Titanium dioxide | ไทเทเนียมไดออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Solid oxide fuel cell | เซลล์เชื้อเพลิงออกไซด์ของแข็ง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Cerium oxide | เซอเรียมออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Nitrogen dioxide | ไนโตรเจนไดออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Nitrogen oxide | ไนโตรเจนออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Hydrogen peroxide | ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Transition metal oxide | โลหะทรานซิชันออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Metallic oxide | โลหะออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Zinc oxide | สังกะสีออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Advanced Gas-cooled Reactor | เครื่องปฏิกรณ์ขั้นสูงระบายความร้อนด้วยแก๊ส, เอจีอาร์, <em>เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์</em>ผลิตไฟฟ้าแบบหนึ่ง ใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ระบายความร้อน โดยพัฒนามาจากแบบที่ระบายความร้อนด้วยน้ำ ตัวอย่างของเครื่องปฏิกรณ์ชนิดนี้คือเครื่องปฏิกรณ์ Hinkley Point B อยู่ทางตะวันตกของประเทศอังกฤษ ใช้ยูเรเนียมไดออกไซด์ (มียูเรเนียม-235 ร้อยละ 1.4 ถึง 2.6) เป็นเชื้อเพลิง และใช้แกรไฟต์เป็น<strong>สารลดความเร็วนิวตรอน</strong> เครื่องปฏิกรณ์นี้ สามารถผลิตไอน้ำที่มีอุณหภูมิสูงถึง 540 องศาเซลเซียส และความดัน 16 เมกะพาสคัล ทำให้มีประสิทธิภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้าได้สูงถึงร้อยละ 40 ซึ่งสูงเท่ากับโรงไฟฟ้าพลังเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในปัจจุบัน [นิวเคลียร์] |
Carbon-14 | คาร์บอน-14, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุคาร์บอน มีครึ่งชีวิต 5, 730 ปี เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นบนของโลก โดยอนุภาคนิวตรอนที่เกิดมาจากรังสีคอสมิกไปชนนิวเคลียสของธาตุไนโตรเจนเกิดเป็นคาร์บอน-14 และถูกออกซิไดส์ไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่วงจรของสิ่งมีชีวิต หลังจากสิ่งมีชีวิตตายไป จะไม่มีการแลกเปลี่ยนกับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศอีก คาร์บอน-14 ที่มีอยู่ก็จะสลายลดลงด้วยอัตราที่สามารถทราบได้ จึงใช้ในการคำนวณอายุซากสิ่งมีชีวิตและวัตถุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ (ดู Radiocarbon dating ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Coolant | ตัวทำให้เย็น, สารระบายหรือถ่ายโอนความร้อนที่หมุนเวียนในระบบระบายความร้อนของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เช่น น้ำ น้ำมวลหนัก อากาศ คาร์บอนไดออกไซด์ โซเดียมเหลว และโลหะผสมโซเดียม-โพแทสเซียม [นิวเคลียร์] |
Yellow cake | เค้กเหลือง, สารผสมของยูเรเนียมออกไซด์หลายชนิด (โดยเทียบออกไซด์ทุกชนิดให้อยู่ในรูปของ U3O8) มีลักษณะเป็นผงละเอียด ได้จากกระบวนการสกัดสินแร่ยูเรเนียมจากเหมือง มีสีเหลือง ส้ม หรือเขียวคล้ำ ขึ้นอยู่กับสัดส่วนชนิดของออกไซด์ และอุณหภูมิที่ใช้ขณะผลิต โดยอุณหภูมิที่สูงกว่าจะทำให้มีสีเข้มขึ้น เค้กเหลืองใช้เป็นสารตั้งต้นในกระบวนการผลิตเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ [นิวเคลียร์] |
Carbon dioxide | คาร์บอนไดออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Carbon dioxide laser | คาร์บอนไดออกไซด์เลเซอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
MOX | ม็อกซ์, เชื้อเพลิงออกไซด์ผสม, เชื้อเพลิงเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่มีส่วนผสมของยูเรเนียมออกไซด์และ พลูโทเนียมออกไซด์ ซึ่งต่างจากเชื้อเพลิงทั่วไปที่ใช้ยูเรเนียมออกไซด์อย่างเดียว [นิวเคลียร์] |
Sulphur dioxide | ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Silicon oxide | ซิลิกอนออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Zirconium oxide | เซอร์โคเนียมออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Tributyltin oxide | ไตรบิวทิลทินออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Mixed oxide fuel | เชื้อเพลิงออกไซด์ผสม, ม็อกซ์, เชื้อเพลิงเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่มีส่วนผสมของยูเรเนียมออกไซด์และพลูโทเนียมออกไซด์ ซึ่งต่างจากเชื้อเพลิงทั่วไปที่ใช้ยูเรเนียมออกไซด์อย่างเดียว [นิวเคลียร์] |
Gas cooled reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ชนิดระบายความร้อนด้วยแก๊ส, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้แก๊ส เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นตัวระบายความร้อนออกจากแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ [นิวเคลียร์] |
Zinc oxide | สังกะสีออกไซด์ [TU Subject Heading] |
Atmospheric nitrogen oxides | ไนโตรเจน ออกไซด์ในบรรยากาศ [TU Subject Heading] |
Atmospheric sulphur dioxide | ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ในบรรยากาศ [TU Subject Heading] |
Carbon dioxide | คาร์บอน ไดออกไซด์ [TU Subject Heading] |
Carbon dioxide lasers | เลเซอร์ คาร์บอน ไดออกไซด์ [TU Subject Heading] |
Carbon dioxide mitigation | การลดคาร์บอน ไดออกไซด์ [TU Subject Heading] |
Ferric oxide | เหล็กออกไซด์ [TU Subject Heading] |
Nitric oxide | ไนตริกออกไซด์ [TU Subject Heading] |
Nitrogen dioxide | ไนโตรเจน ไดออกไซด์ [TU Subject Heading] |
Nitrogen oxides | ไนโตรเจน ออกไซด์ [TU Subject Heading] |
Nitrous oxide | ไนตรัสออกไซด์ [TU Subject Heading] |
Sulphur dioxide | ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ [TU Subject Heading] |
Transition metal oxides | ออกไซด์ของโลหะเปลี่ยนสถานะ [TU Subject Heading] |
GCR type reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ชนิดระบายความร้อนด้วยแก๊ส, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้แก๊ส เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นตัวระบายความร้อนออกจากแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ [นิวเคลียร์] |
Sesquan | คราบเซสควิกออกไซด์, Example: คราบที่เกิดจากการเคลื่อนย้ายของสารประกอบ เหล็กและอะลูมิเนียมจากดินชั้นบนลงไป เคลือบตามผิวของเม็ดแร่รอบหน่วย โครงสร้างดินและผนังช่องว่างในดิน [สิ่งแวดล้อม] |
Chlorine Dioxide | คลอรีนไดออกไซด์, Example: CLO2, ก๊าซระเบิดได้ สีส้ม ละลายน้ำได้และไม่เสถียร ใช้ในการบำบัดน้ำ เพื่อกำจัดรสและกลิ่น อาจใช้เป็นสารฟอกสีสำหรับเยื่อไม้ ไขมัน น้ำมัน [สิ่งแวดล้อม] |
Bioethanol | ไบโอเอทานอล, เอทานอลที่ได้จากกระบวนการย่อยสลาย หรือกระบวนการหมักสารอินทรีย์รวมทั้งของเสียในสภาวะไร้อากาศ มักประกอบด้วยมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์ สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
Biogas | ไบโอก๊าซ, ไบโอก๊าซ คือก๊าซที่เกิดจากกระบวนการย่อยสลายหรือกระบวนการหมักสารอินทรีย์ รวมทั้งของเสียในสภวะไร้อากาศ ซึ่งสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ มักประกอบด้วยมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์ [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
Activator | สารเคมีหรือส่วนผสมของสารเคมีทำหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของตัว เร่งปฏิกิริยาให้สามารถเกิดปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น ตัวอย่างของสารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ใช้กันมากที่สุดในอุตสาหกรรมยาง ได้แก่ ซิงก์ออกไซด์และกรดสเตียริก [เทคโนโลยียาง] |
Antioxidant | สารเคมีที่เติมลงไปในยางเพื่อจับอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา ของออกซิเจนในอากาศกับยาง (ที่มีพันธะคู่) หรือทำให้ไฮโดรเพอร์ออกไซด์ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาแตกตัวต่อไปเป็นส่วนที่ ไม่เป็นอันตรายต่อการเสื่อมสภาพของยาง ทำให้ยางมีอายุการใช้งานได้ยาวนานขึ้น [เทคโนโลยียาง] |
Chlorosulfonated polyethlene rubber | ยาง CSM เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างพอลิเอทิลีนและ ของผสมของก๊าซคลอรีน (Cl2) กับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) มีหลายเกรดขึ้นกับปริมาณคลอรีนในโมเลกุล สมบัติเชิงกลของยางชนิดนี้ค่อนข้างดี ทนต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากโอโซนและสภาพอากาศได้อย่างดีเยี่ยม ทนต่อการเปลี่ยนสี (discoloration) อันเนื่องมาจากแสงแดดและรังสีอัลตราไวโอเลต (UV) ได้ดีอีกด้วย แต่สามารถทนต่อน้ำมันได้ปานกลางถึงดี ทนต่อกรดและสารเคมีต่างๆ ที่มีฤทธิ์กัดกร่อนได้ดีเยี่ยม และยังทนต่อน้ำร้อนได้ดี แต่มีข้อจำกัดคือ มีค่า compression set ที่ต่ำ และการใช้งานที่อุณหภูมิต่ำขึ้นกับปริมาณของคลอรีน ถ้าปริมาณของคลอรีนสูงสมบัติการหักงอของยางที่อุณหภูมิต่ำจะด้อยลง ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ยางชนิดนี้ ได้แก่ ปลอกหุ้มสายเคเบิล ท่อยาง ยางหุ้มลูกกลิ้ง ยงบุผนัง ท่อที่ต้องทนต่อกรด แผ่นยางมุงหลังคา แผ่นยางรองสระน้ำ เรือยาง เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Epichlorohydrin | ยางอิพิคลอโรไฮดรินเป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่มีสายโซ่หลักเป็นพอลิ อีเทอร์และมีหมู่คลอโรเมทิลเป็นกิ่งก้าน แบ่งได้เป็น 3 ชนิดหลัก คือ 1.โฮโมพอลิเมอร์ของอิพิคลอโรไฮดริน (CO) ได้จากการทำปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบเปิดวงแหวนของอิพิคลอโรไฮดริน 2.โคพอลิเมอร์ของอิพิคลอโรไฮดรินและเอทิลีนออกไซด์ (ECO) ได้จากการนำเอทิลีนออกไซด์ไปพอลิเมอไรเซชันร่วมกับอิพิคลอโรไฮดริน 3.เทอร์พอลิเมอร์ระหว่างอิพิคลอโรไฮดริน เอทิลีนออกไซด์ และมอนอเมอร์ชนิดที่ไม่อิ่มตัว (GECO/ETER) ได้จากการเติมมอนอเมอร์ชนิดที่สามลงไปเพื่อให้ยางชนิดนี้สามารถคงรูปได้โดย ใช้ระบบกำมะถันและเพอร์ออกไซด์ ยางอิพิคลอโรไฮดรินมีสมบัติเด่นหลายประการ คือ ทนต่อน้ำมันและน้ำมันเชื้อเพลิงได้ดี ทนต่อความร้อนและโอโซนได้ดีเยี่ยม มีอัตราการซึมผ่านของก๊าซและน้ำมันเชื้อเพลิงต่ำที่สุด ทนทานต่อการติดไฟได้ดี และมีสมบัติการหักงอที่อุณหภูมิต่ำดีมากอีกด้วย ยางชนิดนี้แม้ว่าจะมีสมบัติที่ดีหลายประการ แต่ไม่นิยมนำมาใช้มากนักเนื่องจากยางชนิดนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนโลหะและยางจะ อ่อนตัว (reversion) เมื่อใช้งานที่อุณหภูมิสูงเป็นเวลานานและมีราคาแพงมาก ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ทำจากยางชนิดนี้ ได้แก่ ซีล ปะเก็น ท่อน้ำมัน ปลอกหุ้มสายเคเบิล ลูกกลิ้งในเครื่องพิมพ์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Ethylene propylene rubber | ยาง EPM เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากการทำปฏิกิริยาโคพอลิเมอไรเซชันระหว่างมอนอเมอร์ ของเอทิลีน (ethylene) กับโพรพิลีน (propylene) มีลักษณะการจัดเรียงตัวของโมเลกุลแบบอสัณฐานและมีสมบัติเป็นยาง แต่ไม่มีส่วนที่ไม่อิ่มตัว (ไม่มีพันธะคู่) จึงทำให้มีสมบัติเด่นในเรื่องความทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากแสง แดด ออกซิเจน ความร้อน โอโซน และสารเคมี แต่ยางชนิดนี้มีข้อเสีย คือ ไม่สามารถใช้กำมะถันในการคงรูปได้ (เนื่องจากไม่มีพันธะคู่อยู่ในโมเลกุล) ดังนั้นการทำให้ยางคงรูปจึงต้องใช้เพอร์ออกไซด์เท่านั้น การใช้งานนิยมใช้ทำผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานภายนอก เช่น ยางขอบประตู ยางขอบหน้าต่าง โอริง ฉนวนหุ้มสายเคเบิล เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Flame retardant or Flame retarder | สารเคมีที่เติมลงไปเพื่อช่วยหน่วงการติดไฟของผลิตภัณฑ์ โดยสารเคมีนี้จะสลายตัวให้แก๊ส หรือสารที่ไม่ติดไฟเมื่อได้รับความร้อน ตัวอย่างสารหน่วงการติดไฟ เช่น แอนติโมนีออกไซด์ อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Kicker | คิกเกอร์ คือ สารกระตุ้นหรือสารตัวเร่งการเกิดเป็นฟอง ทำหน้าที่ลดอุณหภูมิการสลายตัวของสารที่ทำให้เกิดฟอง ช่วยให้เกิดปฏิกิริยาการเกิดฟองได้เร็วขึ้น มักใช้คู่กับสารทำให้เกิดฟอง ตัวอย่างของคิกเกอร์ ได้แก่ ซิงก์ออกไซด์ เกลือของซิงก์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Peroxide | สารเคมีที่มี –O-O- ในโมเลกุล เช่น H2O2, Na2O2, benzoyl peroxide [ (C6H5CO)2O2 ] ออกซิเจนในเพอร์ออกไซด์มีเลขออกซิเดชัน -1 ทำให้เพอร์ออกไซด์โดยทั่วไปไม่เสถียร เมื่อให้ความร้อนจะสลายตัวให้อนุมูลอิสระ ทำให้เกิดการเชื่อมโยงของโมเลกุลขึ้นได้ด้วยพันธะคาร์บอน-คาร์บอน นิยมใช้เพอร์ออกไซด์เป็นสารทำให้ยางคงรูปในยางที่ไม่มีพันธะคู่ เช่น EPM, EVA, CPE, Q หรือยางที่มีปริมาณพันธะคู่ในโมเลกุลต่ำมากเท่านั้น เช่น HNBR, EPDM [เทคโนโลยียาง] |
Vulcanizing agent | สารเคมีสำหรับผสมในยางเพื่อทำให้ยางเกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุล เกิดเป็นโครงสร้างตาข่ายสามมิติ (โครงสร้างร่างแห) ขึ้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ระบบใหญ่ๆ ได้แก่ ระบบที่ใช้กำมะถัน ระบบที่ใช้เพอร์ออกไซด์ และระบบที่ใช้สารเคมีอื่นๆ เช่น โลหะออกไซด์ [เทคโนโลยียาง] |
Amphoteric Oxide | แอมโฟเทอริกออกไซด์ [การแพทย์] |