Semiconductor | สารกึ่งตัวนำ, Example: สารกึ่งตัวนำเป็นสารที่มีคุณสมบัติอยู่ระหว่างตัวนำและฉนวน เช่น ซิลิคอน เจอเมเนียม เทลลูเนียมเป็นต้น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Organic semiconductor | สารกึ่งตัวนำอินทรีย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Semiconductor storage devices | หน่วยความจำสารกึ่งตัวนำ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
P-Si | สารกึ่งตัวนำชนิดพี, Example: สารกึ่งตัวนำที่ถูกเติมด้วยอะตอมของสารเจือชนิดพี ที่นิยมใช้มากได้แก่อะตอมของโบรอน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
N-Si | สารกึ่งตัวนำชนิดเอ็น, Example: สารกึ่งตัวนำที่ถูกเติมด้วยอะตอมของสารเจือชนิดเอ็น เช่น ซิลิคอนถูกเติมด้วยอะตอมของฟอสรัส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
semiconductor | สารกึ่งตัวนำ, Example: ธาตุหรือสารประกอบที่มีความสามารถในการนำไฟฟ้ากึ่งๆ กับความต้านทานไฟฟ้านั้นแปรเปลี่ยนไป สุดแท้แต่สารอื่นที่มาเจือปน (เรียกว่า Impurities) ธาตุเหล่านี้ได้แก่ เจอร์มาเนียม (germanium) เซเลเนียม (selenium) ซิลิกอน (silicon) ส่วนสารประกอบได้แก่ แอนติโมนี ไตรซัลไฟด์ แคดเมียน ซัลไฟด์ และแกลเลียม อาร์เซไนต์ [คอมพิวเตอร์] |
อิเล็กทรอนิกส์ | วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่งที่นำมาประยุกต์ใช้กับการศึกษาวงจรไฟฟ้าที่ใช้สารกึ่งตัวนำและอุปกรณ์อื่นๆ ซึ่งควบคุมการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนได้, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ อิเล็กทรอนิคส์ [คำที่มักเขียนผิด] |
Semi conductor industrial equipment industry | อุตสาหกรรมเครื่องมือเครื่องใช้ประเภทสารกึ่งตัวนำที่ใช้ในด้านอุตสาหกรรม [TU Subject Heading] |
Semi conductor production equipment industry | อุตสาหกรรมเครื่องมือเครื่องใช้ประเภทสารกึ่งตัวนำที่ใช้ในด้านการผลิต [TU Subject Heading] |
Semiconductor industry | อุตสาหกรรมสารกึ่งตัวนำ [TU Subject Heading] |
Semiconductors | สารกึ่งตัวนำ [TU Subject Heading] |
Superlattices as materials | สารกึ่งตัวนำซูเปอร์แลตทิชส์ [TU Subject Heading] |
carrier | พาหะ, 1. สิ่งมีชีวิตที่นำเอาลักษณะทางพันธุกรรมหรือเชื้อโรคไปถ่ายทอดให้แก่สิ่งมีชีวิตอื่น 2. อิเล็กตรอนซึ่งเป็นตัวพาประจุไฟฟ้าในตัวนำหรือสารกึ่งตัวนำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
solar cell | เซลล์สุริยะ, เซลล์ไฟฟ้าที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ผลิตกระแสไฟฟ้า เซลล์ชนิดนี้ทำด้วยสารกึ่งตัวนำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
diode | ไดโอด, อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีขั้วไฟฟ้า 2 ขั้วยอมให้กระแสไหลผ่านได้ทางเดียวใช้ในเครื่องแปลงไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรง ไดโอดมีหลายชนิด แต่ที่นิยมอยู่ทั่วไปเป็นชนิดสารกึ่งตัวนำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
rectifier | ตัวทำกระแสตรง, อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทิศทางเดียว จึงทำหน้าที่เป็นเครื่องแปลงไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นไฟฟ้า กระแสตรง โดยทั่วไปใช้ไดโอดที่เป็นสารกึ่งตัวนำเป็นอุปกรณ์สำคัญ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
transistor | ทรานซิสเตอร์, อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสารกึ่งตัวนำ ใช้แทนหลอดวิทยุ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
semiconductor | สารกึ่งตัวนำ, สารที่มีสภาพนำไฟฟ้าอยู่ในช่วงระหว่างสภาพนำไฟฟ้าของตัวนำและฉนวน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Central Processing Unit (CPU) | ซีพียู, ชิปที่ติดตั้งอยู่บนเมนบอร์ด ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นสารกึ่งตัวนำขนาดเล็ก ภายในบรรจุวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ไว้มากมาย โดยวงจรจะประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ขนาดเล็กเป็นจำนวนมาก บางครั้งจึงเรียกชิปต่างๆ ว่า ไอซี ทำหน้าที่ในการประมวลผล และควบคุมการทำงานของคอมพิ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |