ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: วิชา, -วิชา- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| นักศึกษาวิชาทหาร (นศท.) | (n, phrase) Reserve Officer Training Cops Student (ROTCS) | วิชากฎหมายธุรกิจ | (n, phrase) Business Law | วิชาการขายเบื้องต้น | (n, phrase) Introduction to Sales | วิชาการพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต | (n, phrase) Work Development with Quality Management System and Productivity | วิชาการอ่านภาษาอังกฤษธุรกิจ | (n, phrase) Business English Reading | วิชาการเขียนภาษาอังกฤษธุรกิจ | (n, phrase) Business English Writing | วิชาการใช้เครื่องใช้สำนักงาน | (n, phrase) Office Equipment Usage | วิชาจิตวิทยามนุษย์เชิงธุรกิจ | (n, phrase) Human Psychology and Business Ethics | วิชาภาษาอังกฤษงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม | (n, phrase) English for Food and Beverage Services | วิชาภาษาอังกฤษธุรกิจขนส่ง | (n, phrase) English for Transport Business | วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว | (n, phrase) English for Tourism | วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการนาเสนอทางธุรกิจ | (n, phrase) English for Business Presentation | วิชาภาอังกฤษงานส่วนหน้าโรงแรม | (n, phrase) English for Hotel Front Office | วิชาสนทนาภาษาอังกฤษธุรกิจ | (n, phrase) Business English Conversation | วิชาหลักการจัดการ | (n, phrase) Principles of Management | วิชาหลักการตลาด | (n, phrase) Principles of Marketing | วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ | (n, phrase) Principles of Economics | วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ | (n, phrase) Computer Package at Work |
| วิชา | (n) subject, See also: knowledge, branch of knowledge, science, technology, learning, Example: ท่านไม่พอใจเท่าไหร่เพราะผมทำเกรดได้ไม่ดีในวิชาหลักๆ อาทิ เลข วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์, Count Unit: วิชา, Thai Definition: ความรู้ที่ได้ด้วยการเล่าเรียนหรือฝึกฝน | วิชาโท | (n) minor, See also: minor subject, Example: เพื่อนๆ ทุกคนเลือกเรียนภาษาอังกฤษเป็นวิชาโท, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาที่ผู้เรียนเลือกเรียนให้ลึกซึ้งเป็นวิชารองจากวิชาเอก | กวดวิชา | (v) tutor, See also: cram, coach, Syn. ติว, Example: เด็กๆ ไม่จำเป็นต้องเรียนกวดวิชาหรอกให้เวลาเขาได้พักผ่อนบ้างจะดีกว่า, Thai Definition: เรียนเพิ่มเติมจากที่เรียนมาแล้ว | ทวิชาติ | (n) Brahman, See also: twice-born, Syn. ทวิชงค์, ทวิช, พราหมณ์, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เกิดสองหน, Notes: (สันสกฤต) | ทวิชาติ | (n) bird, See also: twice-born, Syn. นก, ทวิช, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ผู้เกิดสองหน, Notes: (สันสกฤต) | ภาควิชา | (n) department, Syn. สาขาวิชา, Example: รายละเอียดการสมัครสามารถสอบถามได้ที่ภาควิชา ทุกวันเวลาทำการ, Count Unit: ภาค, Thai Definition: ส่วนของแผนกวิชาต่างๆ ในมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย | รายวิชา | (n) course, Example: รายวิชาภาษาศาสตร์บริสุทธิ์ค่อนข้างจะเป็นทฤษฎี และเป็นรายวิชาที่มุ่งปูพื้นฐานสำหรับการทำงานวิจัยต่อไป, Count Unit: รายวิชา, Thai Definition: หน่วยวิชาที่ระบุไว้ในหลักสูตรการศึกษาระดับต่างๆ ในช่วงเวลาหนึ่งภาคการศึกษา มีทั้งที่บังคับและให้เลือก | วิชาการ | (adj) academic, See also: technical, Example: หนังสือที่พิมพ์แจกไปนั้นมีคุณค่าในงานวิชาการเป็นอย่างยิ่ง, Thai Definition: ที่เกี่ยวกับวิชาความรู้โดยเฉพาะ | วิชาการ | (n) academic matter, See also: technical matter, Example: ผมได้มีโอกาสไปร่วมประชุมวิชาการเรื่องการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรม, Thai Definition: การที่เกี่ยวกับวิชาความรู้โดยเฉพาะ | วิชาชีพ | (n) vocation, See also: profession, occupation, career, Thai Definition: อาชีพที่ต้องอาศัยวิชาความรู้ความชำนาญ | วิชาเลข | (n) arithmetic, See also: mathematics, Syn. เลข, Example: เด็กไทยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเลข ภาษาไทย และวิทยาศาสตร์ในขั้นต่ำ | วิชาเอก | (n) major subject, Ant. วิชาโท, วิชารอง, Example: มีนักศึกษาเรียนวิชาภาษาไทยเป็นวิชาเอกน้อยมาก, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาที่ผู้เรียนเลือกเรียนได้เอง เพื่อให้ครบตามหลักสูตรที่กำหนด | แก่วิชา | (adj) knowledgeable, Syn. รู้มาก | ตลาดวิชา | (n) knowledge market, Example: มหาวิทยาลัยรามคำแหงถือเป็นตลาดวิชาสำหรับผู้ที่สนใจศึกษาหาความรู้, Thai Definition: แหล่งที่สามารถศึกษาหาความรู้ได้โดยเสรี | วิชาช่าง | (n) engineering, Example: นักศึกษากลุ่มนี้สอบวิชาช่างได้เกรดเอทุกคน, Thai Definition: ความรู้ที่เกี่ยวกับช่าง | วิชาอาคม | (n) magic, See also: incantation, magic formula, Syn. เวทมนตร์, Example: ชนกลุ่มนี้มีความเชื่อว่าหากเปิดเผยวันเดือนปีเกิดให้มีผู้ล่วงรู้ อาจถูกผู้มีวิชาอาคมกระทำ | สาขาวิชา | (n) field, Example: คณะมนุษยศาสตร์มีสาขาวิชาต่างๆ มากมายที่น่าสนใจศึกษา, Count Unit: สาขา, Thai Definition: วิชาที่แยกย่อยออกไปจากวิชาหลัก | สาขาวิชา | (n) program | วิชาแพทย์ | (n) medicine, Syn. แพทยศาสตร์, Example: เขาเลิกศึกษาวิชาแพทย์ แล้วมาศึกษาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์แทน, Thai Definition: วิชาว่าด้วยการป้องกันและบำบัดโรค | กรมวิชาการ | (n) Department of Curriculum and Instruction Development, Example: ตำราทางการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาส่วนใหญ่จัดทำขึ้นโดยกรมวิชาการ | ทางวิชาการ | (adj) academic, Example: การวิจัยทางวิชาการเป็นกิจกรรมทางปัญญา เพื่อค้นหาความจริง | นักวิชาการ | (n) technocrat, Example: บริษัทผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ชั้นนำต่างพยายามหลบเลี่ยงกลบเกลื่อน หรือสรรหานักวิชาการมายืนยันถึงความปลอดภัย, Count Unit: คน, ท่าน | นักวิชาการ | (n) academician, See also: scholar, academic, Example: งานนี้เหมาะกับพวกนักวิชาการมากกว่าศิลปินอย่างเรา, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้มีความรู้ ความชำนาญ และศึกษาลึกซึ้งในสาขาวิชานั้นๆ | วิชาบังคับ | (n) required subject, Ant. วิชาเลือก, Example: นิสิตทุกคนต้องสอบผ่านวิชาบังคับตรงตามหลักสูตร จึงจะมีสิทธิขอจบการศึกษา, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาที่กำหนดให้เรียน | ด้านวิชาการ | (n) academic, Example: ผู้บริหารการศึกษาควรให้ความสนใจงานด้านวิชาการมากกว่านี้ | ถ่ายทอดวิชา | (v) pass on knowledge, See also: teach, Syn. ถ่ายทอดความรู้, Example: เขานำความรู้จากการทำเข่ง มาประยุกต์สานสุ่มไก่ และถ่ายทอดวิชาความรู้ให้ลูกหลาน, Thai Definition: นำความรู้ที่ได้จากการเล่าเรียนหรือฝึกฝนไปสั่งสอนต่อให้ผู้อื่น | ถ่ายทอดวิชา | (v) pass on knowledge, See also: teach, Syn. ถ่ายทอดความรู้, Example: เขานำความรู้จากการทำเข่ง มาประยุกต์สานสุ่มไก่ และถ่ายทอดวิชาความรู้ให้ลูกหลาน, Thai Definition: นำความรู้ที่ได้จากการเล่าเรียนหรือฝึกฝนไปสั่งสอนต่อให้ผู้อื่น | ถ่ายทอดวิชา | (v) pass on knowledge, See also: teach, Syn. ถ่ายทอดความรู้, Example: เขานำความรู้จากการทำเข่ง มาประยุกต์สานสุ่มไก่ และถ่ายทอดวิชาความรู้ให้ลูกหลาน, Thai Definition: นำความรู้ที่ได้จากการเล่าเรียนหรือฝึกฝนไปสั่งสอนต่อให้ผู้อื่น | ฝ่ายวิชาการ | (n) academic section, See also: technical side, academic administration, technical office, Example: ท่านเข้ามาทำงานวิจัยในฝ่ายวิชาการของกองอนุรักษ์สัตว์ป่าในปีพ.ศ.2526, Count Unit: ฝ่าย, Thai Definition: กลุ่มที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับวิชาความรู้โดยเฉพาะ | หลักวิชาการ | (n) theory, See also: principle, Example: ระดับการปนเปื้อนของสารตะกั่วในน้ำดื่มตามหลักวิชาการไม่ควรเกิน 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร, Thai Definition: ทฤษฎีของวิชาการ | เนื้อหาวิชา | (n) subject matter, See also: subject description, Example: อาจารย์กำหนดจุดมุ่งหมายและรายละเอียดของเนื้อหาวิชา เพื่อให้นักเรียนสามารถนความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้, Thai Definition: สาระสำคัญของวิชา | วิชาวาดเขียน | (n) drawing, Syn. วาดเขียน, Example: ครูผู้สอนวิชาวาดเขียนปลื้มใจกับลูกศิษย์ที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ในการประกวดวาดภาพนานาชาติ | วิชาเลือกเสรี | (n) elective subject, Example: หลักสูตรใหม่มีวิชาเลือกเสรีให้นักศึกษาได้เลือกตามความถนัดหลายวิชา, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาที่เลือกเรียนและเลือกสอบได้ โดยไม่มีการบังคับ | วิชาดาราศาสตร์ | (n) astronomy, Syn. ดาราศาสตร์, Example: วิชาโหราศาสตร์เป็นวิชาที่เก่าแก่โบราณมากที่สุด มีมาก่อนที่จะมีวิชาดาราศาสตร์ | กรมวิชาการเกษตร | (n) Department of Agriculture | กรมวิชาการเกษตร | (n) Department of Agriculture | นักวิชาการพิเศษ | (n) technical specialist, Example: อาจารย์อัญชลีได้รับเชิญให้ไปเป็นนักวิชาการพิเศษที่โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญพิเศษในสาขาวิชานั้น | โรงเรียนกวดวิชา | (n) tutorial school, Example: ผู้คนจำนวนมาก ทุกรุ่นทุกวัยจะมุ่งกันไปเรียนภาษาไทยที่โรงเรียนกวดวิชา ซึ่งเปิดขึ้นหลายแห่ง, Count Unit: โรง, แห่ง | สถานศึกษาวิชาชีพ | (n) vocational school, See also: professional school, Example: สถานศึกษาวิชาชีพในวิทยาลัยชุมชนมุ่งเน้นการสอนวิชาชีพทั่วไป และสอนหลักสูตรระยะสั้นสำหรับนักศึกษาผู้ใหญ่ | วิชาประวัติศาสตร์ | (n) history, Syn. ประวัติศาสตร์, Example: ความตื่นตัวในวิชาประวัติศาสตร์กระจายออกไปในวงกว้าง ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค | เสรีภาพทางวิชาการ | (n) academic freedom, See also: academic independence, Thai Definition: ความเป็นอิสระในทางวิชาการ | เสรีภาพทางวิชาการ | (n) academic freedom, See also: academic independence, Thai Definition: ความเป็นอิสระในทางวิชาการ |
| กวดวิชา | ก. เรียนเสริมหรือเพิ่มเติมเพื่อให้ทันหรือมีความรู้ดียิ่งขึ้น. | ตลาดวิชา | น. แหล่งที่ศึกษาหาความรู้ได้โดยเสรี. | ทวิชากร | น. ฝูงนก. | ทวิชาติ | น. นก, หมู่นก | ทวิชาติ | พราหมณ์. | นักวิชาการ | น. ผู้เชี่ยวชาญวิชาความรู้สาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลายสาขา. | ร้อนวิชา | ก. เกิดความเร่าร้อนเนื่องจากคาถาอาคมจนอยู่ไม่เป็นปรกติ | ร้อนวิชา | เร่าร้อนอยากจะแสดงวิชาความรู้พิเศษหรือคาถาอาคมจนผิดปรกติวิสัย. | รายวิชา | น. หน่วยวิชาที่ระบุไว้ในหลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ ในช่วงเวลาหนึ่งภาคการศึกษา มีทั้งที่บังคับและให้เลือก. | วิชา | น. ความรู้, ความรู้ที่ได้ด้วยการเล่าเรียนหรือฝึกฝน, เช่น วิชาภาษาไทย วิชาช่าง วิชาการฝีมือ. | วิชาการ | น. วิชาความรู้สาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลายสาขา เช่น บทความวิชาการ สัมมนาวิชาการ การประชุมวิชาการ. | วิชาแกน | น. รายวิชาที่อยู่ในหลักสูตรร่วมกันของหลายคณะหรือหลายสาขาของปริญญาเดียวกัน ที่ผู้เรียนในคณะหรือสาขาเหล่านั้นจะต้องเรียน. | วิชาชีพ | น. วิชาที่จะนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ เช่น วิชาแพทย์ วิชาช่างไม้ วิชาช่างยนต์. | วิชาโท | น. รายวิชาที่ผู้เรียนเลือกเรียนให้ลึกซึ้งรองลงมาจากวิชาเอก. | วิชาธร | น. พิทยาธร. | วิชาบังคับ | น. รายวิชาที่กำหนดให้ผู้เรียนทุกคนในหลักสูตรนั้นจะต้องเรียน. | วิชาบังคับพื้นฐาน | น. รายวิชาพื้นฐานที่บังคับให้เรียนในหลักสูตร. | วิชาบังคับเลือก | น. รายวิชาเลือกที่ทางภาควิชาบังคับให้เรียนในหลักสูตร. | วิชาพื้นฐาน | น. รายวิชาที่ถือว่าเป็นพื้นฐานของวิชาในระดับที่สูง ๆ ขึ้นไป. | วิชาเลือก | น. รายวิชาที่กำหนดให้ผู้เรียนเลือกเรียนได้. | วิชาเลือกบังคับ | น. รายวิชาเลือกที่อาจารย์ที่ปรึกษาบังคับให้เรียนเป็นรายบุคคล. | วิชาเลือกเสรี | น. รายวิชาที่เลือกเรียนได้อย่างเสรี โดยผู้เรียนไม่ต้องถามอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน. | วิชาอาคม | น. เวทมนตร์, คาถาอาคม, เช่น อาจารย์ถ่ายทอดวิชาอาคมให้ศิษย์, วิทยาคม ก็ว่า. | วิชาเอก | น. รายวิชาที่ผู้เรียนเลือกเรียนให้ลึกซึ้งเป็นวิชาหลัก ตามหลักสูตรปริญญาหรืออนุปริญญา. | วิชานนะ | น. ความรู้, ความเข้าใจ. | ศัพท์เฉพาะวิชา | น. คำที่ตราหรือกำหนดขึ้นใช้ในแต่ละวิชา เช่น ปฏิชีวนะ ประสบการณ์ มลพิษ. | หลักวิชา | น. ความรู้ที่เป็นหลักของแต่ละวิชา. | กระบวนท่า | น. แม่ไม้ที่เป็นหลักในวิชากระบี่กระบองหรือมวยเป็นต้น. | กระวีชาติ | น. หมู่กวี, พวกกวี, เช่น เสดจ์ในพระที่นั่งพลับพลาทองโดยอุตราภิมุขพร้อมด้วยหมู่มาตยามนตรีกระวีชาติราชปะโรหิตาจารย์เฝ้าพระบาท (สามดวง), เขียนเป็น กระวีชาต หรือ กระวิชาติ ก็มี เช่น พระองค์ทรงพระกรุณาเพื่อจะมิให้มุกขมนตรีกระวีชาตแลราษฎรล่วงเกินพระราชอาญา, พร้อมด้วยหมู่มุกขมาตยามนตรีกระวิชาติราชสุริยวงษพงษพฤฒาโหราจารยเฝ้าเบื้องบาทบงกชมาศ (สามดวง). | กระหัง | น. ผีชนิดหนึ่งที่ถือว่าเข้าสิงในตัวผู้ชาย เชื่อกันว่าเดิมเป็นผู้ชายที่เรียนวิชาอาคมแก่กล้าเข้าก็มีปีกมีหาง จะไปไหนก็ใช้กระด้งต่างปีก สากตำข้าวต่างขา สากกะเบือต่างหาง ชอบกินของโสโครก, คู่กับ กระสือ ซึ่งเข้าสิงในตัวผู้หญิง, ใช้ว่า กระหาง ก็มี เช่น ถ้าเปนสัจว่าเปนกระสือกระหางจะกละจริงไซร้ (สามดวง). | กลศาสตร์ | (กนละ-) น. วิชาฟิสิกส์สาขาหนึ่ง ที่ศึกษาเกี่ยวกับการกระทำของแรงต่อเทหวัตถุ และผลที่เกิดขึ้นแก่เทหวัตถุนั้นภายหลังที่ถูกแรงมากระทำ. | การประกอบโรคศิลปะ | น. การประกอบวิชาชีพที่กระทำหรือมุ่งหมายจะกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบำบัดโรค การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ การผดุงครรภ์ แต่ไม่รวมถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ. | การเมือง | น. งานที่เกี่ยวกับรัฐหรือแผ่นดิน เช่น วิชาการเมือง ได้แก่วิชาว่าด้วยรัฐ การจัดส่วนแห่งรัฐ และการดำเนินการแห่งรัฐ. | กิมิวิทยา | น. วิชาว่าด้วยหนอน. | กีฏวิทยา | น. วิชาว่าด้วยแมลง. | กุมภา | น. จระเข้ เช่น ตัวกูหลงอยู่ด้วยกุมภา จะเสื่อมเสียวิชาที่เรียนรู้ (ไกรทอง). | เกชา, เกอิชา | น. ผู้หญิงญี่ปุ่นที่มีศิลปะและวิชาชีพในการปรนนิบัติผู้ชาย. | เกษตรศาสตร์ | (กะเสดตฺระสาด) น. วิชาว่าด้วยเกษตรกรรม. | แก่ ๑ | โดยปริยายหมายความว่า จัดเจน หนัก หรือ ยิ่งไปในทางนั้น เช่น แก่สังคม แก่วิชา แก่เหล้า แก่เล่น แก่ไฟ. | ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม | น. ข้อตกลงในสัญญาระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือในสัญญาสำเร็จรูป หรือในสัญญาขายฝากที่ทำให้ผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือผู้กำหนดสัญญาสำเร็จรูป หรือผู้ซื้อฝากได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเกินสมควร. | ขึ้นครู | ก. ทำพิธีคำนับครูที่ประสาทวิชาให้เมื่อแรกเรียน | เข้าตู้ | ก. ลืมวิชาความรู้ที่ได้เรียนมา ใช้พูดว่า “วิชาเข้าตู้” ซึ่งหมายความว่า วิชาที่เคยจำได้นั้นบัดนี้ลืมหมดแล้ว ยังคงอยู่แต่ในตำราที่เก็บไว้ในตู้. | เข้าหม้อ | ก. ลืมวิชาความรู้ที่ได้เรียนมา. | เขียนไทย | น. วิชาเขียนภาษาไทยตามคำบอกของครู เพื่อฝึกเขียนตัวสะกดการันต์ให้ถูกต้อง, เขียนตามคำบอก ก็ว่า. | แขนง ๑ | (ขะแหฺนง) น. กิ่งไม้เล็ก ๆ ที่แตกใหม่จากลำของไม้พวกไม้ไผ่, กิ่งไม้เล็ก ๆ ที่แยกออกจากกิ่งใหญ่, โดยปริยายหมายถึงส่วนย่อยที่แยกจากส่วนใหญ่ เช่น วิชาฟิสิกส์เป็นแขนงหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์. | คชศาสตร์ | น. วิชาว่าด้วยช้าง มี ๒ ประเภท คือ คชลักษณ์ และ คชกรรม. | คณ-, คณะ | หน่วยงานในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันที่เทียบเท่าซึ่งรวมภาควิชาต่าง ๆ ที่จัดการเรียนการสอนวิชาในสายเดียวกัน เช่น คณะนิติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ | คณิต, คณิต- | (คะนิด, คะนิดตะ-) น. การนับ, การคำนวณ, วิชาคำนวณ, มักใช้เป็นคำหลังของวิชาบางประเภท เช่น พีชคณิต เรขาคณิต. | คณิตศาสตร์ | (คะนิดตะสาด, คะนิดสาด) น. วิชาว่าด้วยการคำนวณ. | คติชาวบ้าน | น. เรื่องราวของชาวบ้านที่เป็นของเก่าเล่าต่อปากและประพฤติสืบ ๆ กันมาหลายชั่วอายุคนในรูปคติความเชื่อ ประเพณี นิทาน เพลง ภาษิต ปริศนาคำทาย ศิลปะ สถาปัตยกรรม การละเล่นของเด็ก เป็นต้น, วิชาที่ว่าด้วยเรื่องเหล่านั้น. |
| | Subject reference books | หนังสืออ้างอิงเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliographer | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา [เทคโนโลยีการศึกษา] | Bibliographer | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา, ผู้รวบรวมจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Conference paper | เอกสารการประชุมทางวิชาการ, Example: <p>เอกสารการประชุมทางวิชาการ คือ เอกสารหรือบทความที่นำเสนอต่อที่ประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ ที่จัดขึ้นทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ โดยสมาคม หน่วยงาน หรือองค์กร จัดให้มีการประชุม เพื่อเป็นการพบปะระหว่างนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาชีพ ในสาขาวิชาเดียวกันอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และความร่วมมือกัน มีการนำเสนอผลการค้นคว้าวิจัยใหม่ในที่ประชุม โดยต้องส่งเอกสารหรือบทความ หรือสาระสังเขป (บทคัดย่อ) ของเรื่องที่จะนำเสนอในที่ประชุมล่วงหน้า ในช่วงที่ประกาศรับการเสนอบทความ (Call for papers) และงานต้องมีคุณภาพมากเพียงพอที่กรรมการพิจารณาบทความจะยอมรับให้ได้ตีพิมพ์และนำเสนอบทความในการประชุมครั้งนั้น <p>ตัวอย่างการประชุมทางวิชาการ เช่น IFLA Conference (International Federation of Library Associations and Institutions : สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด) ในกลุ่มวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และ สารนิเทศศาสตร์ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Journal | วารสารวิชาการ, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110307-journal.jpg" alt="Journal"> <p>วารสารวิชาการจัดเป็นสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกที่แน่นอนและต่อเนื่อง โดยมีการนำเสนอเนื้อหาในลักษณะบทความและเรื่องราวทางวิชาการซึ่งเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ขนาดส่วนใหญ่ประมาณ A4 มีความยาวของเนื้อหามากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทหนึ่ง อีกทั้งมีการออกแบบและเทคนิคการจัดพิมพ์เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้อ่านด้วยภาพและสี <p>วารสารจัดเป็นแหล่งค้นคว้าและติดตามเรื่องราวและผลการศึกษาวิจัยใหม่ๆ ทางด้านวิชาการและความรู้ที่ทันสมัย ตลอดจนทัศนะและความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ รวดเร็วกว่าหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ ดังนั้น สารสนเทศจากวารสารจึงมีความทันสมัยกว่าสารสนเทศจากแหล่งอื่นๆ <p>ส่วนประกอบหลักในวารสาร <p>ปก ส่วนใหญ่มักเป็นปกอ่อน และมีภาพที่สื่อถึงเนื้อหาในฉบับนั้นๆ โดย พิมพ์สี เพื่อความสวยงามและดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่อวารสาร ชื่อผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ ข้อความที่ระบุกำหนดออก ราคา เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร หรือ ISSN และ ชื่อบทความเด่นในวารสารฉบับนั้นๆ <p>หน้าปกใน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่้อวารสาร ผู้รับผิดชอบในการจัดทำในส่วนต่างๆ เช่น บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ เจ้าของ เป็นต้น ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ กำหนดออก ราคาค่าบอกรับ ISSN วัตถุประสงค์ในการจัดทำ สำนักงาน หรือสถานที่ติดต่อ <p>หน้าบรรณาธิการ เป็นการพูดคุยระหว่างบรรณาธิการกับผู้อ่านเกี่ยวกับวารสารฉบับนั้นๆ <p>สารบัญ แสดงรายชื่อบทความ ผู้เขียน พร้อมหมายเลขหน้าที่เริ่มต้นบทความนั้นๆ เรียงลำดับตามเลขหน้า <p>เนื้อหา คือ ส่วนที่เป็นบทความ และคอลัมน์ โดยจัดเรียงลำดับตามที่สารบัญระบุไว้ อาจเป็นเรื่องสั้น หรือเรื่องยาว ทั้งที่จบในฉบับ หรืออ่านต่อเนื่องกันหลายฉบับ <p>รายละเอียดการพิมพ์ท้ายเล่ม คือ แหล่งข้อมูลสถานที่พิมพ์ โรงพิมพ์ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา <p>อื่นๆ วารสารวิชาการบางชื่อในส่วนท้ายเล่ม อาจมี ระเบียบการเขียนบทความที่จะลงพิมพ์ในวารสาร คำแนะนำการเตรียมต้นฉบับ รูปแบบการพิมพ์บทความ การส่งต้นฉบับ แบบฟอร์มใบสมัครสมาชิกวารสาร เป็นต้น <p>วารสารแต่ละชื่อมีกำหนดการออกทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน โดยแบ่งได้ดังนี้ <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายสี่เดือน (Quarterly) คือ 4 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 3 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายชื่อวารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/images/l_menu_S&T%20journal_02.png <p>รายชื่อวารสารสาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/list%20journal.php?branch=H <p>แหล่งข้อมูล <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา 13312 การวิเคราะห์สารสนเทศ. นนทบุรี : สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library profession | วิชาชีพห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Monograph | หนังสือ, เอกสารทางวิชาการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Professional librarian | บรรณารักษ์วิชาชีพ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Transactions | รายงานของสมาคมหรือสถาบันทางวิชาการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Special bibliography | บรรณานุกรมหัวข้อวิชาใดหัวข้อวิชาหนึ่ง, Example: <p>บรรณานุกรม (Bibliography) เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทหนึ่ง ให้ความรู้เกี่ยวกับแหล่งข้อมูล รายชื่อหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ทั้งในรูปแบบของสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทที่บอกให้ทราบว่าจะค้นหาสารสนเทศได้จากแหล่งใด <p>ลักษณะของบรรณานุกรม ในหนึ่งรายการ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ เมืองที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้า ราคา หรืออาจมีคำอธิบายสาระสำคัญของหนังสือโดยย่อประกอบด้วย <p>ความสำคัญของบรรณานุกรม คือ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นคว้าหาสารสนเทศประกอบการศึกษา วิจัย ได้อย่างรวดเร็วและครบถ้วน เป็นเครื่องมือติดตามความเคลื่อนไหวของทรัพยากรสารสนเทศ และเป็นคู่มือในการจัดหาและช่วยในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม มีหลายประเภท เช่น บรรณานุกรมทั่วไป บรรณานุกรมแห่งชาติ บรรณานุกรมเฉพาะวิชา <p>บรรณานุกรมเฉพาะวิชา (Special bibliography) เป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ สิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง อาจมีบทคัดย่อประกอบ ตัวอย่างเช่น บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์ทางบรรณารักษศาสตร์และบทคัดย่อ <p>ในอีกความหมายหนึ่ง บรรณานุกรม หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ที่ผู้เขียนได้ใช้ประกอบในการเขียนผลงาน เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ เและเป็นการให้ความเคารพผลงานทางปัญญาที่ผู้อื่นได้แสดงไว้ รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านที่สนใจติดตามและศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Subject bibliography | บรรณานุกรมเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Subject dictionary | พจนานุกรมเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Subject encyclopedia | สารานุกรมเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Subject specialist | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | cybernatics | ไซเบอร์เนติกส์ วิชาการเกี่ยวกับระบบควบคุม, Example: เช่น ระบบประสาทของสิ่งมีชีวิต เพื่อนำไปใช้พัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือระบบกลไกที่ทำงานคล้ายคลึงกัน วิชานี้เปรียบเทียบความคล้ายคลึง และต่างกันระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต และยึดหลักการพื้นฐาน ทางด้านการสื่อสารและการควบคุมที่สามารอธิบายการทำงานของทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตได้ ชื่อของวิชานี้มาจากคำภาษากรีก หมายความว่า นำ หรือ ปกครอง [คอมพิวเตอร์] | Radiation entomology | กีฏวิทยารังสี, วิชากีฏวิทยาแขนงหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลของรังสีต่อแมลง ได้แก่ การใช้รังสีเพื่อกำจัดแมลงในผลผลิตการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อควบคุมประชากรแมลงโดยปล่อยแมลงที่เป็นหมันด้วยรังสีไปในธรรมชาติ และเพื่อปรับปรุงผลผลิตของแมลงที่มีประโยชน์ เช่น ปรับปรุงคุณภาพและผลผลิตไหม <br>(ดู radiation disinfestation, sterile insect technique, radiation induced F1-sterility ประกอบ) </br> [นิวเคลียร์] | Scholar | นักวิชาการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Agriculturis | นักวิชาการเกษตร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Fishery scientist | นักวิชาการประมง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | integration | บูรณาการ, การรวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, บูรณาการ มี ๒ ความหมาย <p>ความหมายที่ ๑ คือ ทำให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยรวมหรือผสมผสานส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เช่น การสอนภาษาแบบบูรณาการ หมายถึง การรวมทักษะการพูด ฟัง อ่าน เขียน ไว้ในวิชาเดียวกัน, หลักสูตรแบบบูรณาการสำหรับภิกษุสามเณร เป็นหลักสูตรที่รวมหลักสูตรธรรมศึกษา บาลีศึกษา และสามัญศึกษา ให้เป็นหลักสูตรเดียว <p>ความหมายที่ ๒ หมายถึงเชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหน่วยงานอื่น เช่น โรงเรียนหลายแห่งบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีรากฐานจากความเป็นไทยและนำไปสู่การ พัฒนาประเทศที่ยั่งยืน [การจัดการความรู้] | emeritus professor | ศาสตราจารย์กิตติคุณ, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ, ตำแหน่งที่แต่งตั้งจากอาจารย์ประจำ ผู้เคยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีความรู้ ความสามารถและความชำนาญเป็นพิเศษ และพ้นจากตำแหน่งไปโดยไม่มีความผิด สภามหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณในสาขาวิชาที่ศาสตราจารย์นั้นมีความเชี่ยวชาญเพื่อเป็นเกียรติยศได้ <p>ศาสตราจารย์ผู้นี้อาจสอนในมหาวิทยาลัยต่อไปก็ได้ แต่ไม่ใช่ศาสตราจารย์ที่ต่ออายุราชการ บางมหาวิทยาลัยจะปรากฏชื่อศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณแยก จากศาสตราจารย์ธรรมดาในคู่มือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา <p>การเรียกชื่อศาสตาราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณนั้นขึ้นอยู่กับ พระราชบัญญัติของแต่ละมหาวิทยาลัย เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกว่า ศาสตราจารย์กิตติคุณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรียกว่า ศาสตราจารย์เกียรติคุณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | clinical professor | ศาสตราจารย์คลินิก, ตำแหน่งทางวิชาการที่สภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งบุคลากรฝ่ายเวชกรรมที่มีความรู้ ความชำนาญในด้านการสอน การวิจัย การค้นคว้าทดลอง และวิธีบำบัดรักษาในภาคเวชปฏิบัติ ซึ่งมีคุณค่าทางวิชาการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Women in the professions | สตรีในวิชาชีพ [TU Subject Heading] | Academic freedom | เสรีภาพทางวิชาการ [TU Subject Heading] | Academic writing | การเขียนทางวิชาการ [TU Subject Heading] | Agriculturists | นักวิชาการเกษตร [TU Subject Heading] | Architectural practice | การประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม [TU Subject Heading] | Career in [ field ] | อาชีพทาง...[ ชื่อวิชาชีพ ] [TU Subject Heading] | Education, Non-military | การศึกษานอกวิชาทหาร [TU Subject Heading] | Family practice | การประกอบวิชาชีพเวชกรรม [TU Subject Heading] | Health occupations students | นักศึกษาวิชาชีพสุขภาพ [TU Subject Heading] | Horticulture | วิชาพืชสวน [TU Subject Heading] | Learned institutions and societies | บัณฑิตยสถานและสมาคมทางวิชาการ [TU Subject Heading] | Naval education | การศึกษาวิชาการทหารเรือ [TU Subject Heading] | Phaulkon, Constant, ca. 1648-1688 | วิชาเยนทร์, เจ้าพระยา, ประมาณ 2191-2231 [TU Subject Heading] | Physical therapy (Specialty) | กายภาพบำบัด (วิชาชีพ) [TU Subject Heading] | Practice of law | วิชาว่าความ [TU Subject Heading] | Professional associations | สมาคมวิชาชีพ [TU Subject Heading] | Professional education | การศึกษาทางวิชาชีพ [TU Subject Heading] | Professional employees | บุคลากรระดับวิชาชีพ [TU Subject Heading] | Professions | วิชาชีพ [TU Subject Heading] | Scholarly publishing | การจัดพิมพ์เอกสารวิชาการ [TU Subject Heading] | Scholars | นักวิชาการ [TU Subject Heading] | Scholars, Buddhist | นักวิชาการพุทธศาสนา [TU Subject Heading] | Tutors and tutoring | ผู้สอนพิเศษและการกวดวิชา [TU Subject Heading] | Anemometry | วิชาการวัดลม, Example: วิชาที่ว่าด้วยการศึกษาการวัดทิศทาง และความเร็วลมรวมทั้งการ วัดทิศทางในแนวยืน (vertical component) ด้วย [สิ่งแวดล้อม] | Soil Mineralogy | วิชาว่าด้วยแร่ของดิน [สิ่งแวดล้อม] | Soil Genesis | วิชาว่าด้วยกำเนิดของดิน [สิ่งแวดล้อม] | ASEAN Free Trade Area - Australia-New Zealand Closer Economic Relations Trade Agreement (ANZCERTA or CER) | ความร่วมมือระหว่างเขตการค้าเสรีอาเซียนและกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจและ การค้าออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ เป็นความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เพื่อส่งเสริมการค้า การลงทุน ความร่วมมือทางวิชาการ ด้านศุลกากร การขนส่ง การแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านมาตรฐานและการรับรองระหว่างกัน [การทูต] | Agreement on Economic and Technical Cooperation | ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ [การทูต] |
| I see you've been mentioned in Congress, Giuseppe. | ผมเห็นคุณได้รับการกล่าวถึง ในการประชุมวิชาการ, Giuseppe In the Name of the Father (1993) | It's organic. | วิชาเคมีคุณใช้ได้ไหม ? สารนี้นี้พบจากเนื้อเยื่อรอบๆ รอยนั้น Deep Throat (1993) | But I have yet to attain omnipresent super-galactic oneness. | แต่ผมยังไม่สำเร็จวิชา ถอดวิญญาณเลยนะ Ace Ventura: When Nature Calls (1995) | You've just attained it. | โยมสำเร็จวิชาแล้ว Ace Ventura: When Nature Calls (1995) | Quite a scholar, I see. | ค่อนข้างนักวิชาการที่ฉันเห็น Pinocchio (1940) | Well, sir, this speck in space is a scholastic sewer. | อนุภาคเล็ก ๆในอวกาศนี่ คือท่อระบายวิชาความรู้ The Little Prince (1974) | To be able to disarm my whisk with the Divine Finger Flick... besides the lord of Peach Blossom Island... there can be no one else! | มีเพียงท่านที่สามารถปลดแส้ข้าได้โดยใช้วิชาดรรชนีอันเยี่ยมยอด... ท่านประมุขเกาะดอกท้อ... ไม่มีทางเป็นใครอื่น! Return of the Condor Heroes (1983) | I don't know who taught you the Toad Skill and you're fighting with everyone else on the Island | ไม่รู้ว่าใครกันที่คิดว่าเจ้ามีวิชาคางคก แล้วเที่ยวสู้กับใครต่อใครบนเกาะไปทั่ว Return of the Condor Heroes (1983) | And only Ouyang Feng knows the Toad Skill. | และมีเพียงอาวเอี๊ยงฮงที่ใช้วิชาคางคก. Return of the Condor Heroes (1983) | Your Big Granpa hates Ouyang Feng's Toad Skill the most. | ท่านปู่เจ้าเกลียดวิชาคางคกของอาวเอี๊ยงฮงเป็นที่สุด. Return of the Condor Heroes (1983) | Quan Zhen Sect's martial arts is the leader of all martial arts in the world. | วิชาของสำนักช้วนจิน ก็เป็นอันดับหนึ่ง Return of the Condor Heroes (1983) | The highest skill of out sect, The Art of Jade Maiden... was taught to her, and not me. | วิชาขั้นสูงสุดของสำนักเรา คัมภีร์สาวหยก... สอนนาง แต่ไม่สอนข้า. Return of the Condor Heroes (1983) | Where in the hell did you learn to kiss ass like that? | คุณไปเรียนวิชาจูบตูดเจ้านายมาจากไหน.. Mannequin (1987) | You are using Bonetti's defense against me, huh? | เจ้าใช้วิชาป้องกันของโบเน็ตติ สู้กับข้าเนี่ยนะ? The Princess Bride (1987) | If we can put this into a theoretical framework, physics-- | ถ้าเราสามารถใส่มันเข้าไป ในโครงสร้างทางทฤษฎี, วิชาฟิสิกส์-- Akira (1988) | - What about golf? That's a sport. | เปล่า แต่ผมเคยเรียน วิชานี้มาเหมือนกันนะครับ Big (1988) | Get it, get it, get it, get it, get it! Attaboy! | ผมเคยเรียนวิชานี้มาเหมือนกัน Big (1988) | Fine. - Listen, you'll like this. - It works in my history class. | คุณต้องชอบเรื่องนี้ ใช้ได้ในวิชาประวัติศาสตร์ Punchline (1988) | This class teaches you how not to do a shudder-take when you know your patient is going to die. | วิชานี้จะสอนให้ไม่ตกใจ... ...เมื่อรู้ว่าคนไข้กำลังจะตาย Punchline (1988) | And for the History Department. | - เพื่อภาควิชาประวัติศาสตร์ Punchline (1988) | I love traveling, because when you travel you see a lot of history. I went to France. | ผมชอบเดินทาง เพราะวิชา ประวัติศาสตร์ ผมเคยไปฝรั่งเศส Punchline (1988) | Dr.Tyree's philosophy class is right down the hall. | ชั้นเรียนวิชาปรัชญาของ ดร.ไทรี อยู่สุดโถงด้านโน้น Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | You majoring in criminology, Sherlock? | นายเรียนเอกวิชา อาชญวิทยาเหรอ เชอร์ล็อค โฮห์ม The Young Indiana Jones Chronicles (1992) | Now the person to do so will not only be in my good graces... but also go on to fame and fortune... by having their accomplishment recorded and their name printed... in the auspicious M.I.T. Tech. | คนที่แก้ได้นอกจากจะได้ Aในวิชานี้แล้ว ยังจะโชคดีได้เป็นคนดัง เพราะ ผลงานเขาจะได้รับการบันทึก Good Will Hunting (1997) | Is it just my imagination, or has my class grown considerably? | มันอะไรกันนี่ทำไมวันนี้ มีคนอยากเข้าเรียนวิชาผมมากอย่างงี้ Good Will Hunting (1997) | Well, by no stretch of my imagination... do I believe you've all come here to hear me lecture. | ชั้นไม่อยากจะเชื่อเลยว่าวันนี้จะมีคน อยากเรียนวิชาของชั้นมากขนาดนี้ Good Will Hunting (1997) | I, uh, I remember that class. It was, um- It was just between recess and lunch. | เออใช่ ชั้นจำวิชานี้ได้ตอนนั้นเอ่อ รู้สึกจะเรียนอยู่ชั้นประถม Good Will Hunting (1997) | Professor Gerald Lambeau, Field's medal winner for combinatorial mathematics. | นักคณิตศาสตร์เหรียญทองและ นักวิชาการคณิตศาสตร์ หวัดดี Good Will Hunting (1997) | We will call this class... | เราจะเรียกสิ่งเหล่านี้ว่า วิชา... American History X (1998) | I've decided to analyze it, logically, with a scientific method. | ฉันตัดสินใจที่จะวิเคราะห์ อย่างเป็นระบบตามหลักวิชาการ The Red Violin (1998) | It entails that if you fail another class, you'll be asked to leave Rushmore. | แปลว่าถ้าเธอตกอีกวิชาเดียว เธอจะต้องออกจากรัชมอร์ Rushmore (1998) | I didn't have a major, but my thesis was on Latin American economic policy. | ฉันไม่มีวิชาเอก แต่ทำวิทยานิพนธ์ เรื่องนโยบายเศรษฐกิจลาตินอเมริกา Rushmore (1998) | Why don't you just piss off, Fischer, you dotty skid mark? | ภาษาลาตินจะถือเป็น วิชาบังคับของชั้นม.1 ถึงม.6 ไปให้พ้น ๆ เลยนะ ฟิชเชอร์ ไอ้ชอบแส่จุ้นจ้าน Rushmore (1998) | You talked about being a senator or a diplomat. | ไหนว่าอยากเป็นวุฒิสมาชิก หรือนักวิชาการ Rushmore (1998) | What's your first class? | วิชาแรกเธอเรียนอะไร? April Story (1998) | Something that would suit you. | วิชาที่เหมาะกับเธอนะ... Show Me Love (1998) | But since the Trib did a piece on the same subject only better, you´refired. | แต่เมื่อ ทริบ ทำบางส่วนนั้นขึ้นมา / ในวิชาเดียวกันได้ดีกว่า เธอจะต้องถูกเผา Never Been Kissed (1999) | Josie, in my classroom, tardiness is unacceptable. | โจซี่.. วิชานี้ห้ามมาสายเด็ดขาด Never Been Kissed (1999) | As you´ve probably noticed, this, uh, this certainly isn´t english. | อย่างที่เห็น นี่ไม่ใช่วิชาภาษาอังกฤษ Never Been Kissed (1999) | Um, we´ve combined a few classes today here for the seminar, and hopefully, the speaker will be here any minute now. | เรารวมวิชาต่างๆไว้ด้วยกันเพื่อจัดสัมนา และหวังว่าวิทยากรจะมาถึงเร็วๆนี้ Never Been Kissed (1999) | It was for some philosophy course I was taking... | มันเป็นวิชาศิลปะศาสตร์ ฉันต้องค้นคว้า แบบว่า ... The Story of Us (1999) | Our style was originally used for killing. | เดินทีวิชาการต่อสู้ของพวกเรามีไว้เพื่อสังหาร Street Fighter Alpha (1999) | Because of a recent series of misconducts | เพราะว่าเมื่อเร็ว ๆ นี้มีการประพฤติมิชอบในวิชาชีพ GTO (1999) | Coming from his hometown in Tochigi to the Capital with just his Boston bag received his degree from Tokyo university shaking off various professional temptations single-mindedly pushed forward to a teaching career everybody will speak good of me | มาจากบ้านเกิดของเขาในเมืองโตชิกิ ไปเมืองกลวงด้วกระเป๋าบอสตัน ได้รับปริญญาของเขาจากมหาวิทยาลัยโตเกียว สลัดความเย้ายวนวิชาชีพต่างๆ GTO (1999) | Man. My kid must've taped over this for history class. | ลูกฉันคงไปอัดทับตอนวิชาประวัติศาสตร์แน่เลย Death Has a Shadow (1999) | My wife was quite a martial arts expert. | ภรรยาฉัน เชี่ยวชาญวิชามวยจีนมาก Crouching Tiger, Hidden Dragon (2000) | Keep your lessons! | เก็บวิชาของคุณไว้เถอะ Crouching Tiger, Hidden Dragon (2000) | I will not pay to have a crackpot old fool teach him magic tricks. | ฉันจะไม่ยอมจ่ายให้พวกงี่เง่า สอนวิชาเล่นกล Harry Potter and the Sorcerer's Stone (2001) | Professor Quirrell will be your Defense Against the Dark Arts teacher. | นี่คือศจ.ควีเรลล์ อาจารย์วิชาป้องกันตัวจากศาสตร์มืด Harry Potter and the Sorcerer's Stone (2001) | Fearfully fascinating subject. | เป็นวิชาที่น่าทึ่งมากทีเดียวละ Harry Potter and the Sorcerer's Stone (2001) |
| จรรยาบรรณวิชาชีพ | [janyāban wichāchīp] (n, exp) EN: professional code of conduct | เจ้าหน้าที่ฝ่ายวิชาการ | [jaonāthī fāi wichākān] (n, exp) EN: technical service | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | [kān feuk prasopkān wichāchīp] (n, exp) EN: field expérience FR: expérience de terrain [ f ] | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพกฎหมาย | [kān feuk prasopkān wichāchīp kotmāi] (n, exp) EN: field experience in law | การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | [kān trīem feuk prasopkān wichāchīp] (n, exp) EN: preparation for professional experience | การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพกฎหมาย | [kān trīem feuk prasopkān wichāchīp kotmāi] (n, exp) EN: preparation for professional experience in law | การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางด้านวัฒนธรรม | [kān trīem feuk prasopkān wichāchīp thāng dān watthanatham] (n, exp) EN: preparation for professional experience in cultural studies | คณะวิชา | [khanawicha] (n) EN: department | เกี่ยวกับวิชาการ | [kīokap wichākān] (adj) EN: academic FR: académique | กวดวิชา | [kūatwichā] (v) EN: tutor ; coach ; cram for an examination ; tutor | หลักวิชาชีพนักกฎหมาย | [lak wichāchīp nakkotmāi] (n, exp) EN: principles of legal profession | นักวิชาการ | [nakwichākān] (n) EN: academician ; scholar ; academic | นักวิชาการ | [nakwichākān] (n) EN: technocrat ; specialist FR: spécialiste [ m ] | นักวิชาการชาวต่างชาติ | [nakwichākān chāo tāngchāt] (n, exp) EN: foreign academic | นักวิชาการด้าน... | [nakwichākān dān …] (n, exp) FR: spécialiste en … [ m ] | นักวิชาการด้านกฎหมาย | [nakwichākān dān kotmāi] (n, exp) EN: jurist | หนังสือวิชาการ | [nangseū wichākān] (n, exp) EN: technical book FR: livre technique [ m ] | ภาควิชา | [phākwichā] (n) EN: department (of a university or a faculty) FR: département universitaire [ m ] ; département d'une faculté [ m ] | ภาควิชาภาษาศาสตร์ | [phākwichā phāsāsāt] (n, exp) EN: department of linguistics | ภาษาวิชาการ | [phāsā wichākān] (n, exp) EN: technical language ; specialized language | เพิ่มพูนวิชาความรู้ | [phoēmphūn wichā khwāmrū] (v, exp) EN: increase one's knowledge FR: accroître ses connaissances ; parfaire son savoir | ประกาศนียบัตรวิชาชีพ | [prakātsanīyabat wichāchīp] (n, exp) EN: vocational certificate | ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง | [prakātsanīyabat wichāchīp chan sūng] (n, exp) EN: high vocational Certificate | โรงเรียนกวดวิชา | [rōngrīen kūatwichā] (n, exp) EN: tutorial school | โรงเรียนวิชาการ | [rōngrīen wichākān] (n, exp) EN: technical school ; vocational school FR: école technique [ f ] ; école professionnelle [ f ] | โรงเรียนวิชาการโรงแรม | [rōngrīen wichākān rōng raēm] (n, exp) EN: hotel management school FR: école hôtelière [ f ] ; école profesionnelle d'hötellerie [ f ] | สาขาวิชา | [sākhāwichā] (n) EN: field ; discipline ; area FR: domaine [ m ] ; discipline [ f ] | เสรีภาพทางวิชาการ | [sērīphāp thang wichākān] (n, exp) EN: academic freedom ; academic independence | ตลาดวิชา | [talāt wichā] (n, exp) EN: knowledge market ; education market ; marketplace for education | ถ่ายทอดวิชา | [thāithøt wichā] (x) EN: pass on knowledge ; teach FR: transmettre le savoir | ทางวิชาการ | [thāng wichākān] (adj) EN: academic | ทาสวิชา | [thātsawichā] (x) EN: degraded knowledge | วิชา | [wichā] (n) EN: knowledge ; learning ; scholarship ; erudition ; science FR: connaissance [ f ] ; savoir [ m ] ; science [ f ] ; érudition [ f ] ; bagage [ m ] | วิชา | [wichā] (n) EN: subject ; branch of study ; course ; branch of knowledge ; science ; technology ; know-how FR: sujet [ m ] ; matière [ f ] ; thèse [ f ] ; discipline [ f ] ; branche [ f ] ; domaine [ m ] | วิชาอาคม | [wichā ākhom] (n, exp) EN: magic | วิชาบัญชี | [wichā banchī] (n, exp) EN: accountancy | วิชาบังคับ | [wichā bangkhap] (n, exp) EN: required subject | วิชาช่าง | [wichā chang] (n, exp) EN: engineering | วิชาเฉพาะเลือก | [wichā chaphǿ leūak] (n) EN: elective | วิชาชีพ | [wichāchīp] (n) EN: profession ; vocation ; occupation ; career FR: profession [ f ] ; occupation [ f ] | วิชาชีพ | [wichāchīp] (adj) EN: vocational ; professional FR: professionnel | วิชาชีวเคมี | [wichā chīwakhēmī] (n, exp) EN: biochemistry FR: biochimie [ f ] | วิชาดาว | [wichā dāo] (n, exp) EN: astrology FR: astrologie [ f ] | วิชาดาราศาสตร์ | [wichā dārāsāt] (n, exp) EN: astronomy FR: astronomie [ f ] | วิชาเอก | [wichā ēk] (n, exp) EN: major subject | วิชาฟิสิกล์ | [wichā fisik] (n, exp) EN: physics FR: physique [ f ] ; sciences physiques [ fpl ] | วิชาการ | [wichākān] (n) EN: technique ; technology ; expertise ; academic matter ; technical matter FR: technique [ f ] ; technologie [ f ] | วิชาการ | [wichākān] (adj) EN: technical FR: technique | วิชาการบัญชี | [wichākānbanchī] (n) EN: accounting FR: comptabilité [ f ] | วิชาการด้านสารสนเทศ | [wichākān dān sārasonthēt] (n, exp) EN: information science FR: technologie de l'information [ f ] |
| keep one's fingers crossed | (phrase) เป็นสำนวน แปลว่า ให้กำลังใจ เช่น He will take the final examination tomorrow. I will keep my fingers crossed for him. พรุ่งนี้เขามีสอบวิชาสุดท้าย ฉันจะเป็นกำลังใจให้เขาค่ะ | nerdy | (adj, slang) (คน) ที่ฉลาดแต่เรื่องเรียนหรือทางวิชาการ แต่มักไม่ค่อยเก่งในการเข้าสังคม, See also: nerd, geek | geeky | (adj) ที่เชี่ยวชาญเรื่องเทคโนโลยี หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์, บ้าเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์, บ้าวิชาการ, ที่หมกมุ่นกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งมาก | Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
| abstract | (adj) ทางทฤษฎี, See also: ทางหลักวิชา, ทางหลักการ, ทางวิชาการ, Syn. theoretical | academic | (adj) ซึ่งมีลักษณะเป็นนักวิชาการ, See also: ซึ่งคงแก่เรียน, Syn. schoraly, scholastic | academic | (adj) ด้านวิชาการ, See also: ทางวิชาการ | academic | (adv) ด้านวิชาการ | acoustics | (n) วิชาว่าด้วยเสียง | aeromedicine | (n) วิชาแพทย์ทางอากาศ, See also: การแพทย์ที่เกี่ยวกับโรคหรือความผิดปกติซึ่งเกิดจากการเดินทางในชั้นบรรยากาศของโลก | anesthesiology | (n) วิชาเกี่ยวกับการวางยาสลบหรือยาชา | bookkeeping | (n) วิชาการทำบัญชี, Syn. accounts, double entry | botany | (n) พฤกษศาสตร์, See also: วิชาว่าด้วยต้นไม้, Syn. phytogeography | chemistry | (n) วิชาเคมี, Syn. chemical science | civics | (n) วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสิทธิหน้าที่ของพลเมือง | college | (n) วิทยาลัย, See also: โรงเรียนเฉพาะสาขาวิชา, Syn. institute, campus | course | (n) หลักสูตร, See also: วิชา, กระบวนวิชา, Syn. course of study, program | cram for | (phrv) รีบอัดเข้าไป (เรียนหรือท่องจำเพื่อสอบ), See also: รีบท่องหนังสือ, เร่งกวดวิชา, รีบยัดเข้าไป เรียนหรือท่องจำเพื่อสอบ, Syn. swot for | dan | (n) ระดับของทักษะในวิชาศิลปะป้องกันตัว, Syn. dan grade | dietetics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการกำหนดปริมาณและชนิดของอาหารเพื่อสุขภาพ, See also: วิชากำหนดอาหารเพื่อสุขภาพ, โภชนวิทยา, โภชนบำบัด, Syn. sitology | dynamics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับพลังงานและการเคลื่อนที่, See also: วิชากลศาสตร์ | economics | (n) วิชาเศรษฐศาสตร์ | educator | (n) นักการศึกษา, See also: นักวิชาการศึกษา, Syn. instructor, pedagogue | egghead | (n) ผู้มีปัญญา (คำไม่เป็นทางการ), See also: คนฉลาดมากและสนใจแต่เรื่องวิชาการ, Syn. intellectual, sage | Egyptology | (n) วิชาเกี่ยวกับวัฒนธรรมและวัตถุโบราณของอียิปต์ | elective | (n) วิชาเลือก, See also: สาขาวิชาที่เปิดให้เลือก | electronics | (n) วิชาอิเล็กทรอนิกส์ | electrostatic | (adj) เกี่ยวกับวิชาไฟฟ้าสถิต | electrostatics | (n) วิชาไฟฟ้าสถิต | embryology | (n) วิชาว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิตและพัฒนาการ | encyclopedia | (n) สารานุกรม, See also: หนังสือที่รวมความรู้หลายสาขาวิชา | endocrinology | (n) วิชาแพทย์สาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ | entomology | (n) สาขาวิชาหนึ่งทางสัตววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับแมลง, See also: กีฏวิทยา | esthetics | (n) สุนทรียศาสตร์สาขาหนึ่งของวิชาปรัชญาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสวยความงาม, Syn. aestheticism, aesthetics | etymology | (n) นิรุกติศาสตร์, See also: วิชาที่ว่าด้วยกำเนิดและการพัฒนาของคำ | forestry | (n) การทำป่าไม้, See also: วิชาการป่าไม้ | fricative | (n) พยัญชนะที่มีเสียงเสียดแทรกจากฐานกรณ์ (ในวิชาภาษาศาสตร์), Syn. spirant | go into | (phrv) เข้าร่วม (กลุ่ม), See also: เริ่มเข้าสู่ ธุรกิจ, วิชาชีพ, Syn. be in | geophysical | (adj) เกี่ยวกับวิชาธรณีฟิสิกส์ | geophysics | (n) ธรณีฟิสิกส์, See also: ภูมิศาสตร์กายภาพ, วิชาฟิสิกส์ที่ว่าด้วยพื้นดินและโลก | gunnery | (n) วิชาปืนใหญ่, See also: วิชาว่าด้วยการสร้างและใช้ปืน, การยิงปืนใหญ่, Syn. bettery, artillery | honorarium | (n) ค่าธรรมเนียมการบริการทางวิชาชีพ | honorarium | (n) ค่าธรรมเนียมการบริการทางวิชาชีพ | hydrodynamics | (n) วิชาที่เกี่ยวกับแรงของการเคลื่อนไหวของของเหลว | hygrometry | (n) สาขาวิชาที่เกี่ยวกับการวัดความชื้นของอากาศ | interdisciplinary | (adj) ซึ่งรวมกันสองสาขาวิชาขึ้นไป, See also: แบบสหวิทยาการ | journalism | (n) วารสารศาสตร์, See also: การสื่อสารมวลชน, วิชาว่าด้วยการทำหนังสือพิมพ์และวารสาร | jurisprudence | (n) ศาสตร์เกี่ยวกับกฎหมาย, See also: นิติศาสตร์, หลักวิชากฎหมาย | juristic | (adj) เกี่ยวกับนักกฎหมายหรือหลักวิชากฎหมาย, Syn. juridical | law | (n) วิชากฎหมาย, See also: นิติศาสตร์ | liberal arts | (n) ศิลปศาสตร์, See also: การศึกษาที่เน้นทางพื้นฐานทางวัฒนธรรม เช่น สาขาวิชาวรรณคดี ปรัชญา ภาษา ประวัติศาสตร์ เป็ | math | (n) คณิตศาสตร์ (คำเรียกย่อของวิชาคณิตศาสตร์), See also: เลข, Syn. mathematics | mathematics | (n) คณิตศาสตร์, See also: เลข, เลขคณิต, วิชาคำนวณ, Syn. math | maths | (n) วิชาคณิตศาสตร์ |
| accounting | (อะเคา' ทิง) n. ทฤษฎีระบบการทำบัญชี, วิชาการทำบัญชี | acoustics | (อะคู' สทิคซฺ) n. วิชาที่ว่าด้วยเสียง, โสตศาสตร์, ประสิทธิภาพของห้องที่มีต่อเสียง | aeromedicine | (แอโรมิแมค' ดิซิน) n. วิชาแพทย์ทางอากาศ. -aeromedical adj. | analytical geometry | วิชาเรขาคณิตที่นำเอาวิธีการทางพีชคณิตมาใช้ ว่าด้วยการจำแนกจุด เส้นและเนื้อที่ (a branch of mathematics) | anesthesiology | (แอนเนสธีซิออล' โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับการวางยาสลบหรือยาชา, วิสัญญีวิทยา, Syn. anaesthesiology | angiology | (แอลขิออล' โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับหลอดโลหิตและหลอดน้ำเหลือง | animal husbandry | การเลี้ยงสัตว์, วิชาเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์, สัตวบาล. -animal husbandman n. | anthropologist | (แอนโธรพอล' โลจิสทฺ) n. มนุษย์วิทยา, ผู้เชี่ยวชาญวิชามนุษย์วิทยา | architectonics | (อาร์คิเทคทอน'นิคซฺ) n. สถาปัตยกรรม, วิชาการก่อสร้าง | architecture | (อาร์คิเทค'เชอะ) n. สถาปัตยกรรม, วิชาการก่อสร้าง, รูปแบบการก่อสร้าง, สิ่งปลูก สร้าง, ผลงานทางสถาปัตยกรรม, โครงสร้าง. | area | (แอ'เรีย) n. พื้นที่, เนื้อที่, อาณาบริเวณ, เขต, สาขาวิชา, Syn. section, space, field, zone | art 2 | (อาร์ทฺ) n. ศิลป, ฝีมือ, อุบาย, เล่ห์กระเท่ห์, เล่ห์เหลี่ยม, ความสามารถ, หลักการหรือวิธีการของการเรียนรู้, ความเชี่ยวชาญในกิจกรรมของมนุษย์, สาขาวิชาที่เกี่ยวกับศิลปศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, Syn. skill, craft, Ant. artlessness, guilelessness | artillery | (อาร์ทิล'เลอรี) n. ปืนใหญ่กองทหารปืนใหญ่, วิชาเกี่ยวกับการใช้ปืนใหญ่ | astrogeology | (แอสโทรจีออล'โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับส่วนประกอบของดาวนพเคราะห์ ดวงดาวและวัตถุอื่นในอวกาศ (astro-geology) | audit | (ออ'ดิท) n. การตรวจสอบบัญชี, บัญชี, การไตร่สวนคดี. -vt. ตรวจสอบบัญชี, เข้าฟัง (วิชาที่ไม่เอาคะแนน), Syn. examine, check | auditor | (ออ'ดิเทอะ) n. ผู้ตรวจสอบบัญชี, ผู้ฟัง, นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชาที่ไม่เอาคะแนน | auxology | (ออคซอล'โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต | aviation | (เอวิเอ' เชิน) n. วิธีการบิน, วิชาการบิน, การออกแบบ พัฒนาและสร้างเครื่องบิน (flying) | bookkeeping | n. วิชาการทำบัญชี, การทำบัญชี | branch | (เบรานชฺ) { branched, branching, branches } n. กิ่งก้าน, กิ่ง, สาขา, แขนง, วิชาย่อย, ทางแยก, สายย่อย, แคว vt. แตกกิ่งก้านสาขา, , Syn. bough แยกแตกกิ่ง1. หมายถึง การแยกตัวออกไปจากโปรแกรมที่ทำอยู่ ไปทำโปรแกรมอีกอันหนึ่ง เช่น แยกออกจากโปรแกรมหลัก main program ไปทำงานที่โปรแกรมย่อย subprogram ตามคำสั่ง Go to2. ความหมายที่ใช้กับ "ต้นไม้" tree มีความหมายถึงการแตกกิ่งก้านสาขา เช่นในการแสดงแฟ้มข้อมูลในโปรแกรม Windows Explorer ของ Windows 95 | cant | (แคนทฺ) n. ข้อความเท็จ, คำพูดเท็จ, คำพูดปากหวานก้นเปรี้ยว, ถ้อยคำพิเศษที่ใช้เฉพาะในหมู่ชนหนึ่ง ๆ , ภาษาวิชาชีพ, การพูดเป็นเพลง, ความเอียง vi. พูดแบบปากหวานแต่ก้นเปรี้ยว, พูดเป็นเพลง, Syn. hypocrisy | capable | (เค'พะเบิล) adj. ซึ่งสามารถ, มีฝีมือ, มีสติปัญญา, มีวิชา., See also: capabililty n. ดู capable, Syn. able | cartography | n. การสร้างแผนที่, วิชาการทำแผนที่หรือแผนภาพ., See also: cartographer n. ดูcartography cartographic adj. ดูcartography cartographical adj. ดูcartography, Syn. chartography | chemical | (เคม'มิเคิล) n. สารเคมี'-adj. เกี่ยวกับวิชาเคมีหรือสารเคมี | chemistry | (เคม'มิสทรี) n. วิชาเคมี | chiromancy | n. วิชาดูเส้นลายมือการดูดวงจากเส้นลายมือ | chronology | (คระนอล'ละจี) n. วิชาลำดับวันเดือนปี | civics | (ซิฟ'วิคซฺ) n. วิชาหน้าที่พลเมือง | coeffecient | n. เลขคูณ, ค่าคงที่หรือค่าสัมประสิทธิ์ (ในวิชาฟิสิกส์) adj. ร่วม | computer appreciation | คอมพิวเตอร์วิจักขณ์หมายถึง การเรียนรู้วิชาทางคอมพิวเตอร์เพียงพอที่จะรู้เรื่องราว ความเป็นมา องค์ประกอบ การใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวิธีที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ พอ สมควร มีความหมายเหมือน computer education | computer education | คอมพิวเตอร์ศึกษาหมายถึง การเรียนรู้วิชาทางคอมพิวเตอร์เพียงพอที่จะรู้เรื่องราว ความเป็นมา องค์ประกอบ การใช้ งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวิธีที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ พอ สมควร มีความหมายเหมือน computer appreciation | computer engineering | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาหนึ่งในการศึกษาวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ โดยจะเน้นหนักในเรื่องของฮาร์ดแวร์ (hard ware) หรือส่วนตัวเครื่อง และระบบการทำงานภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น แผ่นวงจร (card) หน่วยประมวลผล หน่วยบันทึก ฯดู computer science เปรียบเทียบ | computer science | วิทยาการคอมพิวเตอร์สาขาวิชาทางคอมพิวเตอร์สาขาหนึ่ง ที่ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ และการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาใช้งาน หรือสั่งให้ทำงานให้ตามความประสงค์ เป็นต้นว่า กระบวนการต่าง ๆ ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ (information) ฯ อนึ่ง ศัพท์นี้ในภาษาไทยมีใช้กันอยู่หลายคำ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ วิทยาการคอมพิวเตอร์ | concentration | (คอนเซินเทร'เชิน) n. ความเข้มข้น, ระดับความเข้มข้น, ความตั้งอกตั้งใจ, ภาวะที่เข้มข้น, สิ่งที่เข้มข้น, การรวมพล, ความใส่ใจในสาขาวิชาหนึ่ง, Syn. convergence, mass, Ant. scattering | conchology | (คองคอล'โลจี) n. วิชาว่าด้วยสัตว์ประเภทหอย | constitutional law | n. วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ | conversazione | (คอนเวอซาซิออ'นี่) n. การชุมนุมเพื่อสนทนาแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น (โดยเฉพาะเกี่ยวกับเรื่องวิชาการหรือศิลปะวรรณกรรม) | cosmology | (คอซมอล'ละจี) n. จักรวาลวิทยา, สาขาวิชาดาราศาสตร์ที่เกี่ยวกับโครงสร้างและการกำเนิดของจักรวาล, See also: cosmologic adj. ดูcosmology cosmological adj. ดูcosmology cosmologist n. ดูcosmology | course | (คอร์ส) { coursed, coursing, courses } n. เส้นทาง, วิถีทาง, แนวทางเดิน, แนวทางปฏิบัติ, แนวความคิด, ลำน้ำ, สาย, หลักสูตร, กระบวนวิชา, ช่วงระยะเวลาการรักษา, จานหนึ่ง (อาหาร) , ชุดหนึ่ง (ยา, การบรรยาย) , ระดู, การไล่ล่า (โดยสุนัขล่าเนื้อ) vt. วิ่งผ่าน, วิ่งข้าม, ไล่, ไล่ตาม, ไล่ล่า, ก่ | craft | (คราฟทฺ) { crafted, crafting, crafts } n. ความเชี่ยวชาญ, ความชำนาญ, ฝีมือทางช่าง, การช่าง, อาชีพ, เล่ห์เหลี่ยม, สมาคมวิชาชีพ, เรือ, ยาน, ยานอวกาศ. vt. ประดิษฐ์ด้วยฝีมือ, Syn. art, skill, ability | credit | (เครด'ดิท) { credited, crediting, credits } n. ความน่าไว้วางใจ, ความเชื่อถือ, ชื่อเสียง, เกียรติยศ, เกียรติภูมิ, ฐานะ, หลักฐาน, สินเชื่อ, การเชื่อของ, เงินสินเชื่อ, เงินคงเหลือในธนาคาร, บัญชีรายรับ, หน่วยกิตวิชา, หนังสือรับรองสินเชื่อ vt. เชื่อถือ, ไว้วางใจ, เลื่อมใส, นำชื่อ | cryptography | วิทยาการเข้ารหัสลับหมายถึง วิชาที่ว่าด้วยการกำหนดรหัสให้แก่ข้อความต่าง ๆ ที่คนภายนอกจะไม่สามารถเข้าใจ ผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้นที่จะสามารถถอดรหัสและเข้าใจความหมายได้ | didactic | adj. เกี่ยวกับการสั่งสอน, ชอบสอน, See also: didactics ศิลปะหรือวิชาการสอน didacticism n. ดูdidactic | didactical | adj. เกี่ยวกับการสั่งสอน, ชอบสอน, See also: didactics ศิลปะหรือวิชาการสอน didacticism n. ดูdidactic | dietetics | (ไดอิเทท'ทิคซฺ) n. โภชนาการ, วิชาว่าด้วยการควบคุมอาหารการกินและการเตรียมอาหารพิเศษ, See also: dietetic adj. ดูdietetics dietical adj. ดูdietetics | differential | (ดิฟฟะเรน'เชิน) adj., n. เกี่ยวกับความแตกต่างกัน, เกี่ยวกับหรือประกอบด้วยอนุพันธ์ (derivative-วิชาคณิตศาสตร์) | dioptric | adj. เกี่ยวกับวิชาว่าด้วยการหักเหของแสง | discipline | (ดิส'ซะพลิน) n. วินัย, ระเบียบวินัย, การฝึกฝน, การลงโทษ, สาขาวิชา, ศิลปปฎิบัติ, วินัยทางศาสนา vt. ฝึกฝน, ทำให้มีวินัย, ลงโทษ, แก้ไข., See also: discipliner n., Syn. order | drop-out | n. นักเรียนที่ถอนการเรียนวิชาใดวิชาหนึ่ง, ผู้ที่เลิกเรียนเมื่อครบอายุ, การถอนออกกลางคัน, ผู้ที่ออกจากโรงเรียนกลางคัน, Syn. quitter | dropout | n. นักเรียนที่ถอนการเรียนวิชาใดวิชาหนึ่ง, ผู้ที่เลิกเรียนเมื่อครบอายุ, การถอนออกกลางคัน, ผู้ที่ออกจากโรงเรียนกลางคัน, Syn. quitter |
| academic | (adj) เชิงวิชาการ, เกี่ยวกับโรงเรียน, เกี่ยวกับสถาบันการศึกษา | academician | (n) นักวิชาการ | acoustics | (n) เสียงสะท้อน, การได้ยิน, วิชาเสียง | aeronautics | (n) วิชาการบิน | area | (n) พื้นที่, เขต, เนื้อที่, บริเวณ, สาขาวิชา | aviation | (n) การบิน, วิชาการบิน, วิธีการบิน | branch | (n) กิ่งไม้, สาขา, แขนง, แถว, ปลีกย่อย, แผนก, ทางแยก, วิชาย่อย | chemistry | (n) วิชาเคมี | civics | (n) วิชาหน้าที่พลเมือง | course | (n) เส้นทางเดินเรือ, ทางเดิน, หลักสูตร, กระบวนวิชา, อาหารมื้อหนึ่ง | cram | (vi) กวดวิชา | electricity | (n) ไฟฟ้า, กระแสไฟฟ้า, ประจุไฟฟ้า, วิชาไฟฟ้า | elocution | (n) ศิลปะในการพูด, วิชาการพูด, การอ่านออกเสียง | entomology | (n) กีฏวิทยา, วิชาว่าด้วยแมลง | erudite | (adj) คงแก่เรียน, ขยันเรียน, ซึ่งมีวิชาความรู้สูง | etymology | (n) นิรุกติศาสตร์, วิชาว่าด้วยประวัติที่มาของคำ | eugenics | (n) สุพันธุศาสตร์, วิชาว่าด้วยการส่งเสริมมนุษยชาติให้ดีขึ้น | forestry | (n) วนศาสตร์, วิชาการป่าไม้ | gymnastics | (n) พลศึกษา, กายกรรม, วิชายิมนาสติก, การบริหารร่างกาย, วิชายืดหยุ่น | handcraft | (n) การช่าง, การฝีมือ, วิชาช่าง, งานช่าง, งานฝีมือ, งานหัตถกรรม | handicraft | (n) การช่าง, การฝีมือ, วิชาช่าง, งานช่าง, งานฝีมือ, งานหัตถกรรม | major | (n) พันตรี, วิชาเอก, คนส่วนมาก, ผู้บรรลุนิติภาวะ | minor | (n) เด็ก, เยาวชน, ผู้เยาว์, วิชารอง | pedagogy | (n) การสอน, หน้าที่ครู, วิชาครู | phonics | (n) วิชาว่าด้วยเสียงพูด | physic | (n) วิชาแพทย์, แพทย์ศาสตร์, ยาถ่าย, ยาระบาย, ยา, เวชภัณฑ์ | physics | (n) วิชาฟิสิกส์ | politics | (n) การเมือง, รัฐศาสตร์, รัฐประศาสโนบาย, วิชาการปกครอง | polytechnic | (adj) เกี่ยวกับวิชาหลายประเภท, เกี่ยวกับการสอนหลายภาษา | profession | (n) อาชีพ, วิชาชีพ, การปฏิญาณตัว, การแสดงตัว, การยอมรับ | professional | (adj) ในวิชาชีพ, เป็นอาชีพ, เชี่ยวชาญ | psychiatry | (n) วิชาโรคจิต, จิตเวชศาสตร์ | scholar | (n) นักเรียน, นักศึกษา, ผู้ได้รับทุน, นักวิชาการ | scholarly | (adj) คงแก่เรียน, เป็นนักศึกษา, เป็นนักวิชาการ | soldiery | (n) กองทหาร, วิชาการทหาร, เหล่าทหาร | subject | (n) เรื่อง, คนในบังคับ, ประธาน, วิชา, หัวข้อ | syllabus | (n) ประมวลวิชา, หัวข้อย่อๆ, หลักสูตร, สาระสำคัญ, บทสรุป | technicality | (n) หลักวิชา, ลักษณะเฉพาะวิชา, ลักษณะเทคนิค | technique | (n) ศิลปะ, วิธีการ, หลักวิชา, เทคนิค, ฝีมือ | technology | (n) วิชาเทคนิค, เทคโนโลยี, วิชาช่าง, วิชาการ | theology | (n) ศาสนศาสตร์, วิชาเปรียญ, เทววิทยา | theoretic | (adj) ตามทฤษฎี, ตามเหตุผล, ตามหลักวิชา | theoretical | (adj) ตามทฤษฎี, ตามเหตุผล, ตามหลักวิชา | tutor | (vt) ฝึก, รับจ้างกวดวิชา, สอนพิเศษ, ติวให้ | tutorial | (adj) เกี่ยวกับการสอน, เกี่ยวกับการกวดวิชา | woodcraft | (n) ความรู้ในการเดินป่า, วิชาแกะสลักไม้, วิชาช่างไม้ |
| *optometrist* | (n, name) นักทัศนมาตร (ผู้ประกอบวิชาชีพโดยอาศัยความรู้ทางทัศนมาตรศาสตร์ โดยต้องจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาทัศนมาตรศาสตร์ และมีใบประกอบโรคศิลปะ จากทางกรมสนับสนุนสุขภาพ แห่งประเทศไทย) | chromatograph | (n) กรรมวิธีในการวิเคราะห์ทางวิชาเคมี : เทคนิคสำหรับการแยกส่วนประกอบในสารผสม | Discipline | [ดิสซะพลิน] (n) วิชา, สาขา, วงการ | ecohydrology | [UK [ ˌɛkəʊhaɪˈdrɒlədʒi ], US [ ˌɛkoʊhaɪˈdrɑːlədʒi ]] (n, uniq) น. นิเวศนุกวิทยา - วิชาที่ว่าด้วยระบบน้ำที่มีอยู่ในโลกและระบบนิเวศ (eco + hydrology: นิเวศ + อุทกวิทยา) | Experience compared individual subject | รายวิชาที่เทียบประสบการณ์ | home economics | (n) วิชาการเรือน | inclined | (n) คนที่มีพรสวรรค์หรือมีความสนใจในวิชาหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ | knowledge management | (n) เป็นวิชาที่ว่าด้วยการจัดการความรู้ มีตัวอักษรย่อ (KM) คือ การจัดการความรู้ในองค์กรไม่ให้หายไป (สมองไหล) - เมื่อมีสมาชิกในองค์กรคนหนึ่งคนใดหายไปเพื่อไม่ให้ความรู้หายไปด้วย | Life Saver | [ชีพรักษิก (ชีบ-พะ-รัก-สิก)] (n) น. คือ ผู้ที่เรียนรู้วิชาการช่วยชีวิต และการช่วยเหลือบุคคลที่ประสพภัย ทางน้ำ โดยมิได้รับค่าตอบแทน หรือยึดเป็นอาชีพ life - ชีวิต หรือ ชีพ saver - ผู้รักษา หรือ ผู้ช่วยเหลือ | Life Saving | [ชีพรักษ์ (ชีบ-พะ-รัก)] (n, name, org) น. วิชาการที่เกี่ยวกับการป้องกัน และช่วยชีวิตบุคคลที่ตกน้ำ หรือผู้ที่ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ life - ชีวิต หรือ ชีพ saving - การรักษา หรือ การช่วยเหลือ | lifeguard | [คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน] (n) lifeguard [ 1 ] - (N) - ชีพบาล คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน คำหมาย :: ผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ อ้างอิง :: life = ชีวิต, ชีพ guard = ยาม, ผู้ดูแล ในที่นี้ ขอใช้คำว่า บาล ซึ่งหมายถึงผู้ดูแล เช่น รัฐบาล, คชบาล, โคบาล, ทวารบาล, พยาบาล, อภิบาล, อนุบาล lifeguard [ 2 ] - (N) – ทหารรักษาพระองค์ (ทหารมหาดเล็ก) ในกองทัพ สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ), See also: Lifesaving, Lifesaver | lifesaver | [ชีพ-พะ-รัก-สิก] (n) ชีพรักษิก = ผู้ที่มีความรู้ในเรื่องการช่วยชีวิตทางน้ำ การปฐมพยาบาล การนวดหัวใจผายปอด แต่มิได้เป็นที่ประกอบวิชาชีพ ชีพบาล โดยตรง | lifesaver | [ชีบ-พะ-รัก-สิก] lifesaver [ 1 ] - (N) - ชีพรักษิก คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก-สิก คำขยาย :: อิก (สระ อิ + ก ไก่) หมายถึง คน หรือ ผู้(ที่เป็น) เช่น สถาปนิก สมาชิก ศาสนิก ปาราชิก ความหมาย :: อาสาสมัครที่ได้เรียนรู้ และได้รับการฝึกอบรมทักษะการว่ายน้ำ การปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ เบื้องต้น แต่ไมได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ โดยตรง, See also: Lifesaving, Lifeguard | lifesaving | [ชีบ-พะ-รัก] (n) Lifesaving [ 1 ] – ชีพรักษ์ คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก ความหมาย :: วิชาชีพเกี่ยวกับการดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ที่มีการการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่าน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ | oceanography | [โอ-เชีย-นอ-กราฟ-ฟี] (n) “สมุทรศาสตร์” เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์โลก (Earth science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทรในหัวข้อต่างๆ ที่รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร, ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดล้อม, กระแสคลื่นในมหาสมุทร, พฤติกรรมของคลื่น, แผ่นเปลือกโลกที่ก้นมหาสมุทร, ธรณีวิทยาของก้นมหาสมุทร, และความผันผวนของสารเคมีและลักษณะทางฟิสิคส์ของทั้งมหาสมุทรและบริเวณรอบข้าง (ข้อมูลจาก wikipedia.org) | polymath | [โพลีแม็ธ] (n) คือผู้ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ในการใช้อย่างเป็นทางการเท่าใดนักจะหมายถึงผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญสูง นักวิทยาศาสตร์สมัยโบราณมักจะเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” โดยมาตรฐานที่ใช้กันในปัจจุบัน ผู้รู้รอบด้านมีความหมายต่างจากคำว่าอัจฉริยบุคคล (ข้อมูลแปลจาก wikipedia.org) | professional allowance | เงินวิชาชีพ | reserved officers' training corps | ร.ด., รักษาดินแดน, นักศึกษาวิชาทหาร | rheology | (n) วิชาที่เกี่ยวกับของไหล[ วิทยาศาสตร์ ] ของกึ่งเหลวกึ่งแข็งหรือหนืดๆ | unaccompany | [อันอะคัม\'พะนีด์] (adj) ตามลำพัง, ไม่มีเพื่อน, (ดนตรีบรรเลง)เดี่ยว ที่มา: ฝ่ายวิชาการภาษาอังกฤษ บ.ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด(มหาชน), See also: lonely, alone |
| リハーサル | [りはーさる, riha-saru] (n) การฝึกซ้อม (โดยจะใช้เฉพาะอย่างยิ่งกับ การฝึกซ้อมการบรรยายสำหรับเตรียมการประชุมวิชาการ), See also: S. practice, rehearsal | 学者 | [がくしゃ, gakusha] (n) นักวิชาการ | 学部 | [がくぶ, gakubu] (n) คณะวิชา (ในมหาวิทยาลัย) | 専門 | [せんもん, senmon] (n) วิชาเฉพาะทาง |
| 工学科 | [こうがくか, kougakuka] (n) ภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ | 統計学 | [とうけいがく, toukeigaku] (n) วิชาสถิติ | 忍術 | [にんじゅつ, ninjutsu] (n) วิชานินจา | 補数 | [ほすう, hosuu] ภาษาไทยมักใช้ทับศัพท์ว่า Complement เป็นศัพท์เฉพาะทางในสายวิชาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ One Complement 1の補数, Two Complement 2の補数 One Complement คือ จำนวนที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้ได้เป็นค่าสูงสุดของเลขฐานนั้นๆ ในจำนวน digit ที่เท่ากัน เช่น คำถาม: ให้หา One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 คำตอบ: 345 มี 3 หลัก (digit) ค่าสูงสุดของเลขฐาน 10 ที่มี 3 หลักคือ 999 999-345=654 654 คือ One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 Two Complement คือ จำนวนน้อยที่สุดที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้จำนวนหลัก (digit) ของผลลัพธ์เพิ่มขึ้น 1 หลัก (digit) โดยปกติ วิธีการหา Two Complement ก็คือ เอา One Complement + 1 เช่น คำถามข้างบน ก็จะได้ Two Complement ของ 345 เป็น 655 | 建築 | [けんちく, kenchiku] (n) สถาปัตยกรรม, วิชาการก่อสร้าง, รูปแบบการก่อสร้าง | 台詞 | [せりふ, serifu] (n) (สพีชฺ) n. การพูด, วิธีการพูด, คำพูด, คำบรรยาย, คำสุนทรพจน์, วิชาเกี่ยวกับการพูด, ข่าวลือ, ภาษาชนชาติ, ภาษา., S. utterance | 音韻論 | [おんいんろん, on'inron] (n) วิชาที่ว่าด้วยระบบเสียงของภาษา, See also: R. phonology | 軍事訓練 | [ぐんじくんれん, gunjikunren] (n) วิชารักษาดินแดน, ร.ด. | 授業 | [じゅぎょう, jugyou] ~ชั่วโมง, ~คาบ, ~วิชา |
| 力学 | [りきがく, rikigaku] TH: วิชากลศาสตร์ EN: mechanics | 動力学 | [どうりきがく, dourikigaku] TH: วิชากลศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยการเคลื่อนที่ของของแข็ง EN: dynamics | 専門 | [せんもん, senmon] TH: วิชาเอก EN: subject of study | 学会 | [がっかい, gakkai] TH: การประชุมสัมมนาทางวิชาการ EN: academic meeting |
| Bereich | (n) |der, pl. Bereiche| ขอบข่ายของงาน, ขอบข่ายทางวิชาการ | unterbelichtet | (adj, slang) ไม่ถนัด หรือ ไม่เก่ง ตัวอย่างการใช้คำ In Mathe bin ich unterbelichtet. = ผมไม่ถนัดวิชาเลข | wissenschaftlich | (adj) ทางวิชาการ หรือ ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์หรือวิชาการ | Bauzeichnung | (n) |die, pl. Bauzeichungen| วิชาเขียนแบบโยธาฯ, งานเขียนแบบโยธาฯ | Baukonstruktion | (n) |die, pl. Baukonstruktionen| วิชาโครงสร้างโยธาฯ, งานโครงสร้างโยธาฯ | Prüfungsamt | (n) |das| ฝ่ายวิชาการในมหาวิทยาลัย ซึ่งรับผิดชอบเรื่องที่เกี่ยวกับการสอบโดยตรง | Jura | (n) |die| วิชากฎหมาย, นิติศาสตร์ เช่น Sie studiert Jura. = หล่อนเรียนนิติศาสตร์ | Vorlesung | (n) |die, pl. Vorlesungen| วิชาหรือชั่วโมงบรรยาย, See also: A. das Praktikum, das Seminar | Studienfach | (n) |das, pl. Studienfächer| สาขาวิชาที่ศึกษา, คณะที่ศึกษา, Syn. der Studiengang | erforschen | (vt) |erforschte, hat erforscht| (+ A) วิจัยหรือศึกษาทางด้านวิชาการอย่างละเอียด เช่น Die Wissenschaftler erforschen die Verbreitung der Bakterien. นักวิทยาศาสตร์วิจัยการขยายตัวของแบคทีเรียนี้, See also: Related: forschen | Gutachter | (n) |der, pl. Gutachter| ผู้ประเมิน, ผู้ตัดสิน, กรรมการตัดสิน (ไม่ใช่ด้านกีฬา แต่เกี่ยวกับงานด้านวิชาการ เช่น กรรมการผู้ตัดสินงานเรียงความ ฯลฯ), ผู้เชี่ยวชาญ | fördern | (vt) |förderte, hat gefördert, etw.(A)/jmdn.| สนับสนุน, อุปภัมภ์, อุปการะ เช่น Die wissenschaftliche Forschung wird meistens durch die Staat gefördert. งานวิจัยด้านวิชาการส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนจากทางรัฐ, Syn. unterstützen | durchfallen | (vi) |fällt durch, fiel durch, ist durchgefallen, in/bei etw.(D)| ไม่ผ่าน, (สอบ)ตก, ไม่ประสบความสำเร็จ เช่น Ist er einmal bei irgendeiner Prüfung durchgefallen? เขาเคยสอบตกวิชาใดวิชาหนึ่งสักครั้งไหม | Konferenz | (n) |die, pl. Konferenzen| การประชุม, งานสัมมนาทางวิชาการ เช่น Der Professor geht nächste Woche zu einer Konferenz in den Vereinigten Staaten. | Chemie | (n) |die| เคมี, วิชาเคมี, See also: Related: chemisch | Soziologie | (n) |die, nur Sg.| วิชาสังคมศาสตร์ | Vorbereitungskurs | (n) |der, pl. Vorbereitungskurse| วิชาหรือหลักสูตรปูพื้นฐานความรู้ก่อนเข้าเรียนในสาขาใดๆ | Fachoberschule | (n) |die, pl.Fachoberschulen| สถาบันวิชาชีพ, สถานศึกษาด้านอาชีพหรือโรงเรียนอาชีวะซึ่งเทียบเท่ากับโรงเรียนมัธยมปลาย จบไปได้ประกาศนียบัตรเป็น Fachhochschulreife | Kybernetik | (n) |die, nur Sg.| วิชาที่เกี่ยวกับการติดต่อควบคุมของสัตว์เเละเครื่องจักร, Syn. Regelungstechnik |
| | enseigner | (vt) (donner un cours)สอนวิชาใดวิชาหนึ่ง , (apprendre)สอนให้ทำ | chimie | (n) |f| สาขาเคมี, วิชาเคมี | physique | (n) |f| สาขาฟิสิกส์, วิชาฟิสิกส์ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |