มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ วรรณกรรม | (n) literature, See also: literary works, writings, Example: ถ้าเธอได้อ่านเรื่องราวในวรรณกรรมเยาวชนอาจจะทำให้จิตใจดีขึ้นก็ได้, Thai Definition: งานหนังสือ | วรรณกรรมชิ้นเอก | (n) literary masterpiece, Example: วรรณกรรมเรื่องสี่แผ่นดินเป็นวรรณกรรมชิ้นเอกของม.ร.ว.คึกฤทธิ์ปราโมช |
|
| วรรณกรรม | น. งานหนังสือ, งานประพันธ์, บทประพันธ์ทุกชนิดทั้งที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง, เช่น วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ วรรณกรรมของเสฐียรโกเศศ วรรณกรรมฝรั่งเศส วรรณกรรมประเภทสื่อสารมวลชน. | ความเรียง | น. ข้อความที่เรียบเรียงเป็นร้อยแก้ว, วรรณกรรมประเภทร้อยแก้วอธิบายความ ซึ่งให้ความรู้หรือแสดงทัศนะอย่างแจ่มแจ้งเกี่ยวกับเรื่องที่นำมาอธิบาย. | จินตนิยม | คตินิยมในการสร้างสรรค์วรรณกรรมหรือศิลปะซึ่งแสดงให้เห็นชีวิตและโลกตามจินตนาการหรือมโนภาพ. | ตัวละคร | น. ผู้มีบทบาทในวรรณกรรมประเภทละคร นวนิยาย เรื่องสั้น และเรื่องแต่งประเภทต่าง ๆ. | บวรโตฎก | (บอวอระโตดก) น. ชื่อกลอนกลบทแบบหนึ่ง กำหนดให้ ๓ พยางค์ต้นวรรคแต่ละวรรคเป็นสะคณะคือพยางค์เบา ๒ พยางค์ พยางค์หนัก ๑ พยางค์ เช่น ชลเนตรไหลนองร้องร่ำรัก ชลไนยไหลหนักอาวรณ์หวาม ชนนีห้ามบุตรสุดไม่ตาม ชลนานองน้ำพระเนตรนอง (สารานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย ภาคฉันทลักษณ์). | ลิขสิทธิ์ | (ลิกขะสิด) น. สิทธิทางวรรณกรรม ศิลปกรรม และประดิษฐกรรม ซึ่งผู้เป็นต้นคิดได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย | ลิขสิทธิ์ | สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานประเภทวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ หรืองานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ ที่ตนได้ทำขึ้น อันได้แก่ สิทธิที่จะทำซ้ำ ดัดแปลง หรือนำออกโฆษณา รวมทั้งอนุญาตให้ผู้อื่นนำงานนั้นไปทำเช่นว่านั้นด้วย. | วรรณ-, วรรณะ | หนังสือ เช่น วรรณกรรม วรรณคดี. | วรรณคดี | น. วรรณกรรมที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดีมีคุณค่าเชิงวรรณศิลป์ถึงขนาด เช่น พระราชพิธีสิบสองเดือน มัทนะพาธา สามก๊ก เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน. | วรรณศิลป์ | น. ศิลปะในการประพันธ์หนังสือ เช่น ลิลิตพระลอเป็นวรรณคดีที่มีวรรณศิลป์สูงส่ง, ศิลปะทางวรรณกรรม เช่น นักวรรณศิลป์ | วรรณศิลป์ | วรรณกรรมที่ถึงขั้นเป็นวรรณคดี, หนังสือที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี. | วิจักษ์ | น. ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่าของศิลปกรรมและวรรณกรรม, ความนิยม, ความซาบซึ้ง, เช่น วรรณคดีวิจักษ์. | วิจาร, วิจารณ-, วิจารณ์ | (วิจาน, วิจาระนะ-, วิจาน) ก. ให้คำตัดสินสิ่งที่เป็นศิลปกรรมหรือวรรณกรรมเป็นต้น โดยผู้มีความรู้ควรเชื่อถือได้ ว่ามีค่าความงามความไพเราะดีอย่างไร หรือมีข้อขาดตกบกพร่องอย่างไรบ้าง เช่น เขาวิจารณ์ว่า หนังสือเล่มนี้แสดงปัญหาสังคมในปัจจุบันได้ดีมากสมควรได้รับรางวัล, ติชม, มักใช้เต็มคำว่า วิพากษ์วิจารณ์ เช่น คนดูหนังวิพากษ์วิจารณ์ว่า หนังเรื่องนี้ดำเนินเรื่องช้าทำให้คนดูเบื่อ. | เวท, เวท- | ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตโบราณซึ่งเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ยุคแรก มี ๔ คัมภีร์ ได้แก่ ๑. ฤคเวท ว่าด้วยบทสวดสรรเสริญเทพเจ้าทั้งหลาย ตอนท้ายกล่าวถึงการสร้างโลก ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นต้นแบบความเชื่อของชาวอินเดีย ๒. ยชุรเวท ว่าด้วยรายละเอียดการประกอบยัญพิธีและลำดับมนตร์ที่นำมาจากคัมภีร์ฤคเวทเพื่อสวดในขั้นตอนต่าง ๆ ของพิธี ๓. สามเวท ว่าด้วยบทขับที่คัดเลือกมาจากประมาณหนึ่งในหกของฤคเวท และใช้เฉพาะในพิธีที่บูชาด้วยน้ำโสม ๔. อถรรพเวท หรือ อาถรรพเวท เป็นเวทมนตร์คาถาเพื่อให้เกิดผลดีแก่ฝ่ายตนหรือผลร้ายแก่ฝ่ายศัตรู ตลอดจนการบันดาลสิ่งที่เป็นมงคลหรืออัปมงคล การทำเสน่ห์ การรักษาโรค และอื่น ๆ สามคัมภีร์แรกเรียกว่า ไตรเวท หรือ ไตรเพท ต่อมารับอถรรพเวทหรืออาถรรพเวทเข้ามารวมเป็นสี่คัมภีร์เรียกว่า จตุรเวท หรือ จตุรเพท, เรียกยุคแรกของศาสนาพราหมณ์จนถึงประมาณสมัยพุทธกาลว่า ยุคพระเวท มีวรรณกรรมหลักประกอบด้วยคัมภีร์พระเวท คัมภีร์พราหมณะ คัมภีร์อารัณยกะและคัมภีร์อุปนิษัทรุ่นแรก. | ศาสนจักร | (สาสะนะจัก, สาดสะนะจัก) น. อำนาจปกครองทางศาสนา เช่น ไตรภูมิโลกวินิจฉัยเป็นวรรณกรรมฝ่ายศาสนจักร, ถ้าเป็นฝ่ายพระพุทธศาสนา เรียกว่า พุทธจักร, ถ้าเป็นฝ่ายคริสต์ศาสนา เรียกว่า คริสตจักร, คู่กับ อาณาจักร ซึ่งหมายความว่า อำนาจปกครองทางบ้านเมือง. | ศิลปะพื้นบ้าน | น. ศิลปะแขนงต่าง ๆ เช่น วรรณกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม นาฏศิลป์ หัตถกรรม ที่ชาวบ้านได้สร้างสรรค์ขึ้นจากการเรียนรู้และฝึกปรือในครอบครัวหรือในหมู่บ้าน เป็นงานสร้างสรรค์ของสังคมชาวบ้าน และได้พัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่องกันมาหลายชั่วคน. | โศกนาฏกรรม | (โสกะนาดตะกำ, โสกกะนาดตะกำ) น. วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความเศร้าหรือไม่สมหวัง ตัวเอกในเรื่องจะตายในที่สุด เช่นเรื่องลิลิตพระลอ สาวเครือฟ้า โรเมโอ-จูเลียต, โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทั่ว ๆ ไปที่เป็นเรื่องเศร้าสลดใจ เช่น ชีวิตของเขาเป็นเหมือนโศกนาฏกรรม เกิดในตระกูลเศรษฐี แต่สุดท้ายต้องตายอย่างยาจก. | สัจนิยม | (สัดจะ-) น. คตินิยมในการสร้างสรรค์วรรณกรรมหรือศิลปะซึ่งแสดงให้เห็นชีวิตและโลกอย่างสมจริง | สุขนาฏกรรม | (-นาดตะกำ) น. วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่นเรื่องอิเหนา ศกุนตลา ชิงนาง ปริศนา, โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทั่ว ๆ ไปที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่น ชีวิตเธอเป็นเหมือนนวนิยายสุขนาฏกรรม แม้จะตกระกำลำบากในวัยเด็ก แต่แล้วก็ได้พบกับความสุขสมหวังในบั้นปลายชีวิต. | เสวนะ, เสวนา | (เสวะ-) น. การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เช่น กลุ่มวรรณกรรมจัดเสวนาเรื่องสุนทรภู่. | หุ่นจีน | น. หุ่นชนิดหนึ่ง ทำเป็นตัวละครในวรรณกรรมจีน มีทั้งชนิดครึ่งท่อนและเต็มตัว ใช้คนเชิดคนเดียว. |
| | Law and literature | กฎหมายกับวรรณกรรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliometric | ดัชนีวรรณกรรม, ดรรชนีวรรณกรรม, Example: <p>Bibliometrics คือการศึกษาหรือวิธีการวัด (Measure) สารสนเทศ หรือข้อความชุดหนึ่ง มีพัฒนาการมายาวนานกว่า 40 ปี นับเป็นเครื่องมือมาตรฐานในการประเมินงานวิจัย จัดอยู่ในสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ สามารถนำไปประยุกต์ในสาขาวิชาต่าง ๆ ได้มากมาย <p>การใช้วิธีการ Bibliometrics เพื่อค้นหาผลกระทบ (Impact) ในทุกระดับ คือ ระดับบทความ (Paper) ระดับสาขาวิชา (Field) ระดับนักวิจัย (Researcher) ระดับสถาบัน (Institutes / Affiliations ) และระดับประเทศ (Country ) <p>วิธีการของ Bibliometrics มีการนำไปใช้เพื่อตรวจสอบถึงความสัมพันธ์ระหว่างการอ้างอิงของวารสารวิชาการ ข้อมูลการอ้างอิงถือว่ามีความสำคัญ ดัชนีการอ้างอิงที่ผลิตโดยบริษัท Thomson Reuters ในฐานข้อมูล Web of Science และ Elsevier B.V. ในฐานข้อมูล Scopus ผู้สืบค้นสามารถค้นบทความที่อ้างอิงกันไปมาได้ ดัชนีการอ้างอิงสามารถสื่อถึงความเป็นที่นิยม มีผลกระทบต่อบทความ ผู้แต่ง และวารสาร <p>Bibliometrics เป็น Truly Interdisciplinary Research มีกลุ่มเป้าหมายหลักที่ศึกษา 3 กลุ่ม คือ <p>1 .Bibliometrics for Bibliometricians (Methodology เน้นหาวิธีการ เทคนิคต่าง ๆ) <p>2. Bibliometrics for scientific disciplines (Scientific information) เป็นกลุ่มที่มีความสนใจกว้างขวางมากที่สุด <p>3. Bibliometrics for Sciences Policy & Management (ศึกษาในระดับชาติ ภูมิภาค สถาบัน ด้วยการแสดงแบบเปรียบเทียบหรือพรรณา) <p>การประยุกต์ดัชนี Bibliometrics แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ <p>1. เชิงปริมาณ (Quantitative) <p>- จำนวนบทความ (No. of Publications) ตามรายปี สถาบัน ประเทศ สาขาวิชา เป็นต้น <p>- จำนวนการได้รับการอ้างอิง (No. of Citations : Citing, Cited) <p>- จำนวนที่มีผู้เขียนร่วม (No. Co-Authors) <p>- จำนวนสิทธิบัตร (No. Patents) การยื่นขอจดสิทธิบัตรจากพลเมืองตนเองหรือต่างชาติ <p>2. เชิงความสัมพันธ์ (Relation) <p>- ดัชนีผลงานตีพิมพ์ร่วมกัน (ความเป็นนานาชาติ) <p>- ดัชนีเชื่อมโยงจากบทความอ้างอิง (หาคำตอบประเทศใดอ้างอิงถึงประเทศใดบ้าง) <p>- ดัชนีสัมพันธ์บทความวิชาการกับสิทธิบัตร <p>- ดัชนีอ้างอิงบทความร่วมกัน (วัดหาการอ้างอิงถึงบทความ 2 บทความ ในบทความเดียวกัน) <p>บรรณานุกรม <p>รังสิมา เพ็ชรเม็ดใหญ่. ความรู้พื้นฐาน Bibliometrics ประวัติ พัฒนาการ & การประยุกต์. 2551. Available at : http://www.slideshare.net/nstda/bibliometrics. Accessed August 6, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Children's literature | วรรณกรรมสำหรับเด็ก, หนังสือสำหรับเด็ก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Zen literature | วรรณกรรมเซ็น [TU Subject Heading] | Agricultural literature | วรรณกรรมการเกษตร [TU Subject Heading] | Allusions in literature | การอ้างถึงในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | American literature | วรรณกรรมอเมริกัน [TU Subject Heading] | Animals in literature | สัตว์ในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Architecture in literature | สถาปัตยกรรมในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Art and literature | ศิลปะกับวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Art literature | วรรณกรรมศิลปะ [TU Subject Heading] | Arts in literature | ศิลปกรรมในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Bible and literature | ไบเบิลกับวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Bibliometrics | ดัชนีวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Birds in literature | นกในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Black Tai literature | วรรณกรรมไทดำ [TU Subject Heading] | Books on postage stamps | วรรณกรรมบนไปรษณียากร [TU Subject Heading] | Botany in literature | พฤกษศาสตร์ในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Buddhism and literature | พุทธศาสนากับวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Buddhism in literature | พุทธศาสนาในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Buddhist literature | วรรณกรรมพุทธศาสนา [TU Subject Heading] | Capitalism in literature | ทุนนิยมในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Characters and characteristics in literature | ตัวละครและลักษณะนิสัยในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Children's literature | วรรณกรรมสำหรับเด็ก [TU Subject Heading] | Children's literature, American | วรรณกรรมอเมริกันสำหรับเด็ก [TU Subject Heading] | Children's literature, English | วรรณกรรมอังกฤษสำหรับเด็ก [TU Subject Heading] | Children's literature, German | วรรณกรรมเยอรมันสำหรับเด็ก [TU Subject Heading] | Children's literature, Japanese | วรรณกรรมญี่ปุ่นสำหรับเด็ก [TU Subject Heading] | Children's literature, Thai | วรรณกรรมไทยสำหรับเด็ก [TU Subject Heading] | Chinese in literature | ชาวจีนในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Chinese literature | วรรณกรรมจีน [TU Subject Heading] | Christian saints in literature | นักบุญชาวคริสต์ในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Christianity and literature | คริสตศาสนากับวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Christianity in literature | คริสตศาสนาในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Civilization, Western, in literature | อารยธรรมตะวันตกในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Communication in literature | การสื่อสารทางวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Conduct of life in literature | การดำเนินชีวิตในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Contemporary, The, in literature | ความร่วมสมัยในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Cossacks in literature | ชาวคอสแสคในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Costume in literature | เครื่องแต่งกายในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Courts and courtiers in literature | ราชสำนักและข้าราชสำนักในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Creation (Literary, artistic, etc.) | การสร้างสรรค์ (วรรณกรรม, ศิลปกรรม, ฯลฯ) [TU Subject Heading] | Culture in literature | วัฒนธรรมในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Didactic literature, Thai | วรรณกรรมเชิงสั่งสอนไทย [TU Subject Heading] | Dignity in literature | ศักดิ์ศรีในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Discourse analysis | การวิเคราะห์ความเกี่ยวพันทางวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Elections in literature | การเลือกตั้งในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Elephants in literature | ช้างในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Elite (Social sciences) in literature | ชนชั้นนำ (สังคมศาสตร์) ในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | English literature | วรรณกรรมอังกฤษ [TU Subject Heading] |
| รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม | [Rāngwan Nōbēn Sākhā Wannakam] (n, prop) FR: prix Nobel de littérature [ m ] | วรรณกรรม | [wannakam] (n) EN: literary work ; writing ; literature FR: oeuvre littéraire [ f ] ; littérature [ f ] | วรรณกรรมชิ้นเอก | [wannakam chin ēk] (n, exp) EN: literary masterpiece FR: chef-d'oeuvre littéraire [ m ] | วรรณกรรมร้อยแก้ว | [wannakam røikaēo] (n, exp) EN: prose FR: prose [ f ] | วรรณกรรมร้อยกรอง | [wannakam røikrøng] (n, exp) EN: poetry | วรรณกรรมร่วมสมัย | [wannakam ruamsamai] (n, exp) EN: contemporary literature FR: littérature contemporaine [ f ] | วรรณกรรมสำหรับเด็ก | [wannakam samrap dek] (n, exp) FR: littérature d'enfance [ f ] | วรรณกรรมสำหรับเด็กและเยาวชน | [wannakam samrap dek lae yaowachon] (n, exp) FR: littérature d'enfance et de jeunesse [ f ] | วรรณกรรมไทย | [wannakam Thai] (n, exp) EN: Thai Literature | วงวรรณกรรม | [wong wannakam] (n, exp) EN: literary circles FR: cercle littéraire [ m ] |
| battle royal | (n) การรบหรือต่อสู้ที่ไม่มีกฎกติกา, See also: คำเป็นทางการ เป็นภาษาวรรณกรรม | bawd | (n) แม่เล้า (คำเก่า เป็นภาษาวรรณกรรม), Syn. procuress | bawd | (n) โสเภณี (คำเก่า เป็นภาษาวรรณกรรม), Syn. prostitution | epilog | (n) บทส่งท้ายของงานวรรณกรรม (ซึ่งมักจะกล่าวถึงชะตากรรมของตัวละคร), Syn. postscript, Ant. prologue | epilogue | (n) บทส่งท้ายของงานวรรณกรรม (ซึ่งมักจะกล่าวถึงชะตากรรมของตัวละคร), Syn. postscript, Ant. prologue | garland | (n) หนังสือรวบรวมบทกวี / วรรณกรรม, Syn. excerpts, anthology | idyll | (n) งานวรรณกรรมและเนื้อเพลงที่ว่าด้วยความงามของชนบท, Syn. eclogue, epic, poem | keen | (adj) คม (ทางวรรณกรรม), Syn. sharp, vivid, Ant. blunt, dull | kitsch | (adj) เกี่ยวกับศิลปะหรือวรรณกรรมที่ไร้ค่าหรือมีค่าต่ำ | kitsch | (n) ศิลปะหรือวรรณกรรมที่ไร้ค่าหรือมีค่าต่ำ | literary | (adj) เกี่ยวกับวรรณคดี, See also: เกี่ยวกับวรรณกรรม | literature | (n) งานประพันธ์, See also: งานวรรณกรรม, งานเขียน, ผลงานวรรณคดี, Syn. writings, letters | literature | (n) วรรณคดี, See also: วรรณกรรม | man of letters | (n) ผู้แต่งวรรณกรรม | mere | (n) บึง (ทางวรรณกรรม), See also: ทะเลสาบ, หนองน้ำ, สระน้ำ | pathos | (n) พลังกระตุ้นให้เกิดความรู้สึกเศร้าใจหรือสงสาร (ทางวรรณกรรมหรือคำปราศรัย), Syn. pitiableness, poignancy, sadness, sentimentality, Ant. amusement, fun, humour | tardy | (adj) เชื่องช้า (คำโบราณหรือใช้ในเชิงวรรณกรรม), See also: ชักช้า, อืดอาด, เอื่อยเฉื่อย, Syn. sluggish | treasury | (n) วรรณกรรมมีค่า | villain | (n) ตัวร้าย (ทางวรรณกรรม), Syn. scoundrel, Ant. hero | villainous | (adj) ชั่วร้าย (ทางวรรณกรรม), See also: ชั่วช้า, เลวทราม, Syn. evil, wicked, vicious |
| comstockery | (คัม'สทอคดคอรี่) n. การตรวจเรื่องศิลปะและวรรณกรรมอย่างมากเกินไป | conversazione | (คอนเวอซาซิออ'นี่) n. การชุมนุมเพื่อสนทนาแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น (โดยเฉพาะเกี่ยวกับเรื่องวิชาการหรือศิลปะวรรณกรรม) | corpus | (คอร์'พัส) n. ร่างกาย, ศพ, รวมเรื่องเขียนขนาดใหญ่หรือสมบูรณ์, รวมวรรณกรรม, อวัยวะหรือส่วนของร่างกาย ที่ทำหน้าที่เฉพาะอย่าง, เงินก้อนใหญ่, Syn. corpse; -Phr. corpus delicti ข้อเท็จจริงที่ได้ทำผิดกฎหมาย -Phr. corpus juris ประมวลหลักธ | hierology | n. วรรณคดีหรือวิชาที่เกี่ยวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์, การศึกษาเกี่ยวกับ ชีวิตและวรรณกรรมของนักบุญ., See also: hierologic al adj. hierologist n. | public domain | n. ที่ดินของรัฐ, สิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวรรณกรรมที่สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์หมดอายุ, สาธารณสมบัติ, ของสาธารณะหมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นแล้วผู้สร้างหรือเจ้าของยินยอมให้ใคร ๆ มาคัดลอกนำไปใช้ได้ โดยไม่ผิดพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ เช่น โปรแกรม Cuwriter ในระบบเครือข่าย จะมีกลุ่มโปรแกรมกลุ่มหนึ่งเรียกว่า PDS ย่อมาจาก public domain software เป็นที่รวมของโปรแกรมฟรีต่าง ๆ ที่ใคร ๆ ก็สามารถคัดลอกไปใช้ได้ | pulitzer prize | n. ชื่อรางวัลประจำปีสำหรับผู้มีผลงานดีเด่นในศิลปะการหนังสือพิมพ์ วรรณกรรม ดนตรีและอื่น ๆ ก่อตั้งขึ้นโดย Joseph Pulitzer | renaissance | (เรนนิซานซฺ', -ซานซฺ) n. ความเฟื่องฟู ความรู้ทางศิลปวรรณกรรมในยุโรปสมัยศตวรรษที่ 14-17, สมัยดังกล่าว, See also: renaissance การฟื้นฟูชีวิตพลังความสนใจหรืออื่น ๆ, ชีวิตใหม่ adj. เกี่ยวกับสมัยดังกล่าว, เกี่ยวกับลักษณะศิลปวรรณกรรมในสมัยดังกล่าว | treasury | (เทรช'เ?อะรี) n. คลัง, ท้องพระคลัง, กองคลัง, กรมคลัง, ทรัพย์สมบัติ, คลังสมบัติ., See also: treasury กองคลัง, กรมคลัง, กลุ่มวรรณกรรมที่ล้ำค่า, Syn. treasure | treatment | (ทรีท'เมินทฺ) n. การรักษา, การเยียวยา, การปฎิบัติต่อ, การกระทำต่อ, วิธีการทางวรรณกรรม, การใส่ (สารเคมีเป็นต้น) |
| literature | (n) วรรณกรรม, วรรณคดี, การประพันธ์, อักษรศาสตร์ |
| meta-analysis | (n) การทบทวนวรรณกรรมระบบเชิงปริมาณ | meta-analysis | (phrase) การทบทวนวรรณกรรมระบบเชิงปริมาณ, การทบทวนหลักฐานจากข้อมูลทางสถิติที่รวบรวมขึ้น | score | (n) ยี่สิบ (ใช้ในวรรณกรรมสมัยก่อน ตัวอย่างเช่น threescore คือ หกสิบ เป็นต้น) |
| 蜻蛉日記 | [かげろうにっき, kagerounikki] (n) วรรณกรรมประเภทบันทึกสมัยเฮอัน ที่ได้รับการบันทึกโดยสตรีเล่มแรกของญี่ปุ่น เขียนโดย 道綱の母(みちつなのはは)เนื้อหาพรรณาเกี่ยวกับความเศร้าจากชีวิตแต่งงานของผู้เขียน |
| 文語 | [ぶんご, bungo] TH: ภาษาในวรรณกรรม EN: literary language |
| Literatur | (n) |die, meistens Sg.| วรรณคดี, วรรณกรรม, ผลงานประพันธ์, สิ่งตีพิมพ์ |
| kindlein Au | (n) ทารกน้อยกลอยใจ (จากวรรณกรรมโบราณของเยอรมัน) |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |