มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ อยู่แล้ว | ว. แย่แล้ว เช่น เอะกูอยู่แล้วนะเสนี เห็นไพรีจะมากมายหลายหมื่น (สังข์ทอง). | กวนน้ำให้ขุ่น | ก. ทำเรื่องราวที่สงบอยู่แล้วให้เกิดเป็นปัญหาขึ้นมา. | กินอยู่กับปาก อยากอยู่กับท้อง | ก. รู้ดีอยู่แล้วแสร้งทำเป็นไม่รู้. | แก้วสารพัดนึก | น. แก้วที่เชื่อกันว่า ถ้าผู้ใดมีอยู่แล้ว นึกอะไรได้อย่างใจ. | ชู้ | ชายที่ร่วมประเวณีกับภรรยาคนอื่น, หญิงที่ยังมีสามีอยู่แล้วร่วมประเวณีกับชายอื่น เรียกว่า หญิงมีชู้, เรียกชายหรือหญิงที่ใฝ่ในทางชู้สาว ว่า เจ้าชู้. | ซ้อน | ว. มีหรือทำอย่างเดียวกันกับที่มีหรือทำอยู่แล้ว เช่น เขามีประชุมซ้อน | ซ้อน | ลักษณะที่จอดรถหรือเรือเรียงขนานกับอีกคันหนึ่งหรือลำหนึ่งที่จอดอยู่แล้ว เรียกว่า จอดรถหรือเรือซ้อนกัน. | ฐิตะ | (ถิตะ) ก. ยืนอยู่, ตั้งอยู่แล้ว. | ตะ | ก. ทา ฉาบ หรือแต้มด้วยปรอทที่มีเนื้อทองปนอยู่แล้วไล่ด้วยความร้อนให้ปรอทคายทองติดกับเนื้อโลหะนั้น เช่น พานถมตะทอง ขันถมตะทอง. | ตักบาตรอย่าถามพระ | ก. จะให้อะไรแก่ผู้ที่เต็มใจรับอยู่แล้ว ไม่ควรถาม. | เต้น | ก. กิริยาที่ยืนอยู่แล้วยกเท้าขึ้น ๆ ลง ๆ ถี่ ๆ, เคลื่อนไหวขึ้น ๆ ลง ๆ หรือไป ๆ มา ๆ เช่น เนื้อเต้น อกเต้น, ยกขาขึ้นลงให้เข้าจังหวะกับดนตรี เช่น เต้นระบำ. | ทรง | ใช้นำหน้าคำนามราชาศัพท์ให้เป็นกริยาราชาศัพท์ เช่น ทรงพระสรวล ทรงพระเมตตา ทรงพระประชวร, ในลักษณะนี้จะหมายความว่า มี ก็ได้ เช่น ทรงพระปรีชาสามารถ ทรงพระคุณ ทรงพระนาม, เมื่อกริยาเป็นราชาศัพท์อยู่แล้วไม่ใช้คำว่า ทรง นำหน้าซ้อนลงไปอีก เช่น ไม่ใช้ว่า ทรงตรัส ทรงประทับ ทรงพระราชทาน ให้ใช้ว่า ตรัส ประทับ พระราชทาน. | ทรัพย์สินส่วนพระองค์ | น. ทรัพย์สินที่เป็นของพระมหากษัตริย์อยู่แล้วก่อนเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ หรือทรัพย์สินที่รัฐทูลเกล้าฯ ถวาย หรือทรัพย์สินที่ทรงได้มาไม่ว่าในทางใดและเวลาใด นอกจากที่ทรงได้มาในฐานะที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ทั้งนี้ รวมทั้งดอกผลที่เกิดจากบรรดาทรัพย์สินเช่นว่านั้นด้วย. | ทัณฑกรรม | โทษทางวินัยสถานหนึ่งตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหารและกฎหมายว่าด้วยวินัยตำรวจ คือ ให้ทำงานโยธา งานสุขา งานสาธารณประโยชน์ หรือให้อยู่เวรยาม นอกจากหน้าที่ประจำซึ่งตนจะต้องปฏิบัติอยู่แล้ว. | บ่ง ๑ | ก. ชี้, ระบุ, อ้างหรือแสดงให้รู้โดยเจาะจง, เช่น การกระทำของเขาบ่งชัดอยู่แล้วว่าเขาเป็นผู้กระทำผิด. | บอกหนังสือสังฆราช | ก. สอนสิ่งที่เขารู้ดีอยู่แล้ว, สอนหนังสือสังฆราช ก็ว่า. | ผีซ้ำด้ำพลอย | น. เคราะห์เดิมร้ายหนักอยู่แล้ว ยังมีเคราะห์อื่นซ้ำเข้ามา ทำให้เคราะห์หนักยิ่งขึ้น เช่น เขาตกงานแล้วขโมยยังขึ้นบ้านเอาข้าวของไปหมดอีก ผีซ้ำด้ำพลอยจริง ๆ. | ยังแล้ว | ว. อยู่แล้ว, ให้เสร็จไป. | รำรำ, ร่ำร่ำ | ว. จวนเจียน, เกือบ, ตั้งท่าขยับ, เช่น รำรำจะวิวาทกันอยู่แล้ว, ลำลำ ก็ว่า. | รู้กันอยู่ในที | ก. รู้เรื่องดีอยู่แล้วระหว่างกันโดยไม่ต้องพูดออกมา เช่น เขารู้กันอยู่ในทีแล้วว่าจะยกมรดกให้แก่ผู้ใด. | เรียบเรียง | ก. แต่ง เช่น เรียบเรียงข้อความ เรียบเรียงถ้อยคำ, ตกแต่งถ้อยคำให้สละสลวยและเรียงลำดับความให้ชัดเจน เช่น แปลและเรียบเรียงหนังสือ, จัดเสียงเพิ่มเติมจากทำนองที่มีอยู่แล้วตามหลักวิชาการดนตรีเพื่อให้บทเพลงไพเราะขึ้น ในความว่า เรียบเรียงเสียงประสาน. | เรื้อ | น. เรียกข้าวเปลือกที่ตกอยู่แล้วงอกขึ้นจนออกรวงอีก ว่า ข้าวเรื้อ, บางทีก็เรียกว่า ข้าวเรื้อร้าง, ใช้เรียกพืชผลบางชนิดที่เกิดขึ้นในทำนองนี้ เช่น แตงโม ว่า แตงโมเรื้อ. | ล้น | ก. พ้นหรือเลยระดับที่เปี่ยมอยู่แล้วจนไหลออกมา เช่น น้ำล้นตุ่ม ข้าวสารล้นกระสอบ, เกินกำหนดจนคงอยู่ไม่ได้ เช่น คนมากจนล้นห้องประชุม. | ล้ม | ก. กิริยาที่ตั้งอยู่แล้วเอนลงหรือทอดลงถึงพื้นหรือทลายลง เช่น ต้นไม้ล้ม ล้มตัวลงนอน ตึกล้ม, ทำให้มีอาการเช่นนั้น เช่น ล้มจอมปลวก ถูกผลักล้มลง, ตั้งอยู่ไม่ได้ เช่น กิจการล้ม ธนาคารล้ม โรงเรียนล้ม | ล้ม | ว. ที่ตั้งอยู่แล้วเอนลงหรือทอดลงถึงพื้นหรือทลายลง เช่น ไม้ล้มข้ามได้ คนล้มอย่าข้าม | ละเมียบ | ก. ตีแต่งเหล็กที่เป็นรูปอยู่แล้วให้เรียบเป็นมัน, ลำเมียบ ลำเลียบ หรือ ลำเวียน ก็ว่า. | ลำเมียบ | ก. ตีแต่งเหล็กที่เป็นรูปอยู่แล้วให้เรียบเป็นมัน, ละเมียบ ลำเลียบ หรือ ลำเวียน ก็ว่า. | ลำลำ | ว. จวนเจียน, เกือบ, ตั้งท่าขยับ, เช่น ลำลำจะวิวาทกันอยู่แล้ว, รำรำ หรือ ร่ำร่ำ ก็ว่า. | ลำเลียบ | ก. ตีแต่งเหล็กที่เป็นรูปอยู่แล้วให้เรียบเป็นมัน, ละเมียบ ลำเมียบ หรือ ลำเวียน ก็ว่า. | ลำเวียน | ก. ตีแต่งเหล็กที่เป็นรูปอยู่แล้วให้เรียบเป็นมัน, ละเมียบ ลำเมียบ หรือ ลำเลียบ ก็ว่า. | วงเล็บปีกกา | น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ { } สำหรับใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกันเพื่อให้รู้ว่าเป็นกลุ่มเดียวกันหรือเชื่อมโยงกัน อาจใช้เพียงข้างใดข้างหนึ่งก็ได้ เช่น
ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อกั้นสมาชิกของเซตหรือกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บแบบอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น A = { 2, 4, 6, 8 }, 2x – 5{ 7 – (x – 6) + 3x } – 28 = 39. | วงเล็บเหลี่ยม | น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ ตรี อมาตยกุล ] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[ x + 4 – 3{ x + 5 – 4(x + 1) } ] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [ Ba2+ ][ F−2 ] = 1.05.10−6, Na2[ Fe(Cn)5(NO) ]·2H2O. | ว่าไปทำไมมี | ก. พูดไปก็เสียเวลาเปล่า ๆ เช่น ว่าไปทำไมมี เมื่อก่อนก็ไม่มีสมบัติอะไรติดตัวอยู่แล้ว | สอนจระเข้ให้ว่ายน้ำ | ก. สอนสิ่งที่เขารู้ดีหรือที่เขาถนัดอยู่แล้ว. | สอนหนังสือสังฆราช, บอกหนังสือสังฆราช | ก. สอนสิ่งที่เขารู้ดีอยู่แล้ว. | สินเดิม | น. ทรัพย์สินที่ฝ่ายชายหรือฝ่ายหญิงมีอยู่แล้วก่อนสมรส หรือทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างเป็นสามีภรรยาโดยทางพินัยกรรม หรือมีผู้ยกให้โดยเสน่หา เมื่อพินัยกรรมหรือหนังสือยกให้นั้นแสดงไว้ว่าให้เป็นสินเดิม. | หนอนม้วนใบข้าว | ชื่อหนอนผีเสื้อหลายชนิดในสกุล Cnaphalocrocisและ Marasmia วงศ์ Pyralidae ตัวหนอนใสสีเขียวอ่อน หัวสีน้ำตาล ม้วนใบข้าวตามยาวเป็นที่อยู่แล้วกัดกินผิวใบอยู่ภายใน ทุกชนิดเป็นศัตรูข้าว ชนิดที่พบมากที่สุด ได้แก่ ชนิด C. medinalis (Guenée) ตัวหนอนยาวประมาณ ๑๒ มิลลิเมตร, หนอนห่อใบข้าว ก็เรียก. | หนุบ, หนุบ ๆ | อาการที่ติดแน่นอยู่แล้วดึงออกมามีเสียงดังเช่นนั้น. | หลุดมือ | ก. หลุดไปจากมือ เช่น ปลาหลุดมือไป, โดยปริยายหมายความว่า สูญเสียสิ่งที่มีอยู่แล้ว เช่น พอมีการเปลี่ยนรัฐบาล ตำแหน่งของเขาก็หลุดมือไป, คาดว่าจะได้แต่ไม่ได้ เช่น ตำรวจคาดว่าจะจับผู้ร้ายได้ แต่ไปถึงผิดเวลาไปหน่อยเดียว ผู้ร้ายจึงหลุดมือไปได้. | ใหม่ | ว. เพิ่งมี เช่น มาใหม่ รุ่นใหม่, มีอีกนอกจากที่เคยมีอยู่แล้ว เช่น มีเมียใหม่, ซํ้า เช่น พูดใหม่ ทำใหม่ อ่านใหม่, อีกครั้งหนึ่ง เช่น ตื่นมาแล้ว กลับไปนอนใหม่, ยังไม่ได้ใช้ เช่น ของใหม่, ไม่เคยประสบมาก่อน เช่น ความรู้ใหม่ เพลงใหม่, เริ่มแรก เช่น ข้าวใหม่ นักเรียนใหม่ | อนุรักษนิยม | (อะนุรักสะนิยม, อะนุรักนิยม) น. อุดมคติทางการเมือง การเศรษฐกิจ เป็นต้น ที่มีแนวโน้มไปในทางต้านทานการเปลี่ยนแปลง โดยยึดถือสนับสนุนระเบียบที่ตั้งมั่นอยู่แล้ว. | อัญประกาศเดี่ยว | น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ ‘ ’ สำหรับเขียนคร่อมคำหรือข้อความที่ซ้อนอยู่ภายในข้อความที่มีเครื่องหมายอัญประกาศอยู่แล้ว. | อ้าขาผวาปีก, อ้าขาพวาปีก | ก. หาเรื่องมาเป็นภาระของตนโดยไม่จำเป็น เช่น เขามีฐานะยากจนอยู่แล้วยังจะอ้าขาผวาปีกไปขอเด็กมาเลี้ยงเป็นลูกบุญธรรมอีก งานก็มากอยู่แล้ว ทำไมจะต้องอ้าขาพวาปีกไปรับงานอื่นมาอีก. |
|
| Aide-memoire หรือ Memoire | แปลตามตัวอักษรว่า ช่วยความจำ เป็นหนังสือโต้ตอบทางการทูตประเภทหนึ่ง คือ บันทึกสังเขปของการเจรจาที่ได้กระทำกันเสร็จสิ้นแล้ว บันทึกช่วยจำเช่นนี้ไม่มีการกล่าวนำเป็นทางการและไม่มีการลงชื่อ ซึ่งจะมอบให้แก่กันเมื่อเสร็จการเจรจากันแล้ว ความมุ่งหมายของบันทึกนี้คือ เพื่อบันทึกข้อเท็จจริงไว้เป็นหลักฐานซึ่งผู้รับบันทึกทราบดีแล้วบันทึกช่วย จำก็คือ บันทึกสรุปการสนทนาทางการทูตอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผู้แทนหรือพนักงานทางการทูตกับหัวหน้าหรือพนักงานของกระทรวงการต่าง ประเทศ จุดประสงค์ตามที่ชื่อบ่งอยู่แล้วว่า เป็นการสรุปประเด็นต่าง ๆ ในการสนทนาเพื่อเตือนความจำนั้นเอง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะมอบบันทึกนี้ไว้กับกระทรวงการต่างประเทศ ในบันทึกนั้นบรรทัดแรกจะระบุว่าใครเป็นผู้ส่งและใครเป็นผู้รับบันทึก ผู้ส่งบันทึกจะต้องลงชื่อย่อกำกับบันทึกไว้ด้วยบันทึกช่วยจำอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า pro memoria โดยปกติภาษาที่ใช้ใน pro memoria จะมีลักษณะถ้อยคำเป็นทางการมากกว่า aide-memoire [การทูต] | Diplomatic Privilege of Accommodation | มาตรา 21 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตบัญญัติไว้ว่า ?1. รัฐผู้ต้อนรับจะต้องอำนวยความสะดวกตามบทกฎหมายของประเทศของตน ในการจัดการให้ได้มาซึ่งดินแดนของตนให้แก่รัฐผู้ส่ง ซึ่งจำเป็นแก่การปฏิบัติภาระหน้าที่ของรัฐนั้น หรือช่วยเหลือให้รัฐผู้ส่งได้รับอาคารที่พำนักด้วยวิธีการหนึ่งใด 2. ในกรณีจำเป็น รัฐผู้รับจะต้องช่วยให้คณะเจ้าหน้าที่ทางการทูต ได้มีสถานที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม?เมื่อตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่ง ตั้งได้เดินทางไปถึงประเทศที่เขาจะเข้าดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ณ ที่นั้นมีคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลของเขาประจำทำงานอยู่แล้ว ตามปกติตัวแทนทูตดังกล่าวจะมีสำนักงานทางการทูตตั้งอยู่แล้วในสถานที่เหมาะ สม มีอุปกรณ์เครื่องใช้ไม้สอยสำหรับการปฏิบัติงานโดยครบครัน และผู้ที่ดำรงตำแหน่งก่อนหน้าเขาหรืออุปทูตชั่วคราวมักจะเตรียมการไว้ก่อน แล้วเกี่ยวกับที่พักอาศัย เรียกว่าทำเนียบ นอกจากว่าจะมีทำเนียบตั้งอยู่ภายในบริเวณตึกสถานเอกอัครราชทูตซึ่งรัฐบาลของ เขาเป็นเจ้าของเองแต่ถ้าหากตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ จะต้องตั้งคณะผู้แทนทางการทูตในประเทศที่เขาเข้าดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรก ก็จะต้องประสบกับปัญหาเรื่องหาสถานที่สำหรับใช้เป็นที่ตั้งสถานเอกอัคร ราชทูตขึ้น ในกรณีเช่นนี้จึงจำเป็นจะต้องอาศัยคำแนะนำและความช่วยเหลือจากกระทรวงการ ต่างประเทศของรัฐผู้รับ กระทรวงการต่างประเทศของบางประเทศจะมีแผนกหนึ่งทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกแก่คณะทูตต่างประเทศโดยเฉพาะ เป็นแผนกหนึ่งในกรมพิธีการทูต ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องทำนองนี้อยู่แล้ว [การทูต] | Cancer, Invasive | มะเร็งที่ลุกลามอยู่แล้ว [การแพทย์] | Causes, Precipitating | เหตุซ้ำเติม, สาเหตุที่กระตุ้นให้ผู้ที่จะเป็นโรคอยู่แล้ว, ชนวนและสาเหตุอื่น [การแพทย์] | Data, Existing | ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว [การแพทย์] | Diastolic Volume, Residual | ช่วงไดแอสโตลิกจะมีเลือดปริมาณหนึ่งอยู่แล้ว [การแพทย์] | retrospective | retrospective, การวิเคราะห์เนื้อเยื่อที่มีเก็บไว้อยู่แล้ว (analysis of already collected/existing tissues) [ชีวจริยธรรม] | consumer | ผู้บริโภค, สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | spur gears | เฟืองตรง, ชุดเฟืองที่ทำงานโดยการหมุนเฟืองตัวหนึ่งรอบแกนเพลาและส่งแรงหมุนนั้นไปยังเฟืองอีกตัวหนึ่งผ่านทางฟันของเฟืองทั้งสองที่สบกัน เฟืองที่ต่ออยู่กับต้นกำเนิดของแรงเรียกว่า เฟืองขับ ส่วนเฟืองที่สบอยู่แล้วหมุนตามเรียกว่า เฟืองตาม โดยเฟืองทั้งสองตัวจะหมุนในทิศทางตรงก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Immunopersons | ผู้มีภูมิคุ้มกันโรคดีอยู่แล้ว [การแพทย์] | Insulin, Stored | อินซูลินที่มีอยู่แล้ว [การแพทย์] |
| แน่อยู่แล้ว | [naē yū laēo] (x) EN: of course FR: évidemment |
| VAR | (uniq) ย่อมาจาก Value-Added Reseller หมายถึงบริษัทหรือองค์กรที่นำเอาผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่แล้ว มาเพิ่มมูลค่าโดยทำการปรับปรุงให้เหมาะกับงานเฉพาะด้าน แล้วขายเป็นผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ |
| be at the end of one's rope | (idm) เกือบจะทนไม่ไหวอยู่แล้ว | forthcoming | (adj) ซึ่งมีพร้อมอยู่แล้ว, See also: ซึ่งเตรียมพร้อมอยู่แล้ว | gild the lily | (idm) ตกแต่งเพิ่มเติมให้กับสิ่งที่ดีอยู่แล้ว, See also: เสริมแต่ง | out of the frying-pan into the fire | (idm) มีสภาพแย่ยิ่งกว่าเดิม, See also: เปลี่ยนสถานภาพจากเดิมที่แย่อยู่แล้วให้แย่ลงไปอีก | Possession is nine points of the law | (idm) ในการโต้เถียงเพื่อใช้ หรือเป็นเจ้าของทรัพย์สิน สิ่งของคนที่อยู่ตรงนั้น หรือใช้สิ่งของนั้นอยู่แล้วมักคือคนมีโอกาสได้รับ | preach to the converted | (idm) สอนจรเข้ให้ว่ายน้ำ, See also: สอบหรือบอกคนอื่นให้ทำในสิ่งที่เขาเป็นอยู่แล้ว | loom | (vi) ปรากฏขึ้นมาลางๆ, See also: จวนจะเกิดอยู่แล้ว, ใกล้จะมาถึง, Syn. be imminent | this | (pron) นี้ (ใช้แทนคำนามที่กล่าวถึงหรือทราบกันดีอยู่แล้ว), Syn. the one, this one, that |
| already | (ออลเรด' ดี) adj. อยู่แล้ว, เสียแล้ว, แล้ว, เรียบร้อยแล้ว, Syn. before now, by now | broken-down | adj. แย่มาก, มีสุขภาพทรุดโทรม, เกือบจะล้มอยู่แล้ว | compatibility | ความเข้ากันได้ความใช้แทนกันได้การเทียบเคียงกันได้หมายถึง ความสามารถในการทำงานของอุปกรณ์หรือโปรแกรมที่สามารถเทียบแทนกันได้กับอุปกรณ์หรือโปรแกรมที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับอยู่แล้ว เช่น ถ้าใช้ว่า "IBM Compat" ก็แปลความได้ว่าคอมพิวเตอร์นั้นไม่ใช่ยี่ห้อไอบีเอ็ม แต่ผลิตขึ้นมาด้วยมาตรฐานเดียวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็ม และสามารถนำมาใช้แทนเครื่องไอบีเอ็มได้ (หมายถึง ใช้โปรแกรมหรือคำสั่งต่าง ๆ ของไอบีเอ็มได้นั่นเอง) | computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล | drop-down list box | ช่องเลือกแบบดึงลงในระบบวินโดว์ จะมีช่องสองช่องที่แสดงบนจอภาพ ช่องแรกมีไว้ให้พิมพ์ชื่อแฟ้มข้อมูลลงไป ส่วนอีกช่องหนึ่ง จะมีรายชื่อให้เลือกหาเอาโดยกดเมาส์ที่ลูกศรที่บาร์เลื่อนจอ ภาพ (scroll bar) เช่น ในการสั่งเก็บหรือบันทึกแฟ้มข้อมูลลงในจานบันทึก เราอาจเลือกหาชื่อที่แสดงอยู่ในช่องให้เลือกนี้ (ถ้ามีอยู่แล้ว) เมื่อพบแล้ว ก็กดเมาส์ที่ชื่อนั้น หรือถ้ารู้แน่ว่าไม่มี จะพิมพ์ชื่อแฟ้มข้อมูลใหม่ลงไปในช่องสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ อีกช่องหนึ่งเลยก็ได้ | insert mode | ภาวะแทรกหมายถึง ภาวะที่เราสามารถพิมพ์แทรก คำ ข้อความ หรือตัวอักษรเข้าไปได้ โดยปกติในการพิมพ์ จะมี 2 ภาวะ ภาวะแรกเรียกว่า ภาวะแทรก หมายถึงการพิมพ์อักขระแทรกลงไป โดยที่อักขระตัวที่มีอยู่แล้วถอยกระเถิบไปให้ ส่วนอีกภาวะหนึ่ง ก็คือ การพิมพ์ทับลงไปบนอักขระเก่า ที่ให้ของเก่าหายไป ถ้าต้องการให้อยู่ในภาวะแทรก ก็กดแป้น Insert ถ้าต้องการพิมพ์ทับ ก็กดแป้นนี้ซ้ำอีกครั้งหนึ่ง | momentary | (โม'เมินเทอรี) adj. ชั่วประเดี๋ยว, ชั่วขณะ, ประเดี๋ยวเดียว, สั้นมาก, ทุกขณะ, ซึ่งใกล้จะมาถึง, ซึ่งจวนจะเกิดอยู่แล้ว., See also: momentariness n. | netbios | (เน็ตไบออส) ย่อมาจาก Network Basic Input / Output System หมายความถึงไบออสที่ทำหน้าที่เป็นตัวกำหนดเกี่ยวกับชนิดของอุปกรณ์นำเข้าและแสดงผล ตลอดจนหน่วยความจำที่จะใช้ในเครือข่าย เพื่อช่วยไบออสของแต่ละเครื่องที่มีอยู่แล้วอีกทีหนึ่ง ดู Bios ประกอบ | network basic input / out | ไบออสเครือข่ายใช้ตัวย่อว่า NetBIOS (อ่านว่า เน็ตไบออส) หมายความถึงไบออสที่ทำหน้าที่เป็นตัวกำหนดเกี่ยวกับชนิดของอุปกรณ์นำเข้าและแสดงผล ตลอดจนหน่วยความจำที่จะใช้ในเครือข่าย เพื่อช่วยไบออสของแต่ละเครื่องที่มีอยู่แล้วอีกทีหนึ่ง ดู BIOS ประกอบ | relative address | เลขที่อยู่สัมพัทธ์หมายถึงเลขที่อยู่ (address) ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง โดยใช้จำนวนไบต์ จากเลขที่อยู่อื่นที่มีอยู่แล้ว เช่น เลขที่อยู่สัมพัทธ์ของ "0004" บ่งชี้ว่าข้อมูลนั้นได้เก็บเอาไว้ ห่างจากเลขที่อยู่อีกอันหนึ่งไปอีก 4 ที่ เป็นต้น | save as | หมายถึง การสั่งเก็บแฟ้มข้อมูลโดยต้องมีการกำหนดชื่อ ถ้ามีชื่อเก่าอยู่แล้ว จะใช้ชื่อเดิมหรือกำหนดชื่อใหม่ก็ได้ แต่ถ้าจะเปลี่ยนที่เก็บ (path) หรือเปลี่ยนรูปแบบการเก็บ (format) ก็ต้องใช้คำสั่ง save as (แทนที่จะใช้ save) บางโปรแกรมผู้ใช้สามารถกำหนดรูปแบบการเก็บได้ด้วย เช่น โปรแกรม Excel จะเก็บเป็นแฟ้มข้อความธรรมดา (text) หรือ เป็นตารางจัดการ (work sheet) ฯ ก็ได้ โปรแกรม PageMaker ก็ให้เลือกเก็บเป็น "ต้นแบบ" หรือ เก็บเป็นแฟ้มเข้อมูลธรรมดาก็ได้ดู save เปรียบเทียบ | terminate-and-stay-reside | terminate-and-stay-resident program โปรแกรมค้างในหน่วยความจำใช้ตัวย่อว่า TSR (อ่านว่า ทีเอสอาร์) หมายถึง โปรแกรมชนิดพิเศษที่จะอยู่ใน RAM เสมอ สามารถเรียกหาได้โดยการกดแป้นคำสั่งที่กำหนดไว้เป็นพิเศษ การเรียกโปรแกรมประเภทนี้ จะเรียกได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะกำลังทำโปรแกรมอะไรอยู่ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน เรามีระบบวินโดว์ ซึ่งทำให้เราเรียกโปรแกรมมาใช้พร้อม ๆ กันหลายโปรแกรมได้อยู่แล้ว โปรแกรมประเภท TSR จึงไม่เป็นที่นิยมอีกต่อไป | tsr | ทีเอสอาร์ <คำอ่าน>ย่อมาจาก terminate and stay resident program แปลว่า โปรแกรมค้างในหน่วยความจำ หมายถึง โปรแกรมชนิดพิเศษที่จะอยู่ในแรม (RAM) เสมอ สามารถเรียกหาได้โดยการกดแป้นคำสั่งที่กำหนดไว้เป็นพิเศษ การเรียกโปรแกรมประเภทนี้ จะเรียกได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะกำลังทำโปรแกรมอะไรอยู่ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน เรามีระบบวินโดว์ ซึ่งทำให้เราเรียกโปรแกรมมาใช้พร้อม ๆ กันหลายโปรแกรมได้อยู่แล้ว โปรแกรมประเภท TSR จึงไม่เป็นที่รู้จักอีกต่อไป |
| a bird in the hand is worth two in the bush | สิ่งที่มีอยู่แล้วย่อมดีกว่าสิ่งที่อยากได้ | dispatcher | (n) คือผู้มีหน้าที่รับลงทะเบียน ยอดจำนวนลูกค้าที่ Sender แต่ละคน มาแจ้งให้ทราบและเรียกรถยนต์VIP ซึ่งจอดรออยู่แล้วให้มารับ-ส่ง ลูกค้า (รถเบ็นซ์, วอลโว่, ครามลีย์) ค้นหาเพิ่มเติมได้ที่ http://en.wikipedia.org/wiki/Dispatcher | กิ๊ก | (n) คนที่มีแฟนอยู่แล้ว แต่มีเพื่อนเพศตรงข้ามเพิ่มอีกคนหรือมากกว่าหนึ่งคน ที่ให้ความสำคัญพอๆ กับแฟนแต่ไม่ใช่แฟน |
| klar! | (adj) แน่นอนอยู่แล้ว, See also: selbstverständlich | entdecken | (vt) |entdeckte, hat entdeckt| ค้นพบ (สิ่งที่มีอยู่แล้ว) เช่น Kolumbus hat Amerika entdeckt. | anscheinend | (adv) เป็นที่เห็นได้ชัด (ตัดสินหรือคาดการณ์จากสิ่งที่เห็นหรือสังเกตได้) เช่น Sein Koffer ist nicht mehr da. Anscheinend ist er schon weggefahren. กระเป๋าเดินทางของเขาไม่อยู่แล้ว เขาคงจะออกเดินทางไปแล้ว, See also: scheinbar, Syn. vermutlich |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |