ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: อธรรม, -อธรรม- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ PET Scan | (n, vt) PET Scan ย่อมาจาก Positron Emmision Tomography เป็นเครื่องมือใหม่ที่ใช้เพื่อ ตรวจหาการกระจายและปริมาณความผิดปกติของสารเภสัชรังสีโพสิตรอน ทำให้ข้อมูลที่ได้จาก PET มีความแตกต่างจากเครื่องมืออื่นๆ ซึ่งเรารู้จักกันดี เช่น การตรวจด้วย ultrasound, CT และ MRI ที่ส่วนใหญ่จะแสดงเพียงลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค การตรวจด้วย PET เป็นการถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีที่สลายตัวให้โพสิตรอน (positron) สารเภสัชรังสีเหล่านี้จะสัมพันธ์และแสดงถึงขบวนการชีววิทยาต่างๆ ในร่างกาย ทำให้เราสามารถตรวจขบวนการเผาผลาญ (metabolism) ของเซลล์ได้ หลักการของเครื่องตรวจนี้คือ ใช้้ในการตรวจหาเซลล์ที่มีเมตะบอลลิสม์ผิดปกติ เป็นการตรวจหาการทำงานของเซลล์และผ่านกลวิธีทำให้ออกมาเป็นรูปให้เราเห็น ในการตรวจมะเร็งปอดเราใช้น้ำตาล เมื่อเราทำให้น้ำตาลนั้นจับกับสารกัมมันตภาพ (Glucose 2-fluoro-2-deoxy-D-glucose หรือ FDG) ฉีดเข้าไปในเลือด เซลล์ไหนที่มีเมตะบอลลิสม์สูงจะใช้น้ำตาลมาก เช่น เซลล์ของมะเร็ง เซลล์ไหนที่ตายหรือมีเมตะบอลลิสม์ต่ำจะใช้น้ำตาลน้อย เมื่อใช้ Radiotracer จับปริมาณกัมมันตภาพ เราจะพบว่าก้อนมะเร็งนั้นมีกัมมันตภาพสูงกว่าเนื้อธรรมดาและใช้ตรวจทั้งตัว ก็ได้ |
| เหนือธรรมชาติ | (adj) supernatural, Ant. ตามธรรมชาติ, Example: ตอนนี้ภาพยนตร์แนวเหนือธรรมชาติกำลังได้รับความนิยมจากผู้ชมอย่างสูง, Thai Definition: ที่แปลกไปจากหลักเหตุผลตามธรรมชาติที่ควรจะเป็น | อำนาจเหนือธรรมชาติ | (n) supernatural power, See also: supernatural, Syn. พลังเหนือธรรมชาติ, Example: มนุษย์นีแอนเดอธัลเป็นมนุษย์พวกแรกที่มีความเชื่อในอำนาจเหนือธรรมชาติ |
|
| อธรรม | (อะทำ) ว. ไม่เป็นธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ยุติธรรม. | อธรรม | (อะทำ) น. ความไม่มีธรรม, ความชั่วร้าย. | ขุทกนิกาย | น. ชื่อคัมภีร์นิกายที่ ๕ แห่งพระสุตตันตปิฎก แปลว่า หมวดเล็กน้อย รวบรวมข้อธรรมะที่ไม่อยู่ใน ๔ นิกายข้างต้น มี ๑๕ เรื่อง ซึ่งมีธรรมบทและชาดก รวมอยู่ในคัมภีร์นี้ด้วย. | ทำวัตร | ก. กระทำกิจที่พึงกระทำตามหน้าที่หรือธรรมเนียมเช่นไหว้พระสวดมนต์เช้าคํ่าของพุทธบริษัท, ทำวัตรพระ ก็ว่า | ธรรมกาย | น. “กายคือธรรม” ได้แก่ พระบริสุทธิคุณ พระปัญญาธิคุณ และพระมหากรุณาธิคุณ | ธรรมขันธ์ | ข้อธรรม (กำหนดข้อธรรมในพระไตรปิฎกว่ามี ๘๔, ๐๐๐ พระธรรมขันธ์). | ธรรมรัตน์ | น. แก้วคือธรรม. | ธรรมาธรรม | (ทำมา-) น. ธรรมและอธรรม, ความถูกและความผิด, ยุติธรรมและอยุติธรรม. | ธรรมาธิปไตย | (ทำมาทิปะไต, ทำมาทิบปะไต) น. การถือธรรมเป็นใหญ่, การถือความถูกต้องเป็นหลัก. | ธรรมายตนะ | (ทำมายะตะนะ) น. แดนที่ต่อคือธรรมารมณ์, แดนที่ต่อกับใจ ได้แก่อารมณ์ที่ใจรู้ หรือเรื่องที่ใจรู้. | ภาณวาร | ข้อธรรมที่จัดไว้เป็นหมวด, ข้อธรรมหมวดหนึ่ง ๆ สำหรับสาธยาย. | มนู | น. ชื่อพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก มี ๑๔ องค์ เรียงกันเป็นยุค ๆ ไป, ยุคหนึ่งเรียกว่า มนวันดร นานกว่า ๔, ๐๐๐, ๐๐๐ ปี องค์แรก คือ พระสวายมภูวะ พระมนูองค์นี้ถือกันว่าเป็นผู้ทรงออกกฎหมายหรือธรรมศาสตร์ซึ่งยังมีอยู่ตราบเท่าทุกวันนี้เรียกว่า มนุสัมหิตา หรือ มนุสมฺฤติ, เพราะฉะนั้น คำ มนู จึงหมายถึงกฎหมายก็ได้ เช่น มนูกิจ. | มายาการ | น. ความเชื่อถือและการปฏิบัติที่มุ่งให้เกิดผลด้วยการใช้พลังหรืออำนาจเหนือธรรมชาติ เช่นของขลัง พิธีกรรม หรือหลักลี้ลับ บังคับให้เป็นไปตามที่ตนต้องการ. | รถตีนตะขาบ | น. รถชนิดหนึ่งซึ่งมีสายพานหุ้มล้อ สามารถขับเคลื่อนไปในภูมิประเทศที่เป็นทุ่งนาป่าเขาได้ดีกว่ารถที่ใช้ล้อธรรมดา. | วัชรยาน | น. ชื่อหนึ่งของลัทธิพุทธตันตระ ซึ่งถือว่ามีหลักปรัชญาสูงเหนือธรรมชาติ มีความแข็งเหมือนเพชร ใสเหมือนอากาศ ไม่มีใครต้านทานได้เหมือนสายฟ้า จึงเรียกหลักปรัชญานั้นว่า วัชระ และเรียกลัทธิว่า วัชรยาน. | สติปัฏฐาน | น. ชื่อธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งสติ ๔ อย่าง คือ กาย เวทนา จิต ธรรม. | สภาพเดิม | น. ลักษณะหรือภาวะหรือธรรมชาติที่เป็นมาแต่แรก. | สัญนิยม | (สันยะนิยม) น. การปฏิบัติหรือธรรมเนียมทั่วไปที่ใช้กันอยู่ในกลุ่มสังคมในขณะนั้น เช่น การไหว้เป็นสัญนิยมอย่างหนึ่งของคนไทย การใช้ตะเกียบคีบอาหารเป็นสัญนิยมในการกินอาหารของคนจีน. | สิ่งศักดิ์สิทธิ์ | น. สิ่งหรือภาวะที่เชื่อว่ามีอำนาจเหนือธรรมชาติ สามารถบันดาลให้เป็นไปหรือให้สำเร็จได้ดังปรารถนา เช่น ขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์บันดาลให้เขาหายจากโรคร้าย. | ให้แรง | ก. ทำให้มีกำลังเพิ่มขึ้นเป็นต้น มักใช้กับสิ่งนอกเหนือธรรมชาติตามความเชื่อ เช่น ผีให้แรง เทวดาให้แรง. | อ ๒ | (อะ) เป็นอักษรใช้นำหน้าคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต บอกความปฏิเสธหรือตรงกันข้าม แปลว่า ไม่ หรือ ไม่ใช่ เช่น อศุภ (ไม่งาม) อธรรม (ไม่ใช่ธรรม) | อนุสติ | ชื่อธรรมหมวดหนึ่ง เรียกว่า อนุสติ ๑๐ มีพุทธานุสติเป็นต้น. | อภิธรรม | (อะพิทำ) น. ชื่อธรรมะชั้นสูง มี ๗ คัมภีร์ ได้แก่ ๑. สังคณี ๒. วิภังค์ ๓. ธาตุกถา ๔. ปุคคลบัญญัติ ๕. กถาวัตถุ ๖. ยมก ๗. ปัฏฐาน นิยมใช้สวดในงานศพ. | อริยสัจ | ชื่อธรรมสำคัญหมวดหนึ่งในพระพุทธศาสนา มี ๔ ข้อ คือ ๑. ทุกข์ ๒. ทุกขสมุทัย (เหตุให้เกิดทุกข์) ๓. ทุกขนิโรธ (ความดับทุกข์) และ ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา หรือ มรรค (ทางแห่งความดับทุกข์). | อังคุตรนิกาย | (-คุดตะระ-) น. ชื่อคัมภีร์นิกายที่ ๔ แห่งพระสุตตันตปิฎก แสดงหลักธรรมโดยแบ่งเป็นหมวด เรียงลำดับตามจำนวนหัวข้อธรรมะตั้งแต่ ๑ หัวข้อถึง ๑๑ หัวข้อ. |
| | Influence on nature | อิทธิพลต่อธรรมชาติ [TU Subject Heading] | Supernatural | สิ่งเหนือธรรมชาติ [TU Subject Heading] | Judicial Settlement | การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946 [การทูต] | Presentation of Credentials | หมายถึง การยื่นสารตราตั้ง เป็นธรรมเนียมปฏิบัติทางการทูตว่า ผู้ใดได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศใดประเทศหนึ่ง ก่อนที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่ จะต้องนำสารตราตั้ง (Credentials) ไปยื่นต่อประมุขของรัฐนั้น ๆ พิธียื่นสารตราตั้งจะกระทำไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ แล้วแต่จะพิจารณาเห็นความเหมาะสม และความเคร่งต่อธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติติดต่อกันมาเป็นสำคัญ เช่น อังกฤษเป็นประเทศหนึ่งที่พิธียื่นสารตราตั้งของเอกอัครราชทูตต่อองค์ประมุข ของประเทศค่อนข้างวิจิตรพิสดารมาก ส่วนบางประเทศมีพิธียื่นสารอย่างง่าย ๆ แทบจะไม่มีพิธีรีตองอย่างใดในสหรัฐอเมริกา ณ กรุงวอชิงตันดีซี พิธียื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดีของสหรัฐฯ กระทำอย่างเรียบง่าย กล่าวคือ พอถึงเวลาที่กำหนดในวันยื่นสารตราตั้ง อธิบดีกรมพิธีการทูตหรือผู้แทนของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ จะนำรถยนต์ลีมูซีนสีดำไปยังทำเนียบของเอกอัครราชทูต เพื่อรับเอกอัครราชทูตและครอบครัวไปยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ณ ตึกทำเนียบขาว ( White House)มีข้อน่าสนใจอันหนึ่งคือ ทางฝ่ายสหรัฐฯ จะสนับสนุนให้เอกอัครราชทูตพาภรรยาและบุตรทั้งชายหญิงไปร่วมในการยื่นสารตรา ตั้งนั้นด้วย การแต่งกายของเอกอัครราชทูตก็สวมชุดสากลผูกเน็คไทตามธรรมดา ระหว่างที่ยื่นสารมีการปฏิสันถารกันพอสมควรระหว่างเอกอัครราชทูตกับ ประธานาธิบดีสหรัฐฯมีช่างภาพของทางราชการถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก และมอบภาพถ่ายให้แก่เอกอัครราชทูตในวันหลัง (ต่างกับพิธีของอังกฤษมาก) เอกอัครราชทูตไม่ต้องพาคณะเจ้าหน้าที่ของสถานเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย หลังจากพบกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ แล้ว อธิบดีกรมพิธีการทูตจะนำเอกอัครราชทูตและครอบครัวกลับไปยังทำเนียบที่พักโดย รถยนต์คันเดิม เป็นอันเสร็จพิธียื่นสารตราตั้ง โดยที่ประเทศต่าง ๆ ในโลกต่างมีสถานเอกอัครราชทูตของตนตั้งอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซี ดังนั้น ในวันไหนที่มีการยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ทางการทำเนียบขาวมักจะกำหนดให้เอกอัครราชทูตใหม่จากประเทศต่าง ๆ เข้ายื่นสารในวันนั้นราว 4-5 ประเทศติดต่อกัน มิใช่วันละคนอย่างที่ปฏิบัติในบางประเทศทันทีที่เอกอัครราชทูตยื่นสารตรา ตั้งต่อประธานาธิบดีเรียบร้อยแล้ว เอกอัครราชทูตจะมีหนังสือเวียนไปยังหัวหน้าคณะทูตทุกแห่งในกรุงวอชิงตันดีซี แจ้งให้ทราบว่าในวันนั้น ๆ เขาได้ยื่นสารตราตั้งต่อประมุขของรัฐ ในฐานะเอกอัครราชทูตเรียบร้อยแล้ว พร้อมกับแสดงความหวังในหนังสือว่าความสัมพันธ์อันดีที่มีอยู่ระหว่างคณะผู้ แทนทางการทูตทั้งสอง ทั้งในทางราชการและทางส่วนตัว จะมั่นคงเป็นปึกแผ่นยิ่งขึ้นอีก จากนั้น เอกอัครราชทูตใหม่ก็จะหาเวลาไปเยี่ยมคารวะเอกอัครราชทูตของประเทศต่าง ๆ ที่ประจำอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซีทีละราย กว่าจะเยี่ยมหมดทุกคนก็กินเวลานานอยู่หลายเดือนทีเดียว [การทูต] | Reciprocity of Rank of Envoys | หมายถึง การถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกันในเรื่องตำแหน่งของทูต กล่าวคือ ประเทศทั้งหลายถือธรรมเนียมปฏิบัติในการแลกเปลี่ยนทูตที่มีตำแหน่งเท่าเทียม กัน ดังนั้น หากประเทศหนึ่งส่งทูตไปประจำอีกประเทศหนึ่ง ในตำแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม ประเทศนั้นก็คาดว่าประเทศผู้รับย่อมจะให้ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน โดยส่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มของตนไปประจำที่ประเทศผู้ส่งด้วย พึงสังเกตว่าการถ้อยทีถ้อยปฏิบัติกันเช่นนี้มิใช่เป็นระเบียบข้อบังคับของ กฏหมายระหว่างประเทศ หากเป็นการแสดงไมตรีจิตมิตรภาพต่อกันระหว่างประเทศทั้งหลายมากกว่า [การทูต] |
| อำนาจเหนือธรรมชาติ | [amnāt neūa thammachāt] (n, exp) EN: supernatural power ; supernatural FR: pouvoir surnaturel [ m ] | อธรรม | [atham] (adj) EN: unjust ; unfair ; unprincipled ; unscrupulous ; unrighteous ; bad ; evil FR: injuste ; inéquitable | เหนือธรรมชาติ | [neūa thammachāt] (adj) EN: supernatural FR: surnaturel |
| metamorphose into | (phrv) เปลี่ยน (รูปร่างหรือธรรมชาติของบางสิ่ง) ไปเป็น, Syn. change into | numinous | (adj) ซึ่งเป็นเรื่องเหนือธรรมชาติเกี่ยวกับพระเจ้า (คำทางการ), Syn. mysterious | occult | (adj) เกี่ยวกับเวทมนตร์, See also: เกี่ยวกับผีเวทมนตร์คาถา, ซึ่งเหนือธรรมชาติ, Syn. magical, supernatural, Ant. natural | occult | (n) เวทมนตร์, See also: หลักเหนือธรรมชาติ, ทุกสิ่งที่เกี่ยวกับเวทมนตร์คาถา | occult science | (n) การศึกษาเรื่องเหนือธรรมชาติ, See also: การใช้เวทมนตร์คาถา, การศึกษาเรื่องเร้นลับ | salt lick | (n) สถานที่สัตว์ป่าไปเลียเกลือธรรมชาติที่มีอยู่บนพื้นดิน, See also: ก้อนเกลือสำหรับสัตว์ออกไปเลียกิน | superhuman | (adj) เหนือผู้คน, See also: เหนือธรรมดา, Syn. supernatural | supernatural | (adj) เหนือธรรมชาติ, Syn. paranormal, unnatural, Ant. natural | supernatural | (n) สิ่งที่เหนือธรรมชาติ, See also: ปรากฏการณ์หรืออำนาจที่เหนือธรรมชาติ | transcendental | (adj) ดีกว่า, See also: ยอดเยี่ยม, เหนือธรรมชาติ | unearthly | (adj) ไม่เกี่ยวกับโลกมนุษย์, See also: เกี่ยวกับภูติผีปีศาจ, เหนือธรรมชาติ, ประหลาดพิกล, Syn. ungodly, eerie, ghostly, spooky, supernatural, uncanny | unjust | (adj) ไม่ยุติธรรม, See also: อธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่เป็นธรรม, Syn. unfair, Ant. fair | visitant | (n) สิ่งเหนือธรรมชาติ เช่น ผี วิญญาณ, Syn. spirit | weird | (adj) แปลกประหลาด, See also: อัศจรรย์, อภินิหาร, เหนือธรรมชาติ, Syn. supernatural, unearthly, unnatural, Ant. average, normal, typical | zombie | (n) อำนาจเหนือธรรมชาติที่ทำให้ศพกลับมามีชีวิตอีกครั้ง | zombie | (n) เทพเจ้างูในแอฟริกาตะวันตกและหมู่เกาะแถบอินเดียตะวันตก, อำนาจเหนือธรรมชาติที่ทำให้ศพกลายเป็นสิ่งมีชีวิตได้ |
| aclassis | ภาวะที่เนื้อเยื่อเจริญผิดปกติกลมกลืนเข้ากับเนื้อเยื่อธรรมดา | armageddon | (อาร์มะเกด'ดอน) n. สนามรบระหว่างธรรมกับอธรรม (ตามพระคัมภีร์ไบ เบิล) , การสู้รบครั้งใหญ่และถึงที่สุด | blue nose | (บลู'โนส) n. ผุ้เคร่งครัดในหลักคือธรรม | deism | (ดี'อิสซึม) n. ความเชื่อในการมีพระเจ้าแต่ไม่เชื่อในสิ่งที่เหนือธรรมชาติ | lese majesty | (ลิซ แมจ'เจสทิ) n. ความผิดอาญาฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ, ความผิดฐานหมิ่นประมุขของรัฐ, การหักหาญจารีตประเพณีหรือธรรมเนียมปฏิบัติ., Syn. lesemajeste | metamorphose | (เมททะมอร์'โฟซ) vt. เปลี่ยนรูปแบบหรือธรรมชาติของ | paranormal | (แพระนอร์'มัล) adj. ไม่ปกติ, เหนือธรรมชาต, ปาฏิหาริย์ | salt lick | n. สถานที่สัตว์ป่าไปเลียเกลือธรรมชาติที่มีอยู่บนพื้นดิน, ก้อนเกลือสำหรับปศุสัตว์ไปเลียกิน | supernatural | (ซูเพอแนช'เชอเริล) adj. เหนือธรรมชาติ, อภินิหาร, ศักดิ์สิทธิ์, ประหลาด, มหัศจรรย์, เกินปกติ, คาดไม่ถึง, เกี่ยวกับภูติผีปีศาจ, เทพยดานางฟ้า. n. สิ่งที่เหนือธรรมชาติ, การกระทำของเทพเจ้า, See also: supernaturalism n. | talmud | (ทาล'มุด, แทล'มุด) n. คัมภีร์หรือธรรมนูญโบราณของยิว, See also: Talmudic adj. Talmudical adj. Talmudism n. | transcend | (แทรสเซนดฺ') vt., vi. อยู่เหนือ, อยู่เลย, อยู่นอกเหนือ, ทำได้ดีกว่า, ชนะ, มีชัย, อยู่เหนือธรรมชาติ., See also: transcendingly adv. | transcendent | (แทรนเซน'เดินทฺ) adj. อยู่เหนือ, อยู่นอกเหนือ, อยู่เลย, เหลือล้น, เหลือเกิน, มีกว่า, ยอดเยี่ยมกว่า, มีชัย, เหนือธรรมชาติ, เหนือโลก, เหนือจักรวาล. n. สิ่งยอดเยี่ยม, บุคคลยอดเยี่ยม, อัจฉริยบุคคล., See also: trancendence, transcendency n. | unearthly | (อันเอิร์ธ'ลี) adj. ไม่ใช่ของโลกมนุษย์, เกี่ยวกับภูติผีปีศาจ, เหนือธรรมชาติ, ประหลาดพิกล., See also: unearthliness n., Syn. stellar | vernacular | (เวอแนค'คิวละ) adj. เกี่ยวกับภาษาพื้นเมือง, เกี่ยวกับภาษาท้องถิ่น, ใช้ภาษาธรรมดา ๆ ที่ใช้กันประจำวัน, เกี่ยวกับชื่อทั่วไปของสัตว์หรือพืช. n. การพูดภาษาพื้นเมือง, ภาษาพื้นเมือง, ภาษาท้องถิ่น, ภาษาที่ใช้กันประจำวัน, ชื่อธรรมดาหรือชื่อทั่วไปของสัตว์หรือพืช |
| | | 行事 | [ぎょうじ, gyouji] TH: งานหรือพิธีการที่จัดขึ้นเป็นประจำเป็นประเพณีหรือธรรมเนียมของสังคม |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |