ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: สึก, -สึก- |
เบย | เลย เป็นคำแผลงที่มาจากการใช้คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือพิมพ์ข้อความ เนื่องจากแป้นตัวอักษร ล ลิง และ บ ใบไม้ อยู่ใกล้กัน จึงทำให้เกิดการพิมพ์ผิดได้บ่อยครั้ง จนเป็นที่เข้าใจกันว่าถ้าพิมพ์ว่า เบย จะหมายความถึง เลย และยังแฝงถึงความรู้สึกเล่นๆ สนุกๆ ไม่จริงจัง กรณีที่พบบ่อย เช่นคำว่า จังเลย อาจแผลงได้เป็น จุงเบย เช่น เจ๊บจุงเบย (เจ็บจังเลย), ฮาจุงเบย (ฮา จังเลย) |
|
| | lighten up | (vi, vt) ทำให้่ร่าเริง แจ่มใส, รู้สึกร่าเริง แจ่มใส | อภิเชษฐ์ | [อะ-พิ-เชด] (n, vt) ความซาบซึ้ง, รู้สึกซาบซึ้ง, รู้สึกขอบคุณเป้นอย่างยิ่ง, See also: S. appreciate | เยี่ยวมากแม่ | (jargon) ดีมากๆ ให้ความรู้สึกชมว่าดีจนทนไม่ไหว จนฉี่จะราดกันเลยทีเดียว |
| กุศล | (n, adj, adv) การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา |
| มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N | [มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, o) มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: Norma Jeane Mortenson) เกิดวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1926 – 5 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นอดีตนักแสดง นักร้อง นางแบบชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากบทบาท "dumb blonde" เธอกลายเป็นสัญลักษณ์ทางเพศที่ได้รับความนิยมในคริสต์ทศวรรษ 1950 เป็นสัญลักษณ์ของทัศนคติที่มีต่อเพศแห่งยุค แม้ว่าเธอได้เป็นนักแสดงระดับต้น ๆ เพียงแค่หนึ่งทศวรรษ ภาพยนตร์ของเธอทำรายได้ได้ 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐก่อนที่เธอจะเสียชีวิตอย่างไม่คาดคิดใน ค.ศ. 1962[ 1 ] เธอยังถือว่าเป็นสัญรูปของวัฒนธรรมสมัยนิยมหลัก ๆ นับแต่นั้นมา[ 2 ] มอนโรเกิดและเติบโตในลอสแอนเจลิส วัยเด็กเธออาศัยอยู่ในบ้านรับเลี้ยงเด็ก และสถานเด็กกำพร้า และสมรสครั้งแรกเมื่ออายุ 16 ปี ขณะทำงานในโรงงานเป็นส่วนหนึ่งของกำลังสงคราม ใน ค.ศ. 1944 เธอพบกับช่างภาพคนหนึ่ง และเริ่มทำอาชีพนางแบบ งานของเธอทำให้เธอได้เซ็นสัญญากับภาพยนตร์ขนาดสั้น 2 เรื่องกับค่ายทเวนตีท์เซนจูรีฟอกซ์ (1946-1947) และโคลัมเบียพิกเจอส์ (1948) หลังจากรับบทย่อยในภาพยนตร์จำนวนหนึ่ง เธอเซ็นสัญญาใหม่กับฟอกซ์ใน ค.ศ. 1951 เธอกลายเป็นนักแสดงที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็วด้วยบทบาทตลกขบขันหลายบทบาท เช่นในเรื่อง แอสยังแอสยูฟีล (1951) และมังกีบิสเนส (1952) และในภาพยนตร์ดรามาเรื่อง แคลชบายไนต์ (1952) และ โดนต์บาเดอร์ทูน็อก (1952) มอนโรเผชิญหน้ากับข่าวลือหลังจากมีการเปิดเผยว่าเธอเคยถ่ายแบบเปลือยก่อนมาเป็นนักแสดง แต่แทนที่จะทำลายอาชีพเธอ มันกลับทำรายได้ให้กับบอกซ์ออฟฟิศ ก่อน ค.ศ. 1953 มอนโรเป็นหนึ่งในดาราฮอลลิวูดที่มีบทบาทนำในภาพยนตร์ 3 เรื่อง ได้แก่ ฟิล์มนัวร์ เรื่อง ไนแอการา (ภาพยนตร์ ค.ศ. 1953)|ไนแอการา ซึ่งมุ่งจุดสนใจที่เสน่ห์ทางเพศของเธอ และภาพยนตร์ตลกเรื่อง เจนเทิลเม็นพรีเฟอร์บลอนส์ และ ฮาวทูแมร์รีอะมิลเลียนแนร์ ซึ่งสร้างภาพลักษณ์ให้เธอเป็น "dumb blonde" แม้ว่าเธอจะมีบทบาทสำคัญในการสร้างและจัดการภาพลักษณ์สาธารณะของเธอตลอดอาชีพการทำงาน เธอรู้สึกผิดหวังต่อสตูดิโอที่ไทป์แคสต์ และการให้ค่าตัวเธอต่ำไป เธอถูกพักงานเป็นช่วงสั้น ๆ ในต้นปี ค.ศ. 1954 เนื่องจากเธอปฏิเสธโครงการทำภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง แต่กลับมาเป็นดาราในภาพยนตร์เรื่องที่ประสบความสำเร็จที่สุดเรื่องหนึ่งคือ เดอะเซเวนเยียร์อิตช์ (1955) เมื่อสตูดิโอยังลังเลที่จะเปลี่ยนแปลงสัญญาของเธอ มอนโรก่อตั้งบริษัทผลิตภาพยนตร์ใน ค.ศ. 1954 ชื่อ มาริลิน มอนโร โพรดักชันส์ (MMP) ขณะก่อสร้างบริษัท เธอเริ่มศึกษาการแสดงที่แอกเตอส์สตูดิโอ ในปลายปี ค.ศ. 1955 ฟอกซ์มอบฉันทะให้เธอควบคุมและให้เงินเดือนสูงขึ้น หลังจากได้รับคำสรรเสริญจากการแสดงในเรื่อง บัสสต็อป (1956) และการแสดงในภาพยนตร์อิสระเรื่องแรกของบริษัท MMP เรื่อง เดอะพรินซ์แอนด์เดอะโชว์เกิร์ล (1957) เธอได้รับรางวัลลูกโลกทองคำจากเรื่อง ซัมไลก์อิตฮอต (1959) ภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายของเธอที่ถ่ายทำจนเสร็จคือเรื่อง เดอะมิสฟิตส์ (1961) |
| เบิ้ง | (ว) คำที่แสดงความรู้สึกต้องการทำร่วมหรือมีส่วนร่วม เช่น ฉันขอลองทำเบิ้ง แปลว่า ฉันขอลองทำบ้าง *ภาษาโคราช, See also: S. บ้าง, ด้วย |
| รู้สึก | (v) feel, See also: touch, Syn. รู้, Ant. ด้าน, ด้านชา, Example: ข้าพเจ้าทำทุกอย่างที่เคยทำกับเธอ แต่ไม่สามารถทำให้เธอรู้สึกและรับรู้ได้, Thai Definition: รู้ด้วยการสัมผัส, เกิดอาการที่รู้ว่าเป็นสุขหรือทุกข์, เกิดสังหรณ์ขึ้นในใจ | สึกหรอ | (v) erode, See also: deteriorate, wear away, Syn. สึกกร่อน, ผุพัง, สึก, Example: ทับหลังที่ซุ้มประตูด้านใต้ได้สึกหรอไปมาก, Thai Definition: กร่อนไปหรือผุพังเสียหายไปตามกาลเวลา | สึกกร่อน | (v) be worn away / down, See also: be eroded, be corroded, Syn. สึก, Example: ฟันของเขาสึกกร่อนจนเหลือแต่โคน | การสึกหรอ | (n) wearing out, See also: wearing down, Syn. การร่อยหรอ, การกร่อน, Example: น้ำไหลผ่านมาตรวัดน้ำทุกวัน วันละหลายๆ ครั้งทำให้มาตรวัดน้ำเกิดการสึกหรอ, Thai Definition: การกร่อนไป, การหมดเปลืองไป | รู้สึกตัว | (v) realize one's error, See also: become aware of, Syn. สำนึกตัว, รู้สำนึก, Example: เขาจะรู้สึกตัวก็ต่อเมื่อมีหลักฐานมามัดตัวเขา, Thai Definition: รู้ว่าตนได้ทำผิดไป | รู้สึกตัว | (v) be conscious of, See also: be aware of, Syn. มีสติ, Example: เมื่อเด็กเพลินจะแสดงอะไรออกมาโดยไม่รู้สึกตัว | ความรู้สึก | (n) feeling, See also: emotion, passion, Example: เขาอยากได้ความรู้สึกของการอยู่ร่วมกันอย่างฉันท์มิตรในบ้านของเขา | การสึกกร่อน | (n) erosion, See also: corrosion, Syn. การเซาะ, การกัด, การสึก, การกร่อน, Example: การสึกกร่อนของเสาปูนเกิดจากความเค็มของน้ำทะเล | มีความรู้สึก | (v) have feelings, See also: be emotive, Ant. หมดความรู้สึก, ไร้ความรู้สึก, Example: มนุษย์คือสิ่งมีชีวิต มีความคิด มีความรู้สึก | รู้สึกนึกคิด | (v) perceive, See also: sense, think, feel, Example: ความตายไม่ได้ทำให้ข้าพเจ้าหมดสิ้นความรู้สึก และการรับรู้อย่างคนเป็นเลย เคยรู้สึกนึกคิดอย่างไร เดี๋ยวนี้ก็เป็นอย่างนั้น | ไม่รู้สึกตัว | (v) be senseless, See also: lose consciousness, be unconscious, Syn. ขาดสติ, ไม่มีสติ, ไม่รู้ตัว, Example: เขาไม่รู้สึกตัวแล้วรีบพาส่งโรงพยาบาลก่อนดีกว่า, Thai Definition: ขาดความรู้สึกเพราะหมดสติ | ความรู้สึกผิด | (n) guilt, See also: conscience, Example: เธอโกหกพ่อแม่แต่เธอก็ยังมีความรู้สึกผิดในใจ | ไร้ความรู้สึก | (v) be paralyzed, Ant. มีความรู้สึก, Example: แขนข้างซ้ายของเขาไร้ความรู้สึกไปแล้ว | ไร้ความรู้สึก | (adj) emotionless, Syn. ไร้อารมณ์, Ant. มีความรู้สึก, Example: ฉันรู้ว่าภายใต้ทีท่าไร้ความรู้สึกนั้น แม่ได้ซ่อนความรู้สึกใดไว้บ้าง | ความรู้สึกด้อย | (n) inferiority feeling, Syn. ปมด้อย, Ant. ความรู้สึกเด่น, ปมเด่น | ความรู้สึกเด่น | (n) superiority feeling, Syn. ความรู้สึกเขื่อง, ปมเด่น, Ant. ความรู้สึกด้อย, ปมด้อย | เสียความรู้สึก | (v) feel bad, Syn. รู้สึกไม่ดี | โดยไม่รู้สึกตัว | (adv) unconsciously, See also: unawarely, Ant. โดยรู้สึกตัว, Example: ยามหน้าบริษัทหลับไปโดยไม่รู้สึกตัว | ความรู้สึกนึกคิด | (n) feeling, See also: emotion, sentiment, Syn. ความนึกคิด, Example: การที่มนุษย์มองว่าสิ่งใดดีเลวขึ้นอยู่กับความรู้สึกนึกคิดของตัวมนุษย์เอง | ความรู้สึกเขื่อง | (n) superiority feeling, Syn. ความรู้สึกเด่น, ปมเด่น, Ant. ความรู้สึกด้อย, ปมด้อย, Example: ถ้าเด็กเกิดความรู้สึกเขื่องขึ้นบ่อยๆ จะติดเป็นนิสัยได้ | ความรู้สึกสะเทือนใจ | (n) sympathy, See also: compassion, condolence, Syn. ความสะเทือนใจ |
| ความรู้สึกเขื่อง, ความรู้สึกเด่น | น. ความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าหรือดีเด่นกว่าผู้อื่น ความรู้สึกนี้ไม่จำเป็นจะต้องอยู่ในจิตใต้สำนึก แต่ถ้าเกิดขึ้นเสมอ ๆ และมิได้แก้ไขหรือได้รับการสนับสนุน เช่นในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก ก็อาจเก็บสะสมไว้เกิดเป็นนิสัยของบุคคลนั้นได้ | ความรู้สึกเขื่อง, ความรู้สึกเด่น | ความเชื่อหรือความมั่นใจว่าตนเองมีฐานะหรือความสามารถเหนือกว่าผู้อื่น. | ความรู้สึกช้า | น. ลักษณะอาการที่รับอารมณ์ต่าง ๆ ได้ช้า เช่น เขาเป็นคนมีความรู้สึกช้า ต้องใช้เวลานานกว่าจะเข้าใจ. | ความรู้สึกด้อย | น. ความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถไม่เท่าเทียมบุคคลทั่วไป ความรู้สึกนี้ไม่จำเป็นจะต้องอยู่ในจิตใต้สำนึกและผู้นั้นไม่จำเป็นต้องมีปมด้อย อาจเกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมหรือในบางขณะเท่านั้น แต่ถ้าเกิดขึ้นเสมอ ๆ และมิได้แก้ไข ก็อาจเก็บกดไว้จนเกิดเป็นปมด้อยได้ | ความรู้สึกด้อย | ความไม่เชื่อมั่นว่าตนเองมีฐานะหรือความสามารถเท่าเทียมผู้อื่น. | ความรู้สึกไว | น. ลักษณะอาการที่รับอารมณ์ต่าง ๆ ได้รวดเร็ว เช่น ผู้ที่ศึกษาวรรณคดีควรจะมีความรู้สึกไวจึงจะรับรสวรรณคดีได้. | ตื่นแต่ดึก สึกแต่หนุ่ม | ก. เร่งรัดทำการงานให้เหมาะสมแก่เวลาและวัยที่ยังแข็งแรงอยู่. | รู้สึก | ก. รู้ตัว เช่น ย่องไปข้างหลังอย่าให้เขารู้สึก หลับเป็นตายปลุกเท่าไรก็ไม่รู้สึก, รู้ด้วยการสัมผัส เช่น รู้สึกร้อน รู้สึกหนาว, รู้สำนึก เช่น เขารู้สึกตัวว่าทำผิด, เกิดอาการที่รู้ว่าเป็นสุขหรือทุกข์ เช่น รู้สึกสนุก รู้สึกซาบซึ้ง รู้สึกมึนศีรษะ, เกิดสังหรณ์ขึ้นในใจ เช่น รู้สึกว่าจะมีใครมาหา, มีแนวโน้มให้สันนิษฐานหรือคาดคะเนว่าจะมีอะไรเกิดขึ้น เช่น รู้สึกว่าสินค้าเกษตรจะมีราคาตกต่ำในปีนี้ ในที่สุดต้องยกเลิกเรื่องบางเรื่องเพราะรู้สึกว่าจะไปไม่รอด. | สึก ๑ | ก. กร่อนไป, ร่อยหรอไป, เช่น รองเท้าสึก บันไดสึก. | สึกหรอ | ก. กร่อนไป เช่น เครื่องจักรสึกหรอ, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น การด่าว่าไม่ทำให้สึกหรออะไร. | สึก ๒ | ก. ลาสิกขา, ลาสึก ก็ว่า. | สึก ๓ | น. การรู้ตัว, การระลึกได้, การจำได้, มักใช้ควบกับคำ รู้ เป็น รู้สึก และแผลงว่า สำนึก ก็มี. | กรรมเวร | คำแสดงความรู้สึกเดือดร้อนเพราะกรรมหรือชะตากรรมในอดีต เช่น อายุตั้ง ๗๐ ปีแล้วยังต้องมาหาบขนมขายอีก กรรมเวรแท้ ๆ, เวร หรือ เวรกรรม ก็ว่า. | กร่อน | (กฺร่อน) ก. หมดไปสิ้นไปทีละน้อย, ร่อยหรอ, สึกหรอ. | กร่อย | (กฺร่อย) ว. ไม่จืดสนิทหรือไม่หวานสนิท เพราะมีรสเค็มเจือ, โดยปริยายหมายความว่า หมดรสสนุกหรือหมดความครึกครื้น เช่น การแสดงที่ไม่สนุกทำให้คนดูรู้สึกกร่อย. | กระดาก ๑ | ก. รู้สึกขวยเขิน, วางหน้าไม่สนิท, ตะขิดตะขวงใจไม่กล้าพูดหรือไม่กล้าทำเพราะเกรงจะได้รับความอับอาย. | กระดิ่งทอง | น. ชื่อแมลงพวกด้วงชนิด Martianus dermestoides Chevrolat ในวงศ์ Tenebrionidae ลำตัวยาว ๖-๗ มิลลิเมตร กว้าง ๒-๓ มิลลิเมตร สีน้ำตาลเกือบดำตลอดทั้งลำตัว ขา และปีก กินของแห้งทั้งพืชและสัตว์โดยเฉพาะเมล็ดบัว นิยมนำมาเลี้ยงด้วยเมล็ดบัวแห้ง หัวข้าวเย็นเหนือ หัวข้าวเย็นใต้ โดยเชื่อว่าเมื่อนำมารับประทานจะช่วยกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ, ม่าเหมี่ยว ก็เรียก. | กระดี้กระเดียม | ก. รู้สึกจักจี้. | กระทบกระเทือน | ก. กระเทือนไปถึง, พาดพิงไปถึงให้รู้สึกสะเทือนใจ. | กระเทือน | ก. มีอาการสั่นไหวเพราะถูกกระทบ เช่น นั่งรถที่แล่นไปตามทางขรุขระก็รู้สึกกระเทือน เสียงระเบิดทำให้บ้านกระเทือน, โดยปริยายหมายความว่า เป็นทุกข์กังวล เช่น เขาว่าลูกก็กระเทือนไปถึงแม่ ใครจะว่าอย่างไร ๆ ก็ไม่กระเทือน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ กระทบ เป็น กระทบกระเทือน, สะเทือน ก็ว่า. | กระเทือนซาง | ก. เป็นทุกข์กังวลเพราะมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากระทบความรู้สึกอย่างรุนแรง เช่น ว่าเท่าไร ๆ ก็ไม่กระเทือนซาง ถูกตำหนิอย่างแรงทำให้รู้สึกกระเทือนซาง. | กระเทื้อม | รู้สึกรู้สา เช่น ว่าเท่าไร ๆ ก็ไม่กระเทื้อม. | กระเบน | น. ชื่อปลากระดูกอ่อนพวกหนึ่ง มีหลายชนิด หลายสกุล และหลายวงศ์ ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ลำตัวกว้างตั้งแต่ ๑๕-๓๐๐ เซนติเมตร ลำตัวแบนลงมาก และต่อเนื่องกับครีบอกแผ่ออกด้านข้าง บางชนิดแผ่ออกไปจดด้านหน้าและด้านท้ายเกือบเป็นวงกลมดูคล้ายจานหรือว่าว บางชนิดแผ่ยื่นด้านข้างออกไปเป็นปีกคล้ายนกหรือผีเสื้อ และบางชนิดครีบอกแผ่ไปไม่ถึงส่วนหน้า ทำให้หัวแยกจากลำตัวและส่วนยื่นของหัวเป็นลอน มีเหงือก ๕ คู่ อยู่ด้านล่างของส่วนหัว บริเวณถัดจากส่วนท้ายของนัยน์ตามีรูเปิดข้างละช่อง ซึ่งด้านในติดต่อกับโพรงเหงือกและปาก หางส่วนมากเรียว สั้นบ้างยาวบ้าง มักมีผิวหยาบหรือขรุขระ บางพวกมีเงี่ยงอยู่บนหางตอนใกล้ลำตัว และมีต่อมน้ำพิษอยู่บริเวณโคนเงี่ยง เมื่อใช้เงี่ยงแทงจะปล่อยน้ำพิษออกมาด้วย ทำให้คนหรือสัตว์ที่ถูกแทงรู้สึกปวด | กระหาย | ก. รู้สึกคอแห้งด้วยอยากดื่มน้ำเป็นต้น | กลัดมัน | ว. มีความรู้สึกในทางกามารมณ์อย่างรุนแรง. | กลั้น | (กฺลั้น) ก. บังคับความรู้สึกหรือสิ่งที่อยู่ภายในร่างกายไม่ให้แสดงออกหรือหลุดออกมา เช่น กลั้นโทสะ กลั้นปัสสาวะ. | กลัว | (กฺลัว) ก. รู้สึกไม่อยากประสบสิ่งที่ไม่ดีแก่ตัว เช่น กลัวบาป กลัวถูกติเตียน, รู้สึกหวาดเพราะคาดว่าจะประสบภัย เช่น กลัวเสือ กลัวไฟไหม้. | กลืนไม่เข้าคายไม่ออก | ก. อาการที่รู้สึกพะอืดพะอมไม่รู้จะเลือกอย่างไรดี. | กลุ้ม ๒ | (กฺลุ้ม) ก. รู้สึกอัดอั้นยุ่งใจ เช่น คิดไม่ออกกลุ้มเหลือเกิน. | กลุ้มอกกลุ้มใจ | ก. รู้สึกกังวลเป็นทุกข์หรือยุ่งยากใจ. | การ์ตูน ๑ | น. ภาพล้อ, ภาพตลก, บางทีเขียนเป็นภาพบุคคล บางทีเขียนเป็นภาพแสดงเหตุการณ์ที่ผู้เขียนตั้งใจล้อเลียนจะให้ดูรู้สึกขบขัน, หนังสือเล่าเรื่องด้วยภาพเขียน ซึ่งแบ่งหน้ากระดาษเป็นช่อง ๆ มีคำบรรยายสั้น ๆ อ่านง่าย เนื้อเรื่องมักเป็นนิทานหรือนวนิยาย. | กินใจ | ก. รู้สึกแหนงใจ, สะดุดใจ, กระทบใจ | กินน้ำเห็นปลิง | ก. รู้สึกตะขิดตะขวงใจเหมือนจะกินนํ้าเห็นปลิงอยู่ในนํ้าก็กินไม่ลง. | เกรงใจ, เกรงอกเกรงใจ | ก. ไม่อยากจะให้ผู้อื่นรู้สึกลำบากเดือดร้อนรำคาญใจ. | เกลียด | (เกฺลียด) ก. ชัง, รังเกียจมาก, ไม่ชอบจนรู้สึกไม่อยากพบอยากเห็นเป็นต้น, บางทีใช้คู่กับคำ ชัง เป็น เกลียดชัง. | เก้อ | ว. แสดงสีหน้าเจื่อนเพราะรู้สึกผิดคาดหรือทำอะไรผิดพลาดไป เช่น ทำหน้าเก้อ, รู้สึกผิดคาดผิดหวัง เช่น ไปเก้อ คอยเก้อ, ผิดแผกไปจากผู้อื่นเขาหรือแต่งตัวรอจะไปงานแล้วไม่ได้ไป เช่น แต่งตัวเก้อ | เก้อเขิน | ว. อาการที่วางหน้าไม่สนิท, รู้สึกกระดากอาย. | ขนพองสยองเกล้า | น. ขนและผมตั้งชันขึ้นเพราะรู้สึกสยดสยองมากเป็นต้น. | ขนหย็อง | น. ขนหัวตั้งชัน ตัวลีบ หางตก เป็นอาการของไก่หรือนกที่รู้สึกกลัวไม่กล้าสู้. ก. โดยปริยายใช้แก่คนที่ไม่กล้าสู้, กลัว. | ขนหัวลุก | ว. อาการที่ตกใจหรือกลัวมากเป็นต้นจนรู้สึกคล้ายกับผมตั้งชันขึ้น. | ขมขื่น | ก. รู้สึกชํ้าใจแต่ฝืนไว้ เพราะไม่สามารถแสดงออกมาได้, ขื่นขม ก็ใช้. | ข่ม | โดยปริยายหมายความว่า แสดงกิริยาวาจาให้เห็นว่าเหนือกว่า หรือทำให้อีกฝ่ายหนึ่งรู้สึกว่าด้อยกว่า เช่น แต่งตัวข่มเพื่อน พูดข่ม, บังคับ เช่น ข่มใจ ข่มอารมณ์ | ขยอง ๑ | (ขะหฺยอง) ก. ผยอง, รู้สึกหวาดกลัว. | ขวางหูขวางตา | ก. รู้สึกรำคาญ, หมั่นไส้. | ขอโทษ, ขอประทานโทษ | ก. ขอให้ยกเว้นโทษ, ใช้เป็นคำสุภาพเมื่อรู้สึกว่าจะเป็นการล่วงเกินผู้อื่น. | ขอบคุณ, ขอบพระคุณ | คำกล่าวแสดงความรู้สึกบุญคุณ (เป็นคำที่ใช้แก่บุคคลที่เสมอกัน หรือผู้น้อยใช้แก่ผู้ใหญ่). | ขอบใจ | คำกล่าวแสดงความรู้สึกพอใจในความดีที่ผู้อื่นได้มีต่อตน (เป็นคำที่ผู้ใหญ่ใช้แก่ผู้น้อย). | ขัดยอก | ก. เคล็ดและรู้สึกเจ็บปวด. | ขายหูขายตา | ก. ได้ยินได้เห็นแล้วรู้สึกอายไม่อยากฟังไม่อยากเห็น เช่น ดอกขายหูขายตา ดอกบนำพารู้ (ลอ), ใช้ว่า ไขหูไขตา ก็มี. | ขี้เกียจ | ก. มีนิสัยไม่ชอบทำงาน เช่น เด็กคนนี้ขี้เกียจ, เกียจคร้าน ก็ว่า, รู้สึกไม่อยากทำเพราะไม่เห็นประโยชน์เป็นต้น เช่น ขี้เกียจเถียง |
| perspiration, insensible | การออกเหงื่อไม่รู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | perspiration, sensible | การออกเหงื่อรู้สึกได้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | panaesthesia; panesthesia | ความรู้สึกทุกอย่าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | paresthesia; paraesthesia | ความรู้สึกสัมผัสเพี้ยน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | paresthetic; paraesthetic | -รู้สึกสัมผัสเพี้ยน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | phantom | ๑. ความรู้สึกหลอน, อวัยวะหลอน๒. หุ่นส่วนร่างกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | parapsia; dysaphia; paraphia; parapsis; pseudapsia | ความรู้สึกสัมผัสผิดธรรมดา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | parapsis; dysaphia; paraphia; parapsia; pseudapsia | ความรู้สึกสัมผัสผิดธรรมดา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | panesthesia; panaesthesia | ความรู้สึกทุกอย่าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pselaphesia; pselaphesis | ความรู้สึกสัมผัส [ มีความหมายเหมือนกับ taction ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pselaphesis; pselaphesia | ความรู้สึกสัมผัส [ มีความหมายเหมือนกับ taction ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pseudoaesthesia; pseudaesthesia; pseudesthesia; pseudoesthesia | ความรู้สึกสัมผัสหลอน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pulsate | รู้สึกเต้นเป็นจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pulsation; throb; throbbing | ๑. การเต้นเป็นจังหวะ๒. ความรู้สึกเต้นเป็นจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pallaesthesia; pallesthesia; palmaesthesia; palmesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pallaesthetic; pallesthetic; palmaesthetic; palmesthetic | -ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pallesthesia; pallaesthesia; palmaesthesia; palmesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pallesthetic; pallaesthetic; palmaesthetic; palmesthetic | -ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | palmesthesia; pallaesthesia; pallesthesia; palmaesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | palmesthetic; pallaesthetic; pallesthetic; palmaesthetic | -ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | paraphia; dysaphia; parapsia; parapsis; pseudapsia | ความรู้สึกสัมผัสผิดธรรมดา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | postanaesthetic; postanesthetic | -หลังหมดฤทธิ์ยาระงับความรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | postanesthetic; postanaesthetic | -หลังหมดฤทธิ์ยาระงับความรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pseudaesthesia; pseudesthesia; pseudoaesthesia; pseudoesthesia | ความรู้สึกสัมผัสหลอน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pseudapsia; dysaphia; paraphia; parapsia; parapsis | ความรู้สึกสัมผัสผิดธรรมดา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pseudesthesia; pseudaesthesia; pseudoaesthesia; pseudoesthesia | ความรู้สึกสัมผัสหลอน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pseudoesthesia; pseudaesthesia; pseudesthesia; pseudoaesthesia | ความรู้สึกสัมผัสหลอน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | paralysis, sensory | อัมพาตส่วนความรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pain sense; agaesthesia; agesthesia; nociception | ความรู้สึกเจ็บปวด [ มีความหมายเหมือนกับ algesia ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | paraesthesia; paresthesia | ความรู้สึกสัมผัสเพี้ยน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | paraesthetic; paresthetic | -รู้สึกสัมผัสเพี้ยน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | paralgesia; paralgia | ภาวะรู้สึกเจ็บปวดผิดปรกติ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | paralgia; paralgesia | ภาวะรู้สึกเจ็บปวดผิดปรกติ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | perception; aesthesia; esthesia | ความรู้สึก, การรับรู้, การกำหนดรู้ [ มีความหมายเหมือนกับ sense ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pediment; rock pediment | ลาดเชิงเขาสึกกร่อน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | palmaesthesia; pallaesthesia; pallesthesia; palmesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | palmaesthetic; pallaesthetic; pallesthetic; palmesthetic | -ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | local anaesthesia | อาการชาเฉพาะที่, อาการไม่รู้สึกเฉพาะที่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | local anaesthetic | ยาชา, ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rock pediment; pediment | ลาดเชิงเขาสึกกร่อน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | rhigosis | ๑. ความรู้สึกเย็น๒. สัมผัสเย็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | rhigotic | ๑. -รู้สึกเย็น๒. -สัมผัสเย็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | receptive aphasia; aphasia, impressive; aphasia, sensory; aphasia, temporoparietal; aphasia, Wernicke's | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์รับความรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | receptor | ๑. หน่วยรับความรู้สึก๒. ตัวรับ, ที่รับ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | receptor | หน่วยรับความรู้สึก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | rotatory vertigo; vertigo, subjective; vertigo, systematic | อาการรู้สึกตนเองหมุน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sensation | การรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sensation, cincture; sensation, girdle; strangalaesthesia; strangalesthesia; zonaesthesia; zonesthesia | ความรู้สึกถูกรัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sensation, girdle; sensation, cincture; strangalaesthesia; strangalesthesia; zonaesthesia; zonesthesia | ความรู้สึกถูกรัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sense | ๑. ความรู้สึก, การรับรู้, การกำหนดรู้ [ มีความหมายเหมือนกับ aesthesia; esthesia; perception ]๒. สัมผัส๓. นัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Spinal anesthesia | การระงับความรู้สึกทางไขสันหลัง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Cerebrovascular syndrome | กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Central nervous system syndrome | กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] | มรณภาพ | ความรู้สึกกลัวต่อความตาย ภัยที่อันตรายถึงตาย, Example: คำที่มักเขียนผิด มรณะภาพ [คำที่มักเขียนผิด] | กร่อน | สึกหรอ, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ กล่อน [คำที่มักเขียนผิด] | Cochlear Implant | ประสาทหูเทียม, ชุดอุปกรณ์ที่ผ่าตัดฝังเข้าไปในหูส่วนในของผู้ที่หูหนวก เพื่อกระตุ้นประสาทในคอกลี (Cochlea) ให้รู้สึกได้ยินเสียง อุปกรณ์ที่ฝังจะทำงานร่วมกับไมโครโฟนภายนอก ระบบประมวลสัญญาณและส่งวิทยุ และระบบรับวิทยุที่ต่อกับชุดประสาทหูเทียม [Assistive Technology] | Anesthesia | การระงับความรู้สึก [TU Subject Heading] | Anesthesia, Dental | การระงับความรู้สึกทางทันตกรรม [TU Subject Heading] | Anesthesia, Intravenous | การระงับความรู้สึกทางหลอดเลือดดำ [TU Subject Heading] | Anesthesia, Local | การระงับความรู้สึกเฉพาะที่ [TU Subject Heading] | Anesthesia, Obstetrical | การระงับความรู้สึกทางสูติศาสตร์ [TU Subject Heading] | Anesthesia, Spinal | การระงับความรู้สึกที่กระดูกสันหลัง [TU Subject Heading] | Anesthetics | ยาระงับความรู้สึก [TU Subject Heading] | Anesthetics industry | อุตสาหกรรมยาระงับความรู้สึก [TU Subject Heading] | Anesthetics, Local | ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ [TU Subject Heading] | Emotions | ความรู้สึก [TU Subject Heading] | Helplessness (Psychology) | ความรู้สึกหมดหนทางช่วยเหลือ (จิตวิทยา) [TU Subject Heading] | Mechanical wear | การสึกหรอทางกลศาสตร์ [TU Subject Heading] | Neuromuscular blockade | การระงับความรู้สึกที่จุดเชื่อมต่อระหว่างเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] | Senses and sensation | ประสาทสัมผัสและการรับความรู้สึก [TU Subject Heading] | Tooth attrition | ฟันสึก [TU Subject Heading] | Tooth erosion | การสึกกร่อนของฟัน [TU Subject Heading] | Voyeurism in motion pictures | ความรู้สึกกำหนัดจากการแอบมองในภาพยนตร์ [TU Subject Heading] | Abrasion | การสึกกร่อน, Example: การกร่อนของผิววัสดุอันเกิดจากการเสียดสี เช่น ผนังหรือพื้นเตาเผาที่สึกกร่อนเนื่องจากการเคลื่อนย้ายขยะ ดู Erosion และ Corrosion [สิ่งแวดล้อม] | Cultural Diplomacy | การทูตวัฒนธรรม หมายถึง กิจกรรมด้านวัฒนธรรมในกรอบกว้าง ทั้งภาษา ความคิด อุดมการณ์ ทัศนคติ ประเพณี วิทยาการความรู้ การกีฬาและวิถีชีวิต (ไม่เพียงแต่การส่งคณะนาฏศิลป์ไปแสดงในต่างประเทศเท่านั้น) ทั้งนี้ เพื่อ ใช้สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องมือสร้างความรู้สึกที่ดีต่อกัน โดยใช้แนวทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในลักษณะซึมลึกเพื่อให้เข้าถึงประชาชน [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Hugo Grotius (1583-1645) | บรมครูทางกฎหมายของเนเธอร์แลนด์ เป็นบุคคลแรกที่ได้ประกาศเสรีภาพของทะเล (Freedom of the Seas) ในตำราของท่านชื่อ Mare Liberumนักกฎหมาย รัฐบุรุษ และปรัชญาเมธีด้านมนุษยธรรมของเนเธอร์แลนด์ผู้นี้ ภายหลังเกิดมาได้ไม่กี่ปีก็ส่อให้เห็นว่าเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดอย่างน่า มหัศจรรย์ เขาเริ่มศึกษาวิชากฎหมายตั้งแต่มีอายุได้ 11 ขวบ ณ สถาบันศึกษาชั้นสูงแห่งเลย์เด็นในเนเธอร์แลนด์ และได้รับปริญญาเอกทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัย ณ เมืองออร์ลีนส์ ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อมีอายุได้เพียง 15 ปี โดยที่เป็นผู้ฝักใฝ่ในการเมือง เขาได้ถูกลงโทษจำคุกตลอดชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1618 ด้วยข้อหาทางการเมือง แต่ต่อมาใน ค.ศ. 1621 ได้หลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ 1625 เขาได้แต่งตำรากฎหมายซึ่งถือกันว่าเป็นตำราอมตะชื่อว่า Jure Belli ac Pacis (แปลว่า เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ) เป็นงานเขียนที่เหมาะกับสมัย และเขียนอย่างนักวิชาการอันเยี่ยมยอดที่สุดไม่มีใครเหมือนในสมัยนั้น และด้วยความรู้สึกที่รักความยุติธรรมอย่างแรงกล้าด้วยเหตุนี้ ทั่วโลกจึงขนานนาม Hugo Grotius ว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายนานาชาติ (Father of the Law of Nations) [การทูต] | Notes in Diplomatic Correspondence | หมายถึง หนังสือหรือจดหมายโต้ตอบทางการทูตระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต (Head of mission) กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศที่หัวหน้าคณะผู้ แทนทางการทูตนั้นประจำอยู่ หรือกับหัวหน้าผู้แทนทางการทูตอีกแห่งหนึ่ง หนังสือทางการทูตนี้ อาจใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 หรือบุรุษที่ 3 ก็ได้ หนังสือทางการทูตที่ใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 มักจะเกี่ยวกับเรื่องที่มีความสำคัญหรือมีความละเอียดอ่อนกว่าหนังสืออีก ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Note Verbale หรือต้องการจะแทรกความรู้สึกส่วนตัวลงไปด้วย หนังสือนี้จะส่งจากหัวหน้า หรือผู้รักษาการแทนหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือไปถึงหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตอื่น ๆ ไม่เหมือนกับ Note Verbale กล่าวคือ หนังสือทางการทูตนี้จะต้องระบุสถานที่ตั้ง รวมทั้งลงชื่อของผู้ส่งด้วยตามปกติ ประโยคขึ้นต้นด้วยประโยคแรกในหนังสือจะใช้ข้อความว่า ?have the honour? นอกจากจะมีถึงอุปทูตซึ่งมีฐานะตำแหน่งต่ำกว่าอัครราชทูต ถ้อยคำลงท้ายของหนังสือทางการทูตจะมีรูปแบบเฉพาะ เช่น?Accept, Excellency (หรือ Sir), ในกรณีที่ผู้รับมีตำแหน่งเป็นอุปทูต (Charge d? Affaires) the assurances (หรือ renewed assurances ) of my highest (หรือ high ในกรณีที่เป็นอุปทูต ) consideration?หรือ ?I avail myself of this opportunity to express to your Excellency, the assurances ( หรือ renewed assurances) of my highest consideration ?ถ้อยคำที่ว่า ?renewed assurances ? นั้น จะใช้ก็ต่อเมื่อผู้ส่งหนังสือกับผู้รับหนังสือ ได้มีหนังสือติดต่อทางทูตกันมาก่อนแล้ว ส่วนถ้อยคำว่า ?high consideration ? โดยปกติจะใช้ในหนังสือที่มีไปยังอุปทูต ถ้อยคำ ?highest consideration ? จะใช้เมื่อมีไปถึงเอกอัครราชทูต และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ท้องถิ่นด้วย บางแห่งอาจนิยมใช้แตกต่างออกไป และก็จะเคารพปฏิบัติตามท้องถิ่นนั้น ๆ โดยมารยาทส่วนหนังสือที่เรียกว่า Note Verbale หรือ Third person note เป็นหนังสือทางการทูตที่ใช้บ่อยที่สุด หนังสือนี้จะขึ้นต้นด้วยประโยคดังต่อไปนี้?The Ambassador (หรือ The Embassy ) of Thailand presents his (หรือ its ) compliments to the Minster (หรือ Ministry ) of Foreign affairs and has the honour??หนังสือบุรุษที่สาม หรืออาจเรียกว่าหนังสือกลางนี้ ไม่ต้องบอกตำบลสถานที่ ( Address) และไม่ต้องลงชื่อ แต่บางทีในตอนลงท้ายของหนังสือกลางมักใช้คำว่า?The Ambassador avails himself of this opportunity to express to his Excellency the renewed assurances of his highest consideration?มีหนังสือทางการทูตอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า Collective note เป็นหนังสือที่หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลหลายประเทศรวมกันมีไปถึง รัฐบาลแห่งเดียว เกี่ยวกับเรื่องที่รัฐบาลเหล่านั้นพร้อมใจกันที่จะร้องเรียน หรือต่อว่าร่วมกัน หัวหน้าคณะทูตทั้งหมดอาจร่วมกันลงนามในหนังสือนั้น หรือ อาจจะแยกกันส่งหนังสือซึ่งมีถ้อยคำอย่างเดียวกันไปถึงก็ได้ [การทูต] | Order of Precedence | หมายถึง ลำดับอาวุโสทางการทูต โดยถือยศหรือตำแหน่งเป็นบรรทัดฐาน โดยเฉพาะในโอกาสที่ไปร่วมพิธีต่าง ๆ ตลอดจนการเลี้ยงอาหารอย่างเป็นทางการ นักการทูตทั่วโลกต่างถือลำดับอาวุโสเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพิถีพิถันกันไม่ น้อย เพราะในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ หากมีการจัดลำดับอาวุโสไม่ถูกต้อง เขาผู้นั้นซึ่งคำนึงถึงศักดิ์ศรีในฐานะตัวแทนของประเทศย่อมต้องรู้สึกว่า นอกจากจะไม่ได้รับความถูกต้องแล้ว ยังเป็นการดูแคลนประเทศของตนด้วยในสมัยก่อน ผู้ที่ทำหน้าที่ชี้ขาดในเรื่องลำดับอาวุโสของบรรดาประมุขของรัฐทั้งหลาย คือสมเด็จพระสันตะปาปา ต่อมาในการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาเมื่อปี ค.ศ. 1815 ที่ประชุมได้ตกลงกันให้ถือวันที่เดินทางมาถึงประเทศผู้รับ และได้แจ้งให้ทราบเป็นทางการว่าเป็นเรื่องลำดับอาวุโส ผู้ที่มาถึงก่อนย่อมมีอาวุโสกว่าผู้ทีมาทีหลัง อย่างไรก็ดี มาในทุกวันนี้มีหลายประเทศถือหลักว่า ผู้แทนทางการทูตที่ยื่นสารตราตั้งก่อนจะมีอาวุโสกว่าผู้ยื่นสารตราตั้งที หลัง และในกรณีที่เกิดความเห็นไม่ลงรอยกันระหว่างบุคคลในคณะทูตเรื่องลำดับอาวุโส ประเทศเจ้าภาพหรือประเทศผู้รับจะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติเกี่ยวกับลำดับอาวุโสของผู้แทนทางการ ทูตไว้ดังนี้ ?ข้อ 16 1. ให้หัวหน้าคณะผู้แทนมีลำดับอาวุโสในแต่ละชั้นของตนตามลำดับวันและเวลาที่ เข้ารับการหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้ง หรือเมื่อได้บอกกล่าวการมาถึงของตนและได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง ต่อกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงตามแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป 2. การเปลี่ยนแปลงในสารตราตั้งของหัวหน้าคณะผู้แทน ซึ่งไม่เกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงชั้นใด ๆ จะไม่กระทบกระเทือนลำดับอาวุโสของหัวหน้าคณะผู้แทน 3. ข้อนี้ไม่เป็นที่เสื่อมเสียแก่ทางปฏิบัติใด ซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับ ในเรื่องลำดับอาวุโสของผู้แทนของโฮลี่ซี ข้อ 17 ลำดับอาวุโสของสมาชิกคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทนนั้น ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้บอกกล่าวแก่กระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน? [การทูต] | Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] | Placement | หมายถึง วิธีจัดที่นั่งโต๊ะในการเลี้ยงอาหารสำหรับนักการทูต โดยคำนึงถึงลำดับอาวุโส เพื่อป้องกันมิให้เกิดความรู้สึกขุ่นเคืองหรือหัวเสีย เรื่องการจัดที่นั่งในการเลี้ยงอาหารโดยคำนึงถึงลำดับอาวุโสนี้ นักการทูตส่วนใหญ่ไม่ว่าที่ไหน มักจะถือว่ามีความสำคัญไม่น้อย เพราะถือเป็นเรื่องของศักดิ์ศรีในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ ฝ่ายที่รับผิดชอบโดยตรงต่อการจัดที่นั่งเช่นนี้ได้แก่ กรมพิธีการทูตของกระทรวงการต่างประเทศ ส่วนลำดับของอาวุโสก็ถือตามวันเวลาที่นักการทูตแต่ละคนได้เข้าประจำตำแหน่ง ที่ในประเทศผู้รับ กล่าวคือ ผู้ที่เข้าประจำตำแหน่งก่อนก็คือผู้ทีมีอาวุโสกว่าผู้ที่มาประจำตำแหน่ง หน้าที่ทีหลัง [การทูต] | Abrasion | การสึกหรอของพื้นผิววัสดุเนื่องมาจากการเสียดสีกัน [เทคโนโลยียาง] | Abrasion resistance | ความสามารถของพื้นผิววัสดุในการต้านทานต่อการสึกหรอเนื่องจากการสัมผัส เสียดสีกัน [เทคโนโลยียาง] | Abrasion tester | เครื่องมือที่ใช้ในการวัดปริมาณการสึกหรอของพื้นผิววัสดุโดยการสัมผัส เสียดสีกันภายใต้สภาวะที่กำหนด มีหลายแบบ เช่น DIN, Akron, Taber เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] | Butadiene rubber or Polybutadiene | ยางบีอาร์เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่ง ที่ผลิตจากบิวทาไดอีนมอนอเมอร์ มีความยืดหยุ่นและสมบัติการกระเด้งกระดอนสูง มีสมบัติเด่น คือ ทนต่อการสึกกร่อนสูงมาก นอกจากนี้ยังมีสมบัติการหักงอที่อุณหภูมิต่ำดี ความร้อนสะสมขณะใช้งานต่ำจึงนิยมใช้ผสมกับยางธรรมชาติหรือยางเอสบีอาร์ในการ ผลิตดอกยางรถยนต์หรือผลิตภัณฑ์อื่นๆที่ต้องการความทนต่อการสึกกร่อนสูง เช่น ยางพื้นรองเท้า ยางกันกระแทก เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] | Carbon black | ผงเขม่าดำได้จากการเผาไหม้แบบไม่สมบูรณ์ของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม มีสีดำ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของอนุภาคปฐมภูมิอยู่ในช่วง 1-10 นาโนเมตร นิยมใช้เป็นสารเสริมแรงในอุตสาหกรรมยาง เพื่อเพิ่มความแข็งแรง และความทนต่อการสึกหรอให้แก่ผลิตภัณฑ์ยาง [เทคโนโลยียาง] | Acupuncture Anesthesia | วิชาแทงเข็มระงับความรู้สึก [การแพทย์] | Adjectival Scale | ความรู้สึกเจ็บปวดของผู้ป่วย [การแพทย์] | Adrenergic Alpha Receptor Blockaders | สารสกัดกั้นตัวรับแอลฟาแอดรีเนอร์จิก, สารสกัดกั้นหน่วยรับความรู้สึกแอลฟาอะดรีเนอร์จิก [การแพทย์] | Adrenergic Beta Receptor Blockaders | สารสกัดกั้นตัวรับบีตาแอดรีเนอร์จิก, สารสกัดกั้นหน่วยรับความรู้สึกบีตาอะดรีเนอร์จิก [การแพทย์] | Affection | อารมณ์รักและพึงใจ, ความรัก, ทัศนคติด้านความรู้สึก [การแพทย์] | Affective | ท่าทีความรู้สึกนึกคิดและเจตคติ, เจตคติ, ด้านความรู้สึก [การแพทย์] | Affective Components | ส่วนประกอบทางอารมณ์, องค์ประกอบทางด้านท่าทีความรู้สึก [การแพทย์] | Afferent Fiber Branch | เส้นประสาทนำความรู้สึกรับรส [การแพทย์] | Afferent Fibers | เส้นใยประสาทรับความรู้สึก, ใยประสาทที่รับความรู้สึก, แอ็ฟเฟอเรนท์ไฟเบอร์ [การแพทย์] | Afferent Nerve | เส้นประสาทรับความรู้สึก [การแพทย์] | Afferent Nerve Fibers | เส้นประสาทนำความรู้สึก, ใยประสาทนำเข้า [การแพทย์] | Afferent Nerve from Bladder | เส้นประสาทที่รับความรู้สึกจากกระเพาะปัสสาวะ [การแพทย์] | Afferent Nerves | ประสาทรับความรู้สึกจากสิ่งที่มากระตุ้น [การแพทย์] | Afterpain | ความรู้สึกปวดมดลูก [การแพทย์] |
| Oh, yeah! | รู้สึก! Origins of Vampire Mythology (2012) | You're not free to make your own choices. | เธอจะไม่มีอิสระในการตัดสินใจ บางครั้งเธอจะรู้สึก Aladdin (1992) | Whoa! Does it feel good to be outta there! | ว้าว รู้สึกดี จริงๆ ที่ได้ออกมาข้างนอกอีก Aladdin (1992) | Well, don't I feel just sheepish? | อา ทำไมฉันรู้สึกเชื่อฟังดีจัง Aladdin (1992) | Unbelievable sights, Indescribable feeling | วิวท่าน่าเหลือเชื่อ ความรู้สึกที่เอ่อล้น Aladdin (1992) | Hey, I was beginning to feel left out. | เอาล่ะ ฉันเริ่มรู้สึกไม่สนใจแล้วล่ะ Aladdin (1992) | -No way! Oh does that feel good! I'm free! | โอ้ รู้สึกดีอะไรเช่นนี้ ข้าเป็นอิสระ ในที่สุดข้าก็เป็นอิสระ Aladdin (1992) | Yet inside, I believe she vacillates between a feeling of godlike omnipotence and a sense that she simply doesn't exist which, of course, is intolerable. | แต่ข้างในตัวเธอ ผมเชื่อว่า... ...เธอโอนเอนอยู่ระหว่าง ความรู้สึกในการมีอำนาจเหมือนพระเจ้า... ...และสัมผัส ที่เธอไม่มีตัวตน... Basic Instinct (1992) | I feel like maybe I made it all happen. | ฉันรู้สึกเหมือน ฉันทำให้มันเกิดขึ้นมา Basic Instinct (1992) | I'm sure you've got feelings about that. | ผมแน่ใจว่าคุณก็รู้สึกอย่างนั้น Basic Instinct (1992) | T o him, the fact that I wasn't upset about Kevin Franks was proof that I must've killed him. | สำหรับเขา ความจริงที่ฉันไม่รู้สึกสลด เกี่ยวกับเควิน แฟร๊งค์... ...พิสูจน์ได้ว่าฉันฆ่าเขา Basic Instinct (1992) | I felt I owed you an apology. | ฉันรู้สึกว่าฉันติดค้างคำขอโทษคุณ Basic Instinct (1992) | However, after the trial you experienced what we might term an emotional meltdown: | ยังไงก็ตาม หลังจากการประชาทัณฑ์... ...คุณได้ประสบกับสิ่งที่อาจถูกเรียกว่า การละลายความรู้สึก Basic Instinct (1992) | I didn't know. I sensed. And I told you that as my wife in confidence. | ผมไม่เคยรู้ ผมรู้สึกได้ และผมได้บอกคุณ ในฐานะที่คุณเป็นภรรยาที่ควรจะปกปิดความลับ Basic Instinct (1992) | She felt a deep affinity for the older woman. | เธอรู้สึกผูกพันธ์อย่างลึกซึ้ง กับหญิงแก่คนนั้น Basic Instinct (1992) | Feels good, doesn't it? | รู้สึกดี ไม่ใช่เหรอ? Basic Instinct (1992) | Let's just see how she is. | ถามความรู้สึกราเชลก่อน The Bodyguard (1992) | I've never felt this safe before. | ฉันไม่เคยรู้สึกปลอดภัยเท่านี้มาก่อน The Bodyguard (1992) | I'm starting to get the feeling that I never will. | จนชักจะรู้สึกตะหงิดๆ ว่า.. จะไม่มีวันเข้าใจ The Bodyguard (1992) | Tony, I have a feeling this is the night. I think he'll go for her on camera. | ฉันรู้สึกว่ามันจะลงมือคืนนี้ล่ะ มันจะเล่นงานหน้ากล้อง The Bodyguard (1992) | Feels like tree bark. | ให้ความรู้สึกเหมือนเปลือกต้นไม้เลย Wuthering Heights (1992) | And I watched... and felt each... from the beginning. | และฉันเฝ้ามอง และรู้สึกทุกครั้ง ตั้งแต่จุดเริ่มต้น Wuthering Heights (1992) | No, I'm feeling better. | ไม่หรอก ฉันรู้สึกดีขึ้นมาแล้ว Wuthering Heights (1992) | How do you feel? | เธอรู้สึกอย่างไร Wuthering Heights (1992) | How do you feel, Catherine? | รู้สึกอย่างไร แคทเธอรีน Wuthering Heights (1992) | I feel and see only death. | ดิฉันรู้สึกและเห็นเพียงความตาย Wuthering Heights (1992) | How would you feel if I spoke badly of your father? | เธอจะรู้สึกอย่างไร หากฉันพูดไม่ดีเกี่ยวกับพ่อของเธอ Wuthering Heights (1992) | He wasn't the one the guy wanted to talk to! You were gonna do the town, remember? | ชั้นรู้สึกแย่เหมือนกันที่ให้คุณอยู่ตำแหน่งอะไรแบบนั้น Hero (1992) | I could be dead. | ตั้งใจทำงานหน่อย อย่าเอาความรู้สึกส่วนตัวมาปะปน Hero (1992) | Wash your hands. | รู้สึกแย่ๆอยู่เหมือนกันนะ Hero (1992) | You couldn't have a problem because I personally have got them all. I cornered the whole market. | นายยังคิดว่าชั้นทำเกินไปอีกมั้ยล่ะ ครับ ชั้นเริ่มรู้สึกเมื่อยเนื้อเมื่อตัวแระ ออกไปยืดเส้นยืดสายกันหน่อยมั้ย Hero (1992) | What do you mean, cutting down the homeless? | นายน่าจะรู้สึกอายกับการกระทำของตัวเองนะ Hero (1992) | Your head's going to be a blank for a while. | เธอจะรู้สึกแปลกๆนิดหน่อย The Lawnmower Man (1992) | In a while, it's going to be like... being up there with the stars, Jobe. | มันจะรู้สึกเหมือน.. ..ได้อยู่ท่ามกลางดวงดาวเลยล่ะ โจ๊บ The Lawnmower Man (1992) | You're going to feel a tingling sensation in your hands... but don't panic. | มือเธอจะรู้สึกเสียวๆ อย่าตกใจ The Lawnmower Man (1992) | In these gyrospheres, we wear full cybersuits... which allow us to enter into virtual reality and move. | ในบรรยากาศจำลอง เราต้องใส่ชุดเชื่อมระบบนั่น นั่นจะทำให้เธอรู้สึกเหมือน โลกเสมือนเป็นของจริง The Lawnmower Man (1992) | Endocrine: it carries secretions of certain glands... like the thyroid, adrenal, and pituitary... which regulate growth. | ต่อมที่ทำหน้าที่รับเพื่อสร้างความรู้สึกทั้งหมด เหมือนต่อมไทรอยด์, แอดดรีนัล และพีทูอีทารี่ ซึ่งควบคุมการเติบโต The Lawnmower Man (1992) | I think I've discovered a new planet... but one I'm inventing instead of discovering. | ฉันรู้สึกเหมือนได้ค้นพบโลกใหม่ แต่ฉันก็สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ เข้าไปในสิ่งที่ค้นพบนั้นด้วย The Lawnmower Man (1992) | I can feel you pushing. | ฉันรู้สึกได้เลย The Lawnmower Man (1992) | George, I'll tell you what. I'd feel a lot better sending the money now. | เดี๋ยว จอร์จ จะบอกให้นะ ฉันจะรู้สึกดีกว่า ถ้าส่งเงินไปตอนนี้ Of Mice and Men (1992) | How'd you like not to talk to anybody? | นายจะรู้สึกยังไง ถ้าไม่ได้คุยกับใครเลย Of Mice and Men (1992) | I like it too. It feels nice. | ฉันก็ชอบมันด้วย มันรู้สึกดี Of Mice and Men (1992) | What it feels like for a girl? | รู้สึกยังไงที่เป็นผู้หญิง The Cement Garden (1993) | Do you feel sexy when you dress up? | ตอนแต่งตัว นายรู้สึกมีอารมณ์ไหม? The Cement Garden (1993) | Well? Do you? | รู้สึกไหม? The Cement Garden (1993) | When you put your wig on and that skirt, and then you look in the mirror and see a little girl, do you get a funny feeling in your dinkie? | ก็เวลานายใส่วิก แล้วสวมกระโปรง พอส่องกระจก ก็เห็นเด็กผู้หญิงในนั้น นายรู้สึกแปลกๆตรงไอ้จู๋ป่ะ? The Cement Garden (1993) | I feel as if I've been asleep for as long as I can remember... never really been born. | รู้สึกเหมือนตัวเองหลับไหลมานาน เหมือนกับยังไม่ได้เกิดขึ้นมา The Cement Garden (1993) | It seems natural to me. | ฉันรู้สึกว่ามันเป็นธรรมชาติสำหรับฉันนะ The Cement Garden (1993) | I feel it. I'm gonna win the gold. | ผมรู้สึกได้ ผมจะได้เหรียญทลง Cool Runnings (1993) | Well, I'm sorry you feel that way. | ฉันเสียใจที่นายรู้สึกแบบนั้น Cool Runnings (1993) |
| โดยไม่รู้สึกตัว | [dōi mai rūseuk tūa] (adv) EN: unconsciously | การสึกกร่อน | [kān seukkrǿn] (n) EN: erosion ; corrosion ; abrasion | การสึกหรอ | [kān seukrø] (n) EN: wear and tear | การสึกหรอแบบขูดขีด | [kān seukrø baēp khūtkhīt] (n, exp) EN: abrasion | การสึกหรอแบบยึดติด | [kān seukrø baēp yeuttit] (n, exp) EN: adhesion | ค่าสึกหรอ | [khā seukrø] (n, exp) EN: compensation for use | คุณรู้สึกอย่างไร | [khun rūseuk yāngrai] (xp) EN: how do you feel ? FR: comment vous sentez-vous ? ; quel est votre sentiment ? ; quelles sensations ressentez-vous ? | ความรู้สึก | [khwām rūseuk] (n) EN: feeling ; emotion ; passion ; sentiment FR: sentiment [ m ] ; sensation [ f ] | ความรู้สึกเด่น | [khwām rūseuk den] (n, exp) EN: superiority feeling | ความรู้สึกด้อย | [khwām rūseuk dǿi] (n, exp) EN: inferiority feeling FR: sentiment d'infériorité [ m ] | ความรู้สึกเจ็บปวด | [khwām rūseuk jeppūat] (n, exp) EN: discomfort | ความรู้สึกเขื่อง | [khwām rūseuk kheuang] (n, exp) EN: superiority feeling FR: sentiment de supériorité [ m ] | ความรู้สึกนึกคิด | [khwām rūseuk neukkhit] (n, exp) EN: feeling ; emotion ; sentiment | ความรู้สึกผิด | [khwām rūseuk phit] (n, exp) EN: guilt ; conscience | ความรู้สึกแปลกแยก | [khwām rūseuk plaēk yaēk] (n, exp) EN: feeling of alienation | ความรู้สึกรัก | [khwām rūseuk rak] (n, exp) FR: sentiment d'amour [ f ] | ความรู้สึกรำคาญ | [khwām rūseuk ramkhān] (n, exp) EN: annoyance | ความรู้สึกสะเทือนใจ | [khwām rūseuk satheūoenjai] (n, exp) EN: sympathy ; compassion ; condolence | ความไวต่อความรู้สึก | [khwām wai tø khwām rūseuk] (n, exp) EN: sensitivity to other people's feelings | รอยสึก | [røiseuk] (n) EN: abrasion FR: abrasion [ f ] | รู้สึก | [rūseuk] (v) EN: feel ; sense ; have a feeling FR: ressentir ; éprouver | รู้สึกเบาหวิว | [rūseuk bao wiū] (v, exp) FR: avoir le coeur léger | รู้สึกใจหวิว | [rūseuk jaiwiū] (v, exp) FR: avoir le vertige | รู้สึกขอบคุณ | [rūseuk khøpkhun] (adj) EN: grateful | รู้สึกกลัว | [rūseuk klūa] (v) EN: feel afraid ; be scared | รู้สึกกลัว | [rūseuk klūa] (adj) EN: fearful ; frightened FR: effrayé | รู้สึกละอายใจ | [rūseuk la-āijai] (v, exp) EN: feel ashamed | รู้สึกไม่ดี | [rūseuk mai dī] (v, exp) EN: take offense ; have bad feelings (about) | รู้สึกไม่พอใจ | [rūseuk mai phøjai] (v, exp) EN: be displeased | รู้สึกไม่พอใจ เป็นอย่างมาก(กับ) | [rūseuk mai phøjai pen yāng māk (kap)] (xp) EN: be very displeased (with) | รู้สึกนึกคิด | [rūseuk neukkhit] (v, exp) EN: perceive ; sense ; think ; feel | รู้สึกเป็นเกียรติ | [rūseuk pen kīet] (v, exp) EN: be honoured = be honored (Am.) FR: être honoré | รู้สึกผิด | [rūseuk phit] (v, exp) EN: feel guilty ; realize FR: avoir un sentiment de culpabilité | รู้สึกปวดบ้าง | [rūseuk pūat bāng] (v, exp) EN: feel some pain FR: ressentir une douleur | รู้สึกรัก | [rūseuk rak] (v, exp) EN: feel love FR: éprouver de l'amour | รู้สึกร้อน ๆ หนาว ๆ | [rūseuk røn-røn nāo-nāo] (v, exp) EN: feel feverish ; be apprehensive ; be worried | รู้สึกเสียใจ | [rūseuk sīajai] (v, exp) EN: be sorry ; apologize ; be apologetic ; feel sorry | รู้สึกสงสาร | [rūseuk songsān] (v, exp) EN: feel sorry for ; feel pity for | รู้สึกตัว | [rūseuk tūa] (v, exp) EN: realize one's error ; become aware of ; become conscious ; come to the conscious FR: percevoir ; prendre conscience | รู้สึกไว | [rūseuk wai] (adj) FR: émotif ; susceptible | สึกกร่อน | [seukkrǿn] (v) EN: be worn away/down ; be eroded ; be corroded | สึกหรอ | [seukrø] (v) EN: wear away ; disintegrate ; be eroded ; become depleted FR: éroder ; ronger |
| unrepentant | (adj) ไม่รู้สึกว่าได้กระทำอะไรผิดไป, ไม่รู้สึกผิด | give so. the creeps | (colloq) ให้ความรู้สึกที่น่ากลัวสะหวั่นพรั่นพรึง เช่น That black cat gives me the creeps every time I see it. | give so. the creeps | (colloq) ไม่ถูกชะตา, ให้ความรู้สึกที่ไม่ชอบ เช่น He really gives me the creeps. | reassure | (vt) ปลอบใจทำให้สงบลง, ทำให้รู้สึกดีขึ้น เช่น After she had failed an examination in maths, her mother tried to reassure her. | laid-back | (adj) สบายๆ, รู้สึกสบายผ่อนคลาย เช่น I can't be laid-back. I can't be cool. ฉันไม่สามารถรู้สึกสบายปลอดโปร่งได้ ฉันไม่สามารถใจเย็นไว้ได้ | narcolepsy | (n) ชื่อโรคชนิดหนึ่ง อาการของโรคคือผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมการหลับได้ ในแต่ละวันผู้ป่วยอาจจะรู้สึกง่วงมากจนต้องหลับไปอย่างกระทันหันได้หลายๆครั้ง ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.ninds.nih.gov/disorders/narcolepsy/narcolepsy.htm http://med.stanford.edu/school/Psychiatry/narcolepsy/ | déjà vu | [เด จา วู] (n) |ที่มา:ภาษาฝรั่งเศส| ภาพหรือเหตุการณ์ที่รู้สึกว่าเคยเห็นหรือประสบมาก่อน | homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย | collectivism | (n) ความรู้สึกผูกพันกับกลุ่ม เช่น Collectivism is an answer to the first question. It says value to the collective, whether that's society, your tribe, your family, your nation and your race. | disrobe | (vi) สึก, ออกจากการเป็นพระ เช่น Monk with bad habit is disrobed. | gaslight | (vt) จัดฉากให้คนหนึ่งๆ รู้สึกว่าสิ่งที่เขาเข้าใจนั้นผิด, ปั่นหัวให้มีความเชื่อที่ผิดๆ จนทำให้เขาตั้งคำถามกับเกี่ยวกับสุขภาพจิตของตนเอง | gaslighting | (n) การจัดฉากให้คนหนึ่งๆ รู้สึกว่าสิ่งที่เขาเข้าใจนั้นผิด, การปั่นหัวให้มีความเชื่อที่ผิดๆ จนทำให้เขาตั้งคำถามกับเกี่ยวกับสุขภาพจิตของตนเอง |
| abase | (vt) ทำให้เสียเกียรติ, See also: ทำให้รู้สึกต้อยต่ำ, Syn. demean | abet | (vt) ให้กำลังใจ, See also: กระตุ้นความรู้สึกให้ดีขึ้น, Syn. incite, sanction | abrasion | (n) การถลอก, See also: การสึก | ache | (n) ความปวดร้าว, See also: ความเจ็บปวด, ความรู้สึกเจ็บปวด, Syn. dull pain, throbbing, twinge | acid | (adj) (คำพูด) ที่แหลมคม, See also: คำพูด ที่เสียดสี, ที่ทำให้รู้สึกแสบร้อน, Syn. sharp, biting | acid | (n) คำพูดที่แหลมคม, See also: คำพูดที่เสียดสี, คำพูดที่ทำให้รู้สึกแสบร้อน | aesthesia | (n) ความรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง, See also: ความรับรู้ | affect | (vt) ทำให้กระทบจิตใจ, See also: ทำให้กระทบความรู้สึก, กินใจ | affinity | (n) ความรู้สึกชอบพอ, Syn. fondness, liking, sympathy | ah | (int) ฮ้า (คำอุทานแสดงความรู้สึกยินดี, พอใจ, เสียใจหรือไม่เห็นด้วยกับคนอื่น), See also: ความเจ็บปวด, ความประหลาดใจ | analgesia | (n) ภาวะไร้ความรู้สึกเจ็บปวด | analgesic | (adj) ซึ่งทำให้ไม่รู้สึกเจ็บปวด, Syn. anesthetic | anesthesia | (n) การไร้ความรู้สึก, See also: การชา, การสูญเสียความรู้สึก, Syn. insentience, unconsciousness, numbness | anesthetic | (adj) ที่เกี่ยวกับการไร้ความรู้สึก | anesthetic | (n) ยาระงับความรู้สึก, See also: ยาชา | annoyance | (n) ความรำคาญ, See also: ความรู้สึกรำคาญ, Syn. vexation, irritation, uneasiness, Ant. pleasure, joy, delight | appreciative | (adj) รู้สึกขอบคุณ, Syn. thankful, appreciatory, grateful | ashamed | (adj) ซึ่งละอายใจ, See also: ที่รู้สึกผิด, Syn. humiliated, mortified, Ant. proud | asleep | (adj) ชา, See also: ไม่มีความรู้สึกเนื่องจากมีเลือดไปเลี้ยงไม่พอ | attrition | (n) การสึกกร่อน (โดยเฉพาะจากการเสียดสี), Syn. wearing down, friction, rubbing, Ant. buildup | add fuel to the flames | (idm) ทำให้รู้สึกรุนแรงยิ่งขึ้น | at home with | (idm) (รู้สึก) สุขสบาย (มักใช้คำกริยา be หรือ feel) (คำไม่เป็นทางการ) | awake from | (phrv) ทำให้รู้สึกตัว, See also: ทำให้ตื่นจาก, Syn. wake from | awaken from | (phrv) รู้สึกตัว (จากหลับ), See also: ตื่นจาก หลับ, Syn. arouse from | awaken from | (phrv) ทำให้เข้าใจความจริง, See also: ตื่นจากความฝัน, ทำให้รู้สึกตัว, ทำให้ตระหนักถึง, ทำให้ตื่นตัวเรื่อง, Syn. arouse from, waken from | bad blood | (n) ความเกลียดชัง, See also: ความไม่พอใจ, ความรู้สึกไม่ดีต่อกัน, Syn. hatred, Ant. affection | bad feeling | (n) ความเกลียดชัง, See also: ความไม่พอใจ, ความรู้สึกไม่ดีต่อกัน, Syn. bad blood | bigotry | (n) การแสดงความรู้สึกหรือความเชื่อที่ไม่มีเหตุผล | blandness | (n) การไม่มีอารมณ์ความรู้สึก | blank | (adj) ไม่แสดงความรู้สึก, See also: ว่างเปล่า, เฉย, Syn. expressionless | bluff | (adj) เป็นมิตรแต่พูดตรงโดยไม่สนใจความรู้สึกของคนอื่น, See also: เป็นมิตรแต่โผงผาง, Syn. outspoken | be at ease | (idm) รู้สึกสบาย | be dying of | (phrv) รู้สึก (บางอย่าง) อย่างมาก | be of | (phrv) มี (ความรู้สึก, คุณภาพ, สถานภาพฯลฯ) | be off one's chump | (idm) เสียสติ, See also: ไม่รู้สึกรับผิดชอบชั่วดี, ไม่มีสติ, Syn. go off | be off one's head | (idm) เสียสติ, See also: ไม่รู้สึกรับผิดชอบชั่วดี, ไม่มีสติ, Syn. go off | be off one's nut | (idm) เสียสติ, See also: ไม่รู้สึกรับผิดชอบชั่วดี, ไม่มีสติ, Syn. go off | be off one's rocker | (idm) เสียสติ, See also: ไม่รู้สึกรับผิดชอบชั่วดี, ไม่มีสติ, Syn. go off | be out | (phrv) ไม่รู้สึกตัว, See also: หมดสติ, Syn. knock out | be out of humour | (idm) รู้สึกอารมณ์เสีย, See also: มีอารมณ์ไม่ดี | be out of it | (idm) ไม่เข้าพวก (คำไม่เป็นทางการ), See also: รู้สึกเป็นส่วนเกิน, แตกต่างจากกลุ่ม, Syn. feel out of, leave out | be struck with | (phrv) รู้สึก, See also: มีอารมณ์ของ | black out | (phrv) เป็นลม, See also: สลบ, ไม่รู้สึกตัว, Syn. blacken out, pass out | blacken out | (phrv) เป็นลม, See also: สลบ, ไม่รู้สึกตัว, Syn. black out | bottle up | (phrv) ปิดกั้น (ความรู้สึก), See also: เก็บความรู้สึก, อดกลั้น, Syn. cork up, dam up | break down | (phrv) ควบคุมอารมณ์หรือความรู้สึกไม่ได้ | breathe again | (phrv) รู้สึกปลอดภัย, See also: ปลอดภัย | brim over with | (phrv) เต็มไปด้วยความรู้สึก (บางอย่าง), Syn. bubble over with | bring away | (phrv) กลับไปพร้อมกับ (บางสิ่งเช่น ความคิดหรือความรู้สึกบางอย่าง), Syn. come away with, go away with | bring someone to his senses | (idm) ทำให้กลับมามีเหตุผลหรือใช้เหตุผลใคร่ครวญ, See also: ทำให้รู้สึกตัว, Syn. come to |
| abrasion | (อะเบร' เชิน) n. บริเวณถลอก, รอยถลอก, รอยขัด, รอยสึก, การถลอก (ขัด, สึก) | ache | (เอค) vi., n. รู้สึกปวด, สงสาร, เวทนา, อยาก, ความปวด. -achingly adv., Syn. suffer, yearn, hurt, want | acoria | ความไม่รู้สึกหิว | aesthetic | (al) (เอสเธท' ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับความรู้สึกต่อความงาม, เกี่ยวกับสุนทรีย์ศาสตร์, เกี่ยวกับอารมณ์และความรู้สึกที่บริสุทธิ์, ทฤษฏีหรือความคิดเห็นที่ถือความงามเป็นใหญ่., Syn. esthetic al -esthetician n. | affect | (vi., vt. อะเฟคทฺ'; -n. เอฟ' แฟคทฺ, อะเฟคท'ฺ) -vt., vi. มีผลต่อ, ส่งผลต่อ, กระทบกระเทือน, ทำให้เสียใจ, ทำให้สงสาร, เป็น (โรค) , เสแสร้ง, ชอบ, โน้มเอียงไปทาง-n. ความรู้สึก, อารมณ์ | affective | (อะเฟค' ทิฟว) adj. ด้าน (ความรู้สึก) , เกี่ยวกับอารมณ์, ทำให้เกิดอารมณ์หรือความรู้สึก, | afternoons | (อาฟเทอะนูนซฺ', แอฟ-') n. รสที่ยังกรุ่นอยู่ในปาก, ความรู้สึกที่กรุ่นอยู่หลังเหตุการณ์ที่พอใจผ่านไป | algometer | (แอลกอม' มิเทอะ) n. เครื่องมือวัดความรู้สึกต่อความเจ็บปวดที่เกิดจากการกดหรือแรงกด. -algometric (al) adj. -algometry n. | allometry | (อะลิม' มิทรี) n. การเจริญเติบโตของส่วนหนึ่งของสิ่งมีชีวิตที่สัมพันธ์กับการเจริญเติบโตทั้งหมดหรือบางส่วนของสิ่งมีชีวิตนั้น, การวัดหรือสึกษาการเจริญเติบโตแบบนี้., Syn. alloimetry -allometric, alloiometric adj. | ambitendency | (แอมบิเทน' ดันซึ่) n., (pl. -cies) Psycho. ความรู้สึกรวมที่เป็นทั้งเชิงบวกและเชิงบวกและเชิงลบที่มีต่อบุคคลอื่นหรือสิ่งของ | ambivalence | (แอมบิฟ' วะลันซฺ) n. ความไม่แน่ใจ (โดยเฉพาะในการเลือกสิ่งที่ตรงกันข้าม) ความรู้สึกรวมที่มีทั้งที่เป็นเชิงบวกและเชิงลบต่อบุคคลอื่นหรือสิ่งของ. -ambivalent adj. | anaesthesia | (แอนเอสธี' เซีย) n. การไร้ความรู้สึก, การทำให้ชา, ภาวะชา. -anesthetic adj., -n. anesthetist (loss of sensation) | anaesthetize | (อะเนส' ธีไทซ) vt. ทำใ้ห้ชา, ทำให้หมดความรู้สึก -anaesthetization n., , Syn. anesthetise anesthetise | analgesia | (แอนนะจี' เซีย) n. การไร้ความรู้สึกปวด, อาการชา | anesthesia | (แอนเนสธี' เซีย) n. การไร้ความรู้สึกต่อความเจ็บปวด, อาการชา. | anesthetic | (แอนเนสเธท' ทิค) n., adj. เกี่ยวกับหรือสามารถทำให้เกิดการชาหรือไม่รู้สึกตัว, ยาชา, ยาระงับความรู้สึก, ยาสลบ, Syn. anodyne, analgesic | anesthetize | (อะเนส' ธีไทซ) vt. ทำให้หมดความรู้สึกต่อความเจ็บปวด, ทำให้ชา. (to render physically insensible) | anima | (แอน' นิมะ) n. จิตวิญญาณ, ความรู้สึกตัว, ชีวิต (soul, life, inner personality) | anticorrosion | (แอนทีคะโร' เชิน) n. การป้องกันการสึกกร่อน, การป้องกันสนิม | anticorrosive | (แอนทีคะโร' ซิฟว) adj., n. ซึ่งป้องกันหรือต้านการสึกกร่อน, กันสนิม, สารที่ฤทธิ์ดังกล่าว | antipathetic | (al) (แอนทีพาเธท' ทิค, -เคิล) adj. เป็นปรปักษ์ต่อ, ไม่ชอบ, ไม่ลงรอยต่อ, เกลียด, ไม่พอใจกับ, ทำให้มีความรู้สึกดังกล่าว (averse) | api | (เอพีไอ) ย่อมาจาก application program interface หมายถึงวิธีการอย่างหนึ่งที่ทำให้ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์รู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ง่ายขึ้นกว่าเดิม เช่น เอพีไอจะกำหนดขั้นตอนมาตรฐานให้โปรแกรมสำเร็จต่าง ๆ ทำงาน โดยวิธีให้ผู้ใช้เลือกจากรายการคำสั่ง (menu) หรือตอบคำถามในกรอบสนทนา (dialog box) แทนที่จะต้องจำคำสั่งอย่างแต่ก่อน การใช้ระบบวินโดว์บนเครื่องพีซีก็ดี OS/2 ก็ดี หรือระบบของแมคอินทอช ก็ดี ล้วนเป็นตัวอย่างที่เห็นได้ชัดของการนำเอพีไอมาใช้ | apperceive | (แอพพะซีฟว') vt. รู้สึกตัว, เข้าใจ, สำนึก (comprehend) | apple computer inc. | บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ <คำแปล>เป็นชื่อบริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแอปเปิล ชุดที่โด่งดังมาก ได้แก่ แอปเปิลทู (Apple II) และ แมคอินทอช (Macintosh) ฯ คอมพิวเตอร์แอปเปิลที่วางขาย ในตลาดรุ่นแรก ๆ นั้นเป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างความฮือฮาอย่างมากในวงการคอมพิวเตอร์ เพราะเป็นครั้งแรก (ราว ค.ศ.1977) ที่มีการผลิตคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กในราคาที่คนทั่วไปจะหาไว้ใช้เป็นสมบัติส่วนตัวได้ ผู้ที่ช่วยกันริเริ่มคิดประดิษฐ์ได้แก่ Steve Jobs กับ Steve Wozniak สองสหายวัยรุ่นที่สร้างเครื่องต้นแบบเครื่องแรกในโรงรถ ส่วนเครื่องรุ่นแมคอินทอชนั้นเป็นคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแรกที่เริ่มนำสัญรูป (icon) รายการคำสั่ง แบบดึงลง (pull down menu) กรอบสนทนา (dialog box) เมาส์ (mouse) ฯลฯ มาใช้ ทำให้คนทั่วไปเริ่มรู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ไม่ใช่ของยากอะไรเลย ปัจจุบันได้มีการพัฒนาให้หนักไปในด้านการผลิตสิ่งพิมพ์ (desktop publishing) อย่างไรก็ตาม หาใช่มีแต่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชเท่านั้นไม่ที่ใช้ระบบการทำงานดังที่กล่าวแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์พีซีก็เลียนแบบ โดยการนำเอาระบบวินโดว์มาใช้ | appreciative | (อะพรี'ชีเอทิฟว) adj. รู้สึกขอบคุณ, เห็นคุณค่า, สามารถเห็นคุณค่าหรือขอบคุณได้. -appreciativeness n., Syn. pleased | approbation | (แอพระเบ'เชิน) n. การเห็นด้วย, การแนะนำ, การยินยอม, ความรู้สึกพอใจต่อ. | atingle | (อะทิง'เกิล) adj. รู้สึกซ่า (tingling) | attachment | (อะแทช'เมินทฺ) n. การติด, การผูกติด, ภาวะที่ผูกติด, ความรู้สึกผูกพัน, การอุทิศ, สิ่งยึดติด, สิ่งที่ผูกพัน, อุปกรณ์ติดตั้ง, การยึดทรัพย์, Syn. connection, device, affinity | attrited | (อะไทร'ทิด) adj. สึกกร่อน | attrition | (อะทริช'เชิน) n. การสึกกร่อนเนื่องจากการเสียดสี, การเสียดสี, การสึกกร่อน, การลดลงของขนาดหรือจำนวน. attritional, attritive adj., Syn. erosion, weakening, wearing, Ant. buildup, reenforcement | audile | (ออ'ดิล, -ไดล์) n. ผู้มีภาพพจน์จากการฟัง, ผู้รู้สึกได้ดีจากการฟัง (auditory) | aura | (ออ'ระ) n., (pl. auras, aurae) กลิ่นไอ, รัศมี, กลด, กระแสลม, ไฟฟ้า, แสงสว่าง, ความรู้สึกสังหรณ์-aural adj., Syn. air, atmosphere | aw | (ออ) interj. คำอุทานแสดงความรู้สึกคัดค้านไม่เชื่อ รังเกียจ (an exclamation) | awake | (อะเวค') vt., vi. ปลุก, ทำให้ตื่นตัว, ทำให้รู้สึก, กระตุ้น, รู้สึกตัว. -adj. ไม่นอนหลับอยู่, ตื่นอยู่, ตื่นตัว. -awakener n., Syn. waken, awaken, wakeful, Ant. asleep, inattentive | aware | (อะแวร์') adj. รู้ตัว, รู้สึกตัว, ทราบ. | awestruck | (ออ'สทรัค) adj. รู้สึกกลัว, ตกใจกลัว, ประหม่า. -awe-struck, awe-stricken, awestricken adj. (filled with awe, awe-inspiring) | bank switching | การสลับชิปไปมาหมายถึง การสลับไปมาของการใช้ชิปในหน่วยความจำเดิมที่ติดมากับเครื่อง กับหน่วยความจำที่เพิ่มภายหลัง ที่สามารถทำได้อย่างรวดเร็ว จนกระทั่งทำให้รู้สึกเสมือนว่า หน่วยความจำทั้งสองนั้นเป็นหน่วยความจำเดียวกัน เช่น บริษัทไอบีเอ็มผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกมาขายในตลาดโดยมีหน่วยความจำติดมาภายในตัวเครื่องเพียง 640 เคไบต์ แต่เรานำไปเพิ่มหน่วยความจำเป็นถึง 16 เมกกะไบต์ การที่จะทำให้หน่วยความจำเดิมกับหน่วยความจำที่เพิ่มมาใหม่ทำงานสลับกันไปมาได้ ก็จะต้องอาศัยการสลับชิปไปมานี้ อย่างไรก็ตาม หากเราเป็นเพียงผู้ใช้เครื่อง (user) ก็ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องนี้เท่าไรนัก เป็นหน้าที่ของช่างฝ่ายเทคนิคที่จะต้องติดตั้งหรือจัดการทำให้ | bear | (แบร์) { bore, borne/born, bearing, bears } vt., vi. ค้ำ, รับ, พยุง, หนุน, แบก, รับภาระ, พบ, ทรงไว้, อดทน, ทาน, ทน, มี, ออกลูก, มีลูก, มีความรู้สึก, ถือ, พัด, พา, กด, ดัน, ให้, แสดง, ไปทาง, วางท่าทาง n. หมี, คนหยาบคาย, คนงุ่มง่าม, ชื่อดาวที่อยู่ทางทิศเหนือ (Great Bear ดาวจระเข้, Little B | beholden | (บิโฮล'เดิน) adj. ได้รับความเมตตา, รู้สึกทราบซึ้ง, Syn. obliged | breakage | (เบรค'คิจฺ) n. การแตกออก, ภาวะที่แตกออก, ค่าชำรุด, เงินค่าเสื่อมหรือสึกหรอ | callosity | (คะลอส'ซิที) n. ภาวะแข็งด้าน, ส่วนที่แข็งด้าน, ความไม่รู้สึก, ความตายด้าน | callous | (แคล'ลัส) adj. แข็ง, ด้าน, ไม่รู้สึก, ไม่สนใจ, เมินเฉย, ตายด้าน, ไม่เห็นอกเห็นใจ | cerebrum | (เซอ'ริบรัม) n. สมองใหญ่ เป็นส่วนที่อยู่ด้านหน้า แบ่งเป็น 2 ซีก มี cerebralcortex ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการติดต่อของเส้นประสาททั่วร่างกาย สมองส่วน cerebrum ทำหน้าที่เกี่ยวกับความคิด ความฉลาด ไหวพริบ ความทรงจำ ความยั้งคิดและความรู้สึกรับผิดชอบต่าง ๆ และนอกจากยัง nerve center ท่ควบคุมการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของร่างกายส่วนต่าง ๆ | chloroform | n. ยาสลบหรือระงับความรู้สึกชนิดหนึ่ง | chord | (คอร์ด) n. สายเครื่องดนตรีดีดสี, สายซอ, เส้นตรงระหว่างจุด1จุดบนเส้นรอบวง, เอ็น, เส้น, ความรู้สึก, อารมณ์, เสียงที่คล้ายเส้นเชือก, เสียงประสาน vi. ประสาน, สัมผัส vt. ดีดสายให้เสียงสัมผัสกัน, See also: chordal adj. ดูchord | cockle | (คอค'เคิล) { cockled, cockling, cockles } n. หอยแครง, หอย2ฝา, เปลือกหอย, เรือบดเล็กของเรือใหญ่, เรือเล็ก ๆ -Phr. (cockles of one's heart) ส่วนลึกของหัวใจ, ความรู้สึกที่แท้จริง. vi. หด, ย่น, เหี่ยว vt. ทำให้เหี่ยว, ทำให้หด, | cold-blooded | (โคลดฺ'บลัดดิด) adj. เกี่ยวกับสัตว์เลือดเย็น, ไร้ความรู้สึกหรืออารมณ์, อย่างเลือดเย็น (อำมหิต) , ไวต่อความเย็น, See also: cold-bloodedness n. cold-bloodededly adv., Syn. cruel, Ant. humane | cold-hearted | (โคลดฺ'ฮาร์ททิด) adj. ไร้ความปรานี, ไร้ความรู้สึก, ไร้ความกรุณา, See also: cold-heartedness n. ดูcold-hearted, Syn. indifferent, Ant. sympathetic | comatose | (คอม'มะโทส) adj. หมดสติ, สลบ, ไม่รู้สึกตัว, โคม่า, เฉื่อยชา, ไร้พลัง, ขาดความว่องไว, Syn. unconscious | connective tissue | เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เนื้อเยื่อชนิดนี้มีเซลล์น้อยแต่มี matrix มาก เนื้อเยื่อชนิดนี้พบได้ทั่วไปใปมากกว่าเนื้อเยื่อชนิดอื่นทำหน้าที่ให้เนื้อเยื่ออื่นยึดเกาะติดกัน รองรับและห่อหุ้มเนื้อเยื่ออื่น ๆ ช่วยให้อาหารให้แก่เนื่อเยื่อที่เกาะอยู่ ป้องกันและให้ความปลอดภัยแก่ร่างกายโดยทำหน้าที่ซึม ทำลายวัตถุที่แปลกปลอม ยังช่วยซ่อมแซมเนื้อเยื่อทีสึกหรอ แบ่งออกเป็น สองชนิดคือ 1.embryonic 1.1 mesenchyme เจริญมาจากชั้น mesoderm จะพบใน embryo และเจริญขึ้นอย่างรวดเร็วเป็น connective tissue ชนิดต่าง ๆ 1.2 mucous connective tissue ลักษณะคล้ายเมือกข้นที่ขับจากต่อมน้ำมูก (mucin) มีกลุ่มของอเส้นใยละเอียดสีขาว พบได้ที่สายสะดือเด็กเรียกว่า wharton's jelly 2. adult 2.1 เนื้อเยื่อเกี่ยวพันแท้ 2.2 เลือดและน้ำเหลือง 2.3 กระดูกอ่อน 2.4 กระดูกแข็ง |
| abrasion | (n) รอยขูด, รอยสึก, รอยถลอก | affective | (adj) เกี่ยวกับความรู้สึก, เกี่ยวกับอารมณ์ | agonize | (vi, vt) รู้สึกเจ็บปวด, ทนทุกข์ทรมาน, ทรมาน | anaesthesia | (n) การหมดความรู้สึก, การชา | anaesthetic | (adj) ซึ่งหมดความรู้สึก | anesthesia | (n) การหมดความรู้สึก, การชา | appreciable | (adj) ซึ่งประเมินได้, ซึ่งรู้สึกได้ | appreciative | (adj) ซึ่งเห็นคุณค่า, รู้สึกขอบคุณ | astonished | (adj) ซึ่งรู้สึกประหลาดใจ, ซึ่งอัศจรรย์ใจ | attrition | (n) การล้างผลาญ, การขัดสี, การสึกกร่อน | awake | (adj) ตื่นตัว, รู้สึกตัว | awake | (vt) ปลุก, ทำให้รู้สึกตัว, ทำให้ตื่นตัว | awakening | (n) การปลุก, การทำให้ตื่น, การทำให้รู้สึกตัว | aware | (adj) ตระหนัก, รู้, ทราบ, รู้สึกตัว | beholden | (adj) เป็นหนี้บุญคุณ, รู้สึกซาบซึ้ง, ได้รับความเมตตา | benumb | (vt) ทำให้ชา, ทำให้หมดความรู้สึก, ทำให้มึนงง | breakage | (n) การทำแตก, ค่าเสียหาย, ค่าสึกหรอ, ความแตกแยก | chill | (vi) รู้สึกเย็น, รู้สึกหนาว, สะท้าน | COLD-cold-blooded | (adj) เย็นชา, เฉยเมย, เลือดเย็น, ดุร้าย, ไม่มีความรู้สึก, อำมหิต | COLD-cold-hearted | (adj) ไม่สงสาร, ไม่ปรานี, ไม่มีความรู้สึก, ไร้ความเมตตา | coma | (n) ความไม่รู้สึกตัว, อาการสลบ, อาการหมดสติ, อาการโคม่า | conscience | (n) สติ, สติสัมปชัญญะ, ความรู้สึกผิดชอบ, คุณธรรม | conscious | (adj) มีสติอยู่, ได้สติ, รู้สึกตัว, ซึ่งมีจิตสำนึก | consciousness | (n) ความมีสติ, ความสำนึก, ความตระหนัก, ความรู้สึกตัว, จิตสำนึก | constraint | (n) การบีบบังคับ, การฝืนใจ, การจำกัด, การระงับความรู้สึก, การคุมขัง | corrosive | (adj) ซึ่งกร่อน, ผุพัง, สึกกร่อน | deaden | (vt) ทำให้มึน, ทำให้ชา, ทำให้ไม่รู้สึก, ทำให้หย่อนลง | deem | (vi) เชื่อว่า, เห็นว่า, ถือว่า, รู้สึกว่า, คิดว่า, เข้าใจว่า, ลงความเห็นว่าน | disintegrate | (vt) แยกเป็นส่วนๆ, แตกสลาย, สลายตัว, สึกกร่อน, เน่าเปื่อย | disintegration | (n) การแยกเป็นส่วนๆ, การสลายตัว, การแตกสลาย, การสึกกร่อน | emotion | (n) อารมณ์, ความรู้สึก | emotional | (adj) ซึ่งเร้าอารมณ์, ซึ่งสะเทือนอารมณ์, ตื่นเต้นง่าย, เกี่ยวกับความรู้สึก | erode | (vt) เซาะ, กัดเซาะ, ชะ, กัดกร่อน, ทำให้สึกกร่อน | experience | (vt) รู้สึก, ประสบ, พบเห็น, เคยชิน | feel | (vi, vt) รู้สึก, สำนึก, เข้าใจ, เห็นใจ, สัมผัส, คลำหา, ทาบทาม, สำรวจ | feeler | (n) ผู้สืบ, ผู้รู้สึก, สิ่งที่ทำให้รู้สึก, ความคิดเห็น, ทัศนคติ | feeling | (n) ความรู้สึก, อารมณ์, จิตใจ, ความสำนึก, ความคิดเห็น | guilty | (adj) มีผิด, รู้สึกผิด | heart | (n) หัวใจ, จิตใจ, ความรัก, ความรู้สึก, ส่วนสำคัญ, แก่น, ความกล้าหาญ | heartless | (adj) ดุร้าย, ใจร้าย, ไม่มีหัวใจ, โหดเหี้ยม, ไม่มีความรู้สึก | ICE-ice-cold | (adj) เฉยเมย, เย็นชา, เยือกเย็น, ไร้ความรู้สึก | impassible | (adj) ไม่มีความรู้สึก, ไม่สะดุ้งสะเทือน, เฉย, เย็นชา | impassioned | (adj) เร้าความรู้สึก, เร่าร้อน, กระตือรือร้น | impassive | (adj) ไม่ยินดียินร้าย, ไม่สะดุ้งสะเทือน, ไม่รู้สึกทุกข์ร้อน | impenitent | (adj) ไม่รู้สึกผิด, ดื้อดึง, ดื้อรั้น, ไม่ยอมรับ | imperceptible | (adj) รู้สึกไม่ได้, มองไม่เห็น, เล็กน้อย | impression | (n) ร่องรอย, ความรู้สึก, ความประทับใจ, รอยพิมพ์ | impressionable | (adj) รู้สึกได้ง่าย, ใจอ่อน, ไวต่อสิ่งกระตุ้น, โน้มน้าวใจง่าย | impressive | (adj) เร้าความรู้สึก, ประทับใจ, ซาบซึ้งใจ | insensate | (adj) ไม่มีความรู้สึก, อำมหิต, โหดเหี้ยม, ไม่ปรานี, ขาดสติ |
| a sense of occasion | a sense of occasion / Mostly used in UK / the feeling people have when there is a very important event or celebration: The decorations, flowers, and crowds gave the town a real sense of occasion. a sense of occasion / หลักๆใช้ในสหราชอาณาจักร์ / ความรู้สึกของผู้คนที่มีต่อการเฉลิมฉลองหรือเหตุการณ์สำคัญๆ เช่น การประดับประดาต่างๆทั้งดอกไม้และฝูงชนที่แออัดทำให้ตัวเมืองเป็นที่ตื่นตาตื่นใจไปหมด | ambivalent | (adj) ลังเล ตัดสินใจไม่ได้ รู้สึกครึ่งๆกลางๆ | Compartment syndrome | เงื่อนไขที่เจ็บปวดและอันตรายที่เกิดจากการสะสมของความดันจากเลือดออกภายในหรือบวมของเนื้อเยื่อ ความดันลดการไหลเวียนของเลือด, กีดกันกล้ามเนื้อและเส้นประสาทของการบํารุงที่จําเป็น.อาการอาจรวมถึงอาการปวดอย่างรุนแรงความรู้สึกของหมุดและเข็มและความอ่อนแอของพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ สําหรับกรณีที่รุนแรงของโรคช่องจําเป็นต้องผ่าตัดฉุกเฉิน | conciously | (adv) อย่างมีสติ, อย่างมีความรู้สึก | condition | (n) ภาวะสุขภาพผิดปกติที่รบกวนการทำกิจกรรมตามปกติหรือความรู้สึกเป็นอยู่ที่ดี | diffuse | (vt) แก้สถานการณ์หรือความรู้สึกที่เลวร้าย | ebullience | (n) ความรู้สึกร่าเริง | empathic | (adj) ความเข้าใจความรู้สึกของคนอื่น | Hypersensitivity | แพ้ (หรือที่เรียกว่าปฏิกิริยาแพ้หรือแพ้) หมายถึงปฏิกิริยาที่ไม่พึงประสงค์ที่ผลิตโดยระบบภูมิคุ้มกันปกติรวมถึงโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกันอัตโนมัติ ปฏิกิริยาแพ้ต้องมีสถานะก่อนไวต่อความรู้สึก (ภูมิคุ้มกัน) ของโฮสต์ (สัตว์หรือพืชที่เป็นที่อาศัยของปรสิต) | insensitivity | ความรู้สึกช้า, ไม่มีความรู้สึกต่อ | Mynt | (n, slang) ทุกความรู้สึกที่ทำให้รู้สึกดี, Syn. feel good | not-so-sad | (adj, slang) ที่ไม่รู้สึกแย่อะไรมาก | prejudice | (n) ความรู้สึกไม่ชอบโดยไม่มีเหตุผล (โดยมากมักเกี่ยวข้องกับ เชื้อชาติ, ศาสนา, สีผิว ฯลฯ), อคติ | restedness | [เรส-เท็ด-เนส] (n) ความรู้สึกได้พักผ่อน | sense of well-being | (phrase) ความรู้สึกดีๆ ความรู้สึกเป็นสุข ความรู้สึกสบายใจ | Simethicone | เป็นตัวแทนที่มีการใช้ยาต่อต้านฟองเพื่อลดอาการท้องอืดความรู้สึกไม่สบายหรือความเจ็บปวดที่เกิดจากก๊าซมากเกินไปซึ่งจะกลืนกินอากาศที่มีปริมาณไฮโดรเจนและมีเทนในกระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็กน้อย | subjectivity | ความรู้สึกนึกคิด | To add insult to injury | (slang) ทำให้บางคนรู้สึกแย่กว่าเดิมหลังจากที่คุณได้ทำให้เขาเจ็บใจหรือเสียใจไปแล้ว ex. After Adam broke up with me, he added insult to injury by telling me that his new girlfriend is my best friend. | under the impression | ด้วยความรู้สึกว่า | validate | (n) ทำให้คนๆ หนึ่งรู้สึกว่าตัวเองมีคุณค่า หรือรู้สึกว่าแนวคิดหรือความเห็นของเขามีคุณค่า | กุศล | (n, adj) กุศล ควรจะหมายถึง การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา | ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 | ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 | ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 | ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
| きもい | [きもい, kimoi] (slang) รู้สึกแย่ รู้สึกไม่ดี ( มาจากคำว่า 気持ち悪い ), See also: 気持ち悪い | 共感 | [きょうかん, kyoukan] (n) ความรู้สึกร่วม | 恥ずかしい | [はずかしい, hazukashii] (adj) รู้สึกอาย, ละอาย, ขายหน้า | 感謝 | [かんしゃ, kansha] (n, vt) ซาบซึ้ง, รู้สึกขอบคุณ |
| 揶揄う | [からかう, karakau] หยอกล้อ, แซว, อำ ตัวอย่าง เขาถูกอำแต่ไม่รู้สึกตัว 彼はからかわれていることに気がついていない。 | 感情 | [かんじょう, kanjou] (n) อารมณ์ ความรู้สึก | 清々 | [せいせい, seisei] (adv) รู้สึกสดชื่น ดีใจ สบายอารมณ์ | キモイ | [きもい, kimoi] (slang) รู้สึกแย่ รู้สึกไม่ดี น่าเกลียด | 摩損性 | [まそんせい, masonsei] (n) การสึกกร่อน | なんちゃって | [なんちゃって, nanchatte] (adj, phrase) คำว่า なんちゃって มีความหมายใกล้เคียงกับคำว่า กำมะลอ, จอมปลอม, ปลอม หรือ ไม่ใช้ของแท้ มักนำเอาไปขยายหน้าคำนามได้เป็นความหมาย อะไรอะไรจอมปลอม (พูดโดยใส่ความรุ้สึกอารมณ์ประชดประชัน) | 陳述 | [ちんじゅつ, chinjutsu] การแถลง(ความรู้สึกนึกคิด), การกล่าวฟ้อง(ของโจทก์) | 親近感 | [しんきんかん, shinkinkan] ความรู้สึกชอบพอ | とても | [とても, totemo] (adv) มาก (ใช้กับความรู้สึก) เช่น ชอบมาก, เหนื่อยมาก เป็นต้น | ぽっかり | [とても, pokkari] (slang) คำแสดงความรู้สึก เช่น ใจหาย หรือ รู้สึกว่างโหวงในหัวใจ (hole in heart) | 僻む | [ひがむ, higamu] (vt) (v.) น้อยใจ, รู้สึกถึงความไม่เท่าเทียม (by กิ๊ด) | 感想 | [かんそう, kansou] (n) ความรู้สึก | 磨耗 | [まもう, mamou] (n) สึก, การสึกกร่อน | 減価償却費 | [げんかしょうきゃくひ, genkashoukyakuhi] ค่าเสื่อมราคาและค่าสึกหรอ | 感性 | [かんせい, kansei] (n) ความรู้สึก | 想い | [おもい;โอโมะอิ;omoi, omoi ;] Feeling; ความรู้สึก | 現実感 | [げんじつかん, genjitsukan] (n) สัจจรส, รสแห่งความจริง, ความรู้สึกว่าเป็นเรื่องจริง | ような気がする | [ようなきがする, younakigasuru] รู้สึกเหมือนว่า |
| 気分 | [きぶん, kibun] TH: อารมณ์ความรู้สึก EN: feeling | 浮かべる | [うかべる, ukaberu] TH: แสดงความรู้สึกออกมา EN: to express | 思う | [おもう, omou] TH: รู้สึก EN: to feel | 感じる | [かんじる, kanjiru] TH: รู้สึก EN: to feel | 触れる | [ふれる, fureru] TH: รู้สึก EN: to feel | 痛む | [いたむ, itamu] TH: รู้สึกเจ็บปวด EN: to feel a pain | 見直す | [みなおす, minaosu] TH: รู้สึกกับ(เขา)ดีขึ้นกว่าที่เคยผ่านมา EN: to get a better opinion of | 知る | [しる, shiru] TH: รู้สึก EN: to feel | 触る | [さわる, sawaru] TH: รู้สึก EN: feel | 恐れ入る | [おそれいる, osoreiru] TH: รู้สึกเกรงใจ EN: to be grateful |
| Er kommt erst heute nach seinem Urlaub. | เขาเพิ่งจะมาวันนี้หลังจากที่หยุดพักร้อนมา, erst ใช้เสริมเหตุการณ์ที่ผู้พูดรู้สึกว่า เพิ่งเกิดขึ้น, ไม่นานมานี้ | kalt | (adj) เย็นชา, ไร้ความรู้สึก, เมินเฉย, See also: Syn. eisig, frostig | sich langweilen | รู้สึกเบื่อ เช่น Heute langweile ich mich furchtbar. วันนี้ฉันเบื่อมาก | fühlen | (vt) |fühlte, hat gefühlt| รู้สึก, See also: das Gefühl | sich fühlen | (vt) รู้สึก เช่น Wie fühlen Sie sich in Deutschland? คุณรู้สึกอย่างไรที่เยอรมนี | spüren | (vi, vt) |spürte, hat gespürt| รู้สึกถึง, รับความรู้สึก, รับรู้ เช่น Du sollst spüren, daß sie immer für dich da ist. นายควรรับรู้ไว้ว่าเธออยู่ตรงนี้เสมอสำหรับนาย (สังเกตความแตกต่างระหว่าง spüren และ fühlen โดยมาก fühlen ใช้บ่งความรู้สึกทางร่างกาย เช่น Ich fühle mich schlecht.ซึ่งจะไม่พูดว่า Ich spüre schlecht. ), See also: Related: fühlen | kurzweilig | (adj, adv) สนุกสนาน เพลิดเพลิน หรือ ช่วงเวลาที่เรารู้สึกว่าเวลาผ่านไปรวดเร็ว, See also: A. langweilig | an etw. Gefallen finden | (phrase) รู้สึกชอบทำในสิ่งนั้นๆ เช่น an Kartespielen Gefallen finden = ชอบเล่นไพ่ | ungemütlich | (adj, adv) ที่ไม่สะดวก, ที่รู้สึกไม่สะดวก, ที่ไม่สบาย, ที่รู้สึกไม่สบาย, See also: unwohl, A. gemütlich, bequem, wohl, wohlfühlend, Syn. unbequem | schuldbewusst | (adj, adv) (สีหน้า)ที่แสดงว่ารู้สึกผิดในสิ่งที่ได้ทำลงไป | etw. nimmt etw.(D) den Stachel. | (idiomatisch) สิ่งหนึ่งทำให้ความรู้สึกอึดอัด หรือความไม่สบายใจของอีกสิ่งหนึ่งลดลง | elend | (adj, adv) หดหู่, เศร้าสร้อย, ไม่มีความสุข เช่น Ich fühle mich heute elend. วันนี้ผมรู้สึกหดหู่จัง, See also: unglücklich, verzweifelt, Syn. traurig | verwirrt | (adj) ที่สับสน เช่น Ich bin verwirrt. ฉันรู้สึกสับสน, See also: durcheinander | knallhart | (adv) โดยไม่คำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น เช่น ich hab' ihm knallhart meine Meinung gesagt! = ผมแสดงความคิดเห็นกับเขาโดยไม่ต้องเกรงใจอะไร, See also: schonungslos, Syn. deutlich | dankbar | (adj) รู้สึกสำนึกในบุญคุณ, รู้สึกขอบคุณ เช่น Ich bin dafür sehr dankbar, was du für mich getan hast. ผมรู้สึกสำนึกในบุญคุณสำหรับทุกอย่างที่คุณทำให้ผมนะครับ | zartfühlend | (adj) คำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่นมาก, See also: taktvoll, Syn. rücksichtsvoll | kaltbleiben | (vi) |blieb kalt, ist kalt geblieben| ไม่มีความรู้สึกร่วม, มีแต่ความเย็นชา | wach | (adj) รู้สึกตัวตื่น เช่น Ich bleibe gern eine Weile weiter im Bett nachdem ich wach war. ฉันชอบอยู่บนเตียงต่ออีกเดี๋ยวหลังจากที่รู้สึกตัวตื่นแล้ว | zornig | (adj) โกรธ, รู้สึกโกรธ เช่น Er ist immer noch zornig auf mich. เขายังโกรธฉันอยู่, See also: sauer, Syn. böse | beleidigt | (adv) |über etw.(A)| รู้สึกถูกดูถูกเหยียดหยาม เช่น Er ist beleidigt darüber, dass ich ihm die Meinung gesagt habe. เขารู้สึกถูกดูถูกที่ฉันได้พูดความคิดเห็นออกไป | erwachen | (vi) |erwachte, ist erwacht| รู้สึกตัวตื่น(จากการนอนหลับ, ความสนใจตื่นตัว) เช่น Ihr Interesse ist erwacht. ความสนใจของหล่อนได้ถูกปลุกขึ้น, Syn. wach werden | aufwachen | (vi) |wachte auf, ist aufgewacht| รู้สึกตัวตื่น(จากการนอนหลับ) เช่น Ich brauche keinen Wecker. Ich wache von selbst auf. ฉันไม่ต้องใช้นาฬิกาปลุก ฉันตื่นได้เอง, See also: erwachen, Syn. wach werden | erstaunt | (adj, adv) รู้สึกทึ่ง, รู้สึกประหลาดใจ(ทางบวก) เช่น Sie ist über die Nachricht so erstaunt. เธอรู้สึกทึ่งเกี่ยวกับข่าวนี้ | erschrecken | (vi) |erschrickt, erschrak, ist erschrocken| รู้สึกตกใจ, ตกใจ, ถูกทำให้ตกใจ เช่น Er war blaß, daß seine Eltern erschraken. เขาหน้าซีดที่เห็นพ่อและแม่ตกใจ | Mitleid | (n) |das, nur Sg.| ความเห็นใจ, ความสงสาร เช่น Ich habe Mitleid mit ihr. ฉันรู้สึกเห็นอกเห็นใจเธอคนนั้น |
| | avoir froid | (phrase) รู้สึกหนาว, หนาวตัว เช่น j'ai froid! = ฉันหนาวจัง, Ant. avoir chaud | sentir | (vt) รู้สึก, เช่น รูป รส กลิ่น เสียง และ ความรู้สึก | agréable | (adj) (มักใช้กับบรรยากาศหรือสถานที่) อบอุ่น, น่ารักดี, ให้ความรู้สึกดี เช่น Ce restaurant est très agréable. |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |