Titanium dioxide | ไทเทเนียมไดออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Nitrogen dioxide | ไนโตรเจนไดออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Advanced Gas-cooled Reactor | เครื่องปฏิกรณ์ขั้นสูงระบายความร้อนด้วยแก๊ส, เอจีอาร์, <em>เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์</em>ผลิตไฟฟ้าแบบหนึ่ง ใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ระบายความร้อน โดยพัฒนามาจากแบบที่ระบายความร้อนด้วยน้ำ ตัวอย่างของเครื่องปฏิกรณ์ชนิดนี้คือเครื่องปฏิกรณ์ Hinkley Point B อยู่ทางตะวันตกของประเทศอังกฤษ ใช้ยูเรเนียมไดออกไซด์ (มียูเรเนียม-235 ร้อยละ 1.4 ถึง 2.6) เป็นเชื้อเพลิง และใช้แกรไฟต์เป็น<strong>สารลดความเร็วนิวตรอน</strong> เครื่องปฏิกรณ์นี้ สามารถผลิตไอน้ำที่มีอุณหภูมิสูงถึง 540 องศาเซลเซียส และความดัน 16 เมกะพาสคัล ทำให้มีประสิทธิภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้าได้สูงถึงร้อยละ 40 ซึ่งสูงเท่ากับโรงไฟฟ้าพลังเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในปัจจุบัน [นิวเคลียร์] |
Carbon-14 | คาร์บอน-14, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุคาร์บอน มีครึ่งชีวิต 5, 730 ปี เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นบนของโลก โดยอนุภาคนิวตรอนที่เกิดมาจากรังสีคอสมิกไปชนนิวเคลียสของธาตุไนโตรเจนเกิดเป็นคาร์บอน-14 และถูกออกซิไดส์ไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่วงจรของสิ่งมีชีวิต หลังจากสิ่งมีชีวิตตายไป จะไม่มีการแลกเปลี่ยนกับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศอีก คาร์บอน-14 ที่มีอยู่ก็จะสลายลดลงด้วยอัตราที่สามารถทราบได้ จึงใช้ในการคำนวณอายุซากสิ่งมีชีวิตและวัตถุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ (ดู Radiocarbon dating ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Coolant | ตัวทำให้เย็น, สารระบายหรือถ่ายโอนความร้อนที่หมุนเวียนในระบบระบายความร้อนของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เช่น น้ำ น้ำมวลหนัก อากาศ คาร์บอนไดออกไซด์ โซเดียมเหลว และโลหะผสมโซเดียม-โพแทสเซียม [นิวเคลียร์] |
Carbon dioxide | คาร์บอนไดออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Carbon dioxide laser | คาร์บอนไดออกไซด์เลเซอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Sulphur dioxide | ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Gas cooled reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ชนิดระบายความร้อนด้วยแก๊ส, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้แก๊ส เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นตัวระบายความร้อนออกจากแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ [นิวเคลียร์] |
Atmospheric sulphur dioxide | ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ในบรรยากาศ [TU Subject Heading] |
Carbon dioxide | คาร์บอน ไดออกไซด์ [TU Subject Heading] |
Carbon dioxide lasers | เลเซอร์ คาร์บอน ไดออกไซด์ [TU Subject Heading] |
Carbon dioxide mitigation | การลดคาร์บอน ไดออกไซด์ [TU Subject Heading] |
Nitrogen dioxide | ไนโตรเจน ไดออกไซด์ [TU Subject Heading] |
Sulphur dioxide | ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ [TU Subject Heading] |
GCR type reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ชนิดระบายความร้อนด้วยแก๊ส, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้แก๊ส เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นตัวระบายความร้อนออกจากแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ [นิวเคลียร์] |
Chlorine Dioxide | คลอรีนไดออกไซด์, Example: CLO2, ก๊าซระเบิดได้ สีส้ม ละลายน้ำได้และไม่เสถียร ใช้ในการบำบัดน้ำ เพื่อกำจัดรสและกลิ่น อาจใช้เป็นสารฟอกสีสำหรับเยื่อไม้ ไขมัน น้ำมัน [สิ่งแวดล้อม] |
Bioethanol | ไบโอเอทานอล, เอทานอลที่ได้จากกระบวนการย่อยสลาย หรือกระบวนการหมักสารอินทรีย์รวมทั้งของเสียในสภาวะไร้อากาศ มักประกอบด้วยมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์ สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
Biogas | ไบโอก๊าซ, ไบโอก๊าซ คือก๊าซที่เกิดจากกระบวนการย่อยสลายหรือกระบวนการหมักสารอินทรีย์ รวมทั้งของเสียในสภวะไร้อากาศ ซึ่งสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ มักประกอบด้วยมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์ [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
Chlorosulfonated polyethlene rubber | ยาง CSM เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างพอลิเอทิลีนและ ของผสมของก๊าซคลอรีน (Cl2) กับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) มีหลายเกรดขึ้นกับปริมาณคลอรีนในโมเลกุล สมบัติเชิงกลของยางชนิดนี้ค่อนข้างดี ทนต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากโอโซนและสภาพอากาศได้อย่างดีเยี่ยม ทนต่อการเปลี่ยนสี (discoloration) อันเนื่องมาจากแสงแดดและรังสีอัลตราไวโอเลต (UV) ได้ดีอีกด้วย แต่สามารถทนต่อน้ำมันได้ปานกลางถึงดี ทนต่อกรดและสารเคมีต่างๆ ที่มีฤทธิ์กัดกร่อนได้ดีเยี่ยม และยังทนต่อน้ำร้อนได้ดี แต่มีข้อจำกัดคือ มีค่า compression set ที่ต่ำ และการใช้งานที่อุณหภูมิต่ำขึ้นกับปริมาณของคลอรีน ถ้าปริมาณของคลอรีนสูงสมบัติการหักงอของยางที่อุณหภูมิต่ำจะด้อยลง ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ยางชนิดนี้ ได้แก่ ปลอกหุ้มสายเคเบิล ท่อยาง ยางหุ้มลูกกลิ้ง ยงบุผนัง ท่อที่ต้องทนต่อกรด แผ่นยางมุงหลังคา แผ่นยางรองสระน้ำ เรือยาง เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Blood Co2 | กาซคาร์บอนไดออกไซด์ในกระแสเลือด [การแพทย์] |
Carbon Dioxide | คาร์บอนไดออกไซด์, ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์ [การแพทย์] |
Chlorine Dioxide | คลอรีนไดออกไซด์ [การแพทย์] |
Decarboxylation | ดีคาร์บอกซิเลชั่น, กำจัดคาร์บอนไดออกไซด์, ปฏิกิริยาดีคาร์บอกซิเลชั่น, ขบวนการดีคาร์บอกซิเลชั่น, ปฏิกิริยาผันกลับ, ปฏิกิริยาแบบดีคาร์บอกซิเลชั่น [การแพทย์] |
Emphysema | หนองในช่องปอด, เอมฟีซีมา, ภาวะพองลม, เอ็มฟีย์ซีมา, โรคถุงลมพอง, คาร์บอนไดออกไซด์คั่งในถุงลม, ถุงลมโป่งพอง, โรคถุงลมโป่งพองในปอด, ถุงลมปอดโป่งพอง, ปอดพอง, โรคถุงลมปอดโป่งพอง, ถุงลมพอง, เนื้อพองลม, โรคปอดพอง [การแพทย์] |
photosynthesis | การสังเคราะห์ด้วยแสง, กระบวนการสร้างอาหารของสิ่งมีชีวิตที่มีคลอดโรฟิลล์ เช่น พืชสีเขียวและโพรทิสต์บางชนิดโดยใช้น้ำและคาร์บอนไดออกไซด์เป็นวัตถุดิบและมีคลอโรฟิลล์กับพลังงานแสงเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ผลที่ได้ก็คือ คาร์โบไฮเดรตและแก๊สออกซิเจน กระบวนการนี้แสดงได้โดยสมการ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
alveolus | แอลวีโอลัส, ถุงลม, ถุงที่มีผนังเป็นเยื่อบาง ๆ ยืดหยุ่นได้ อยู่ปลายสุดของแขนงขั้วปอด รอบ ๆ ถุงมีหลอดเลือดฝอยหุ้มอยู่เป็นจำนวนมาก เป็นที่แลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Calvin cycle | วัฏจักรคัลวิน, ขั้นหนึ่งของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นการเปลี่ยนแปลงสารที่มีคาร์บอน 5 อะตอม โดยมีคาร์บอนไดออกไซด์เข้าร่วม กลายเป็นสารที่มีคาร์บอน 3 อะตอม แล้วสารที่มีคาร์บอน 3 อะตอมนี้จะเปลี่ยนกลับไปเป็นสารที่มีคาร์บอน 5 อะตอมใหม่อีกครั้งหนึ่ง เป็นวัฏจักรเช่นนี้เรื่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
lead storage cell | เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว, เซลล์ไฟฟ้าทุติยภูมิชนิดหนึ่ง ใช้แผ่นตะกั่วไดออกไซด์เป็นขั้วบวก แผ่นตะกั่วเป็นขั้วลบ และสารละลายกรดซัลฟิวริกเป็นอิเล็กโทรไลต์ เมื่อประกอบเข้าเป็นเซลล์ไฟฟ้าแล้ว ต้องนำไปประจุไฟฟ้าก่อนจึงจะมีพลังงานไฟฟ้าจ่ายออกมาจากเซลล์ไฟฟ้า และเมื่อจ่ายพลังงานไฟฟ้าหมดแล้วก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
laser | เลเซอร์, แสงที่เกิดจากการกระตุ้นอะตอมหรือโมเลกุลของสารประกอบหรือสารละลายบางชนิด เช่น ทับทิม แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สผสมฮีเลียม-นีออน เป็นต้น เลเซอร์ซึ่งเกิดจากต้นกำเนิดชนิดหนึ่ง ๆ จะประกอบด้วยแสงซึ่งมีความถี่เดียวกันและเฟสตรงกัน ดังนั้นจึงเป็นการง่ายที่จะรวมลำแ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
carbon dioxide | คาร์บอนไดออกไซด์, สารประกอบของคาร์บอนกับออกซิเจน สูตรเคมี คือ CO2 เป็นแก๊สไม่มีสี ละลายน้ำได้ดี ใช้ในอุตสาหกรรมน้ำอัดลม ทำน้ำแข็งแห้ง ใช้ดับไฟ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
atmosphere | บรรยากาศ, 1.อากาศที่ห่อหุ้มโลก ประกอบด้วยออกซิเจน 1 ใน 5 ส่วน ไนโตรเจน 4 ใน 5 ส่วนนอกจากนั้นยังมีแก๊สอื่น ๆ อีกเป็นจำนวนเล็กน้อย เช่น คาร์บอนไดออกไซด์อาร์กอน ซีนอน เป็นต้น บรรยากาศมีอยู่สูงขึ้นไปประมาณ 1, 500 กิโลเมตร ซึ่งจะมีความหนาแน่นของอากาศลดลง ตามลำดับ และมีอุ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
dark reaction | ปฏิกิริยาที่ไม่ต้องใช้แสง, กระบวนการในการสังเคราะห์ด้วยแสงที่นำ ATP และ NADPH2 ซึ่งได้จากปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสงมาเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ ให้เป็นคาร์โบไฮเดรต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
acid rain | ฝนกรด, ฝนที่ได้ละลายแก๊สที่อยู่ในอากาศ เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ลงมาด้วย ทำให้ฝนที่ตกลงมามีค่า pH ต่ำกว่า 5.6-5.7 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
greenhouse gas | แก๊สเรือนกระจก, แก๊สที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก ได้แก่ ไอน้ำ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน โอโซน ไนตรัสออกไซด์ ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูไรด์ สารกลุ่มฟลูออโรคาร์บอน (CFCs และ HFCs) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
sulphur dioxide | ซัลเฟอร์ไดออกไซด์, แก๊สชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นแก๊สมลพิษ และเป็นสาเหตุให้เกิดฝนกรดได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Gas Analysis, Arterial Blood | การวิเคราะห์หาปริมาณของออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ [การแพทย์] |