ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เขมร, -เขมร- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ กุนแขมร์ | [กุน-ขะ-แม] (name) ศิลปะป้องกันตัวของเขมร |
| เซราะกราว | (adj, slang) บ้านนอก, ชนบท, การเป็นคนบ้านนอก (ใช้โดย โน้ตอุดม แต้พานิช ในการแสดงเดี่ยว ไมโครโฟน ในลักษณะเสียดสีทำนองเย้ยหยันว่ามาจากชนบท หรือ บ้านนอก เข้าใจว่าแผลงมาจากภาษาเขมร) |
|
| | ขัดเขมร | ก. ถกเขมร เช่น ทะเลาะกูกำหมัดขัดเขมร (ดึกดำบรรพ์). | เขมร ๑ | (ขะเหฺมน) น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับไทย ลาว และเวียดนาม มีภาษาพูดอยู่ในตระกูลมอญ–เขมร และมีอักษรของตนเองใช้ เรียกว่า อักษรขอม. | เขมร ๒ | (ขะเหฺมน) น. คำนำหน้าชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร เช่น เขมรไทรโยค เขมรโพธิสัตว์ เขมรลออองค์. | ถกเขมร | ก. นุ่งผ้าโจงกระเบนดึงชายให้สูงร่นขึ้นไปเหนือเข่า, ขัดเขมร ก็ว่า. | สาลิกาเขมร | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ | สาลิกาเขมร | ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงเถา. | กวย ๒ | น. ชาติข่า ในตระกูลมอญ–เขมร. | กะโซ่, กะโซ้ ๑ | น. เผ่าข่าโซ้ เป็นชาวป่าทางภาคอีสานของไทย มีลักษณะคล้ายเขมร. | กังก้า | ว. จังก้า, ลักษณะยืนถ่างขาตั้งท่าเตรียมสู้ เช่น ถกเขมรกังก้าเรียกข้าไทย (ขุนช้างขุนแผน-แจ้ง). | กัมพุช ๑, กัมพุช- | (กำพุด, กำพุดชะ-) น. แคว้นเขมร, (โบ) ชื่อแคว้นหนึ่งทางตอนเหนือของอินเดีย, กัมโพช ก็ใช้. | กัมพุชพากย์ | น. ภาษาเขมร. | กัมพุช ๒ | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร, ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงเถา. | กัมพูชา | น. ชื่อประเทศเขมร. | กัมโพช | (กำโพด) น. แคว้นเขมร, (โบ) ชื่อแคว้นหนึ่งทางตอนเหนือของอินเดีย, กัมพุช ก็ใช้. | กำปอ | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร เรียกว่า เขมรกำปอ. | ขมุ | (ขะหฺมุ) น. ชื่อชนชาวเขาเผ่าหนึ่งในตระกูลมอญ−เขมร. | ขอม ๑ | น. เขมรโบราณ. | ขะแมร์กอฮอม | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร อัตรา ๓ ชั้น หน้าทับปรบไก่ แต่งขยายจากเพลงเขมรแดง อัตรา ๒ ชั้น นิยมบรรเลงต่อกันเป็นเพลงชุด เรียกว่า สามขะแมร์ ซึ่งประกอบด้วย เพลงขะแมร์กอฮอม เพลงขะแมร์ซอ และเพลงขะแมร์ธม. | ขะแมร์ซอ | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร อัตรา ๓ ชั้น หน้าทับปรบไก่ แต่งขยายจากเพลงเขมรขาว อัตรา ๒ ชั้น นิยมบรรเลงต่อกันเป็นเพลงชุด เรียกว่า สามขะแมร์ ซึ่งประกอบด้วย เพลงขะแมร์กอฮอม เพลงขะแมร์ซอ และเพลงขะแมร์ธม. | ขะแมร์ธม | น. ชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร อัตรา ๓ ชั้น หน้าทับปรบไก่ แต่งขยายจากเพลงเขมรใหญ่ อัตรา ๒ ชั้น นิยมบรรเลงต่อกันเป็นเพลงชุด เรียกว่า สามขะแมร์ ซึ่งประกอบด้วย เพลงขะแมร์กอฮอม เพลงขะแมร์ซอ และเพลงขะแมร์ธม. | ข่า ๑ | น. คนชาวเขาจำพวกหนึ่ง แบ่งออกเป็น ๒ พวก พวกหนึ่งพูดภาษาในตระกูลมอญ−เขมร เช่น ข่าอัตตะปือ ข่าตองเหลือง และอีกพวกหนึ่งพูดภาษาในตระกูลอินโดนีเซียน ได้แก่ ข่าระแด และ ข่าจะราย. | แขม ๒ | (ขะแม) น. คนเขมร, เขียนเป็น แขมร์ ก็มี. | ชอง | น. ชื่อชนกลุ่มน้อยเผ่าหนึ่งในตระกูลมอญ–เขมร มีมากทางตอนเหนือของจังหวัดจันทบุรี, เรียกตัวเองว่า สำเร หรือ ตำเหรด, เขมรเรียกว่า ปอร์. | ญวน ๑ | น. ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่งอยู่ทางทิศใต้ของประเทศจีน และทางทิศตะวันออกของประเทศลาวและเขมร, ปัจจุบันเรียกว่า เวียดนาม. | ไทย ๑ | (ไท) น. ชื่อประเทศที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับลาว เขมร มาเลเซีย และพม่า | นวลจันทร์ ๑ | น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Cirrhinus microlepis Sauvage ในวงศ์ Cyprinidae ลำตัวยาวเรียว แบนข้างเล็กน้อย ตาเล็ก ปากเล็กอยู่ตํ่าที่ปลายหัว ไม่มีหนวด เกล็ดเล็ก เฉพาะในแนวเส้นข้างตัวมีประมาณ ๖๐ เกล็ด ลำตัวด้านหลังสีนํ้าตาลเทา ข้างท้องสีขาว ปลายครีบหลังและครีบท้องสีชมพู อาศัยตามลำนํ้าในเขตที่ลุ่มภาคกลางไปจนถึงแม่นํ้าโขง ขนาดยาวได้ถึง ๖๕ เซนติเมตร, นวลจันทร์น้ำจืด ก็เรียก, อีสานเรียก โพง, เขมรเรียก พรวน. | นาคบริพัตร | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ มีท่อนเดียว ๔ จังหวะ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เขมรโล้เรือ. | นาคบริพันธ์ ๒ | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงเถา แต่งขยายขึ้นจากเพลงอัตรา ๒ ชั้น ชื่อ นาคบริพัตรหรือเขมรโล้เรือ. | เนียง ๑ | น. นาง (ออกเสียงตามเขมรที่เขียนว่า นาง). | บัง ๒ | คำเติมหน้าในภาษาเขมร หมายความว่า ทำให้ เมื่ออยู่หน้าพยัญชนะ วรรค ก เช่น บังเกิด บังควร บังคม หรือเมื่ออยู่หน้าเศษวรรค เช่น บังวาย บังหวน บังอาจ, เมื่ออยู่หน้าพยัญชนะวรรค จ หรือ วรรค ด แปลงเป็น บัน เช่น บันจวบ บันโดย, เมื่ออยู่หน้าพยัญชนะวรรค บ แปลงเป็น บำ เช่น บำบัด บำเพ็ญ. | พรวน ๓ | (พฺรวน) น. ชื่อเรียกปลานวลจันทร์น้ำจืดในภาษาเขมร. | ภาษาคำติดต่อ | น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการเติมอุปสรรค อาคม หรือปัจจัย ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระและไม่มีความหมาย ผสานเข้ากับคำบางคำซึ่งเป็นคำตั้ง ทำให้เกิดเป็นคำใหม่ แต่จะมีรูปและความหมายเกี่ยวเนื่องกับคำตั้งนั้น เช่น ภาษาเขมร ภาษาญี่ปุ่น ภาษาตุรกี ภาษาฮังการี. | มอญ ๑ | น. ชื่อชนชาติหนึ่ง เคยเป็นใหญ่อยู่ทางตอนใต้ของพม่า ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศพม่า มีภาษาพูดอยู่ในตระกูลมอญ–เขมร และมีอักษรของตนเองใช้. | ละว้อ, ละว้า ๑ | น. คนชาวเขาตอนเหนือประเทศไทยพวกหนึ่งในตระกูลมอญ–เขมร. | ละแวก ๑ | น. เขมรชาวกรุงละแวก. | ลาว ๑ | น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับไทย เขมร เวียดนาม พม่า และจีน, เรียกเต็มว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. | เวียดนาม | น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับเขมร ลาว และจีน ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อชาติเวียด, เรียกเต็มว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม. | ส่วย ๒ | น. ชนชาติพูดภาษาตระกูลมอญ–เขมรพวกหนึ่ง อยู่ทางภาคอีสาน. | สะดุดหู | ก. กระทบหูชวนให้อยากฟัง หรือรู้สึกเคลือบแคลงใจเป็นต้น เช่น ได้ยินเสียงเพลงเขมรไทรโยค รู้สึกสะดุดหูทำให้นึกถึงความหลัง ได้ยินเสียงคนพาลพูดแขวะ รู้สึกสะดุดหูทันที. | สุวรรณภูมิ | (สุวันนะพูม) น. ดินแดนแหลมทองซึ่งเชื่อกันว่ามีอาณาบริเวณครอบคลุมพม่า ไทย ลาว เขมร เวียดนาม มาเลเซีย และสิงคโปร์. | แสก ๓ | น. เรียกชนชาติหนึ่งในตระกูลมอญ–เขมร. | หน้าทับภาษา | น. ชื่อหน้าทับที่ใช้กับเพลงภาษาต่าง ๆ เช่น หน้าทับเขมร หน้าทับแขก หน้าทับจีน. | ออกญา | น. บรรดาศักดิ์ชั้นสูงที่พระราชทานในสมัยอยุธยา สูงกว่าออกพระ เข้าใจว่ามาจากเขมร. |
| | Architecture, Khmer | สถาปัตยกรรมเขมร [TU Subject Heading] | Architecture, Khmer | สถาปัตยกรรมเขมร [TU Subject Heading] | Art, Khmer | ศิลปะเขมร [TU Subject Heading] | Arts, Khmer | ศิลปกรรมเขมร [TU Subject Heading] | Combodian-Vietnamese Conflict, 1977-1991 | สงครามเขมร-เวียดนาม, ค.ศ. 1977-1991 [TU Subject Heading] | Inscriptions, Khmer | จารึกภาษาเขมร [TU Subject Heading] | Khmer language | ภาษาเขมร [TU Subject Heading] | Khmer literature | วรรณกรรมเขมร [TU Subject Heading] | Kui language (Mon-khmer) | ภาษากูย (มอญ-เขมร) [TU Subject Heading] | Mon-Khmer language | ภาษามอญ-เขมร [TU Subject Heading] | Poets, Khmers | กวีเขมร [TU Subject Heading] | Sculpture, Khmer | ประติมากรรมเขมร [TU Subject Heading] | Temples, Khmer | วิหารเขมร [TU Subject Heading] |
| | เขมร | [Khamēn] (adj) EN: Cambodgian ; Khmer FR: cambodgien ; khmer ; khmère (f.) | ครูสอนภาษาเขมร | [khrū søn phāsā Khamēn] (n, exp) EN: Cambodian teacher FR: professeur de cambodgien [ m ] | นกแต้วแล้วเขียวเขมร | [nok taēolaēo khīo Khamēn] (n, exp) EN: Bar-bellied Pitta FR: Brève d’Elliot [ f ] | ภาษาเขมร | [phāsā Khamēn] (n, exp) EN: Cambodian FR: cambodgien [ m ] | ผีเสื้อกะลาสีแดงเขมร | [phīseūa kalāsī daēng Khamēn] (n, exp) EN: Cambodian Lascar |
| Cambodian | (n) คนกัมพูชา, See also: คนเขมร, ชาวเขมร, Syn. Kampuchean | Cambodian | (adj) ที่เกี่ยวกับประเทศเขมร, Syn. Kampuchean | Cambodian | (n) ภาษาเขมร, See also: คนเขมร, ชาวเขมร, Syn. Kampuchean | Khmer | (n) เขมร, See also: กัมพูชา, ขอม, Syn. Kampuchea, Cambodia | Khmer | (n) ชนชาติเขมร, See also: ชนชาติกัมพูชา, ชนชาติขอม, Syn. Cambodian | Khmer | (n) ภาษาเขมร, See also: ภาษากัมพูชา, ภาษาขอม, Syn. Cambodian | Khmer Rouge | (n) กลุ่มเขมรแดง ซึ่งนิยมระบบคอมมิวนิสต์ |
| austroasiatic | (ออสโทรเอซีแอท'ทิค) n. ภาษาตระกูลหนึ่งในอาเซียอาคเนย์ ประกอบด้วยภาษาญวน เขมรและมอญ (a familuy of languages) | cambodia | (แคมโบ'เดีย) n. ประเทศเขมร, Syn. Cambodge, Khmer Republic, Khmer Kingdom | cambodian | (แคมโบ'เดียน) n. ชาวเขมร, ภาษาเขมร adj. เกี่ยวกับเขมร | indo-china | (อิน'โดไช'นะ) n. อินโดจีน (ประกอบด้วย เวียดนาม, ลาว, เขมร, ไทย, พม่า, มาเลเซียและสิงคโปร์), Syn. Farther India | kampuchea | (คามพู'เชีย) n. ประเทศเขมร | khmer | (ขเมีย) n. เขมร, ภาษาเขมร | khmer republic | ชื่อทางการประเทศเขมร | mon-khmer | (มอน'ขเมอ) adj., n. (กลุ่ม) เกี่ยวกับภาษามอญ ขอม พม่าและภาษาเขมร. | southeast asia | n. เอเซียอาคเนย์, ประเทศและดินแดนในบริเวณทิศตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเซีย (ได้แก่บรูไน, พม่า, เขมร, อินโดนีเซีย, ลาว, ไทย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, ตีมอร์, สิงคโปร, เวียดนาม) . -Sountheast Asian |
| gird | (vt) คาดเข็มขัด, เคียนพุง, ล้อมรอบ, พัน, ถก(เขมร), ผูก, มัด, รัด |
| -kuy- | [[ kuːy ]] (n) kuy (n ) ภาษากูย หรือ ภาษากวย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มกะตู พบในไทยพื้นที่จังหวัดแถบภาคอีสานใต้ เช่น จังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด | kuy | (n) ภาษากูย หรือ ภาษากวย หรือ ภาษาส่วย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มกะตู พบในไทย ในจังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |