมากรุก EN: to play |
| Schach | (n) |das, nur Sg.| หมากรุก | Schachbrett | (n) |das, pl. Schachbretter| กระดานหมากรุก | Zugzwang | (n) |der, nur Sg.| เป็นคำศัพท์จากหมากรุกสากล ซึ่งมีความหมายว่า โดนบังคับให้เดินเสียเปรียบ (ไม่มีตาดีให้เดิน) คำว่า Zug นั้นแปลว่าการเคลื่อนที่หรือการเดินหรือการดึง ส่วนคำว่า Zwang แปลว่าการบังคับ ผู้ที่อยู่ในจังหวะ Zugzwang นั้นก็คือผู้ที่เสียเปรียบ หมายเหตุ: ทางที่ดีที่สุดนั้นก็คือไม่เดินนั่นเอง |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |