ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: abase, -abase- Possible hiragana form: あばせ |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| abase | (อะเบส') vt., adj. น้อม, ทำให้ลดตำแหน่ง, ถ่อมตัวลง, ระงับ, อ่อน, เบา -abasement (n.), Syn. disconcert, discourage, shame, confound, embarrass, confuse | database | หมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนแยกกัน เป็น data base ก็มี | database management syste | ใช้ตัวย่อว่า DBMS (อ่านว่าดีบีเอ็มเอส) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย | flat-file database | ฐานข้อมูลรายแฟ้มหมายถึง โปรแกรมฐานข้อมูลที่ใช้เก็บและเรียกหาข้อมูล ออกมาใช้ได้ทีละแฟ้ม เป็นสำคัญ ตรงข้ามกับฐานข้อมูลสัมพันธ์ (relational database) ซึ่งจะทำให้เรียกหามาใช้ได้ มากกว่าครั้งละหนึ่งแฟ้ม | relational database | ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หมายถึง ฐานข้อมูลแบบหนึ่ง ที่ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลที่แยกต่างหากออกจากกันเป็นหลาย ๆ แฟ้ม แต่ละแฟ้มเหล่านั้นมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอยู่ การเรียกหาข้อมูลในแฟ้มหนึ่งจะโยงไปหาแฟ้มอื่นได้ เช่น เราอาจมีแฟ้มข้อมูลที่เก็บสินค้า และอีกแฟ้มข้อมูลหนึ่งเก็บรายชื่อลูกค้า เราอาจสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ แล้วเลือกเฉพาะข้อมูลที่ต้องการจากแต่ละแฟ้มให้มาสัมพันธ์กัน เพื่อจะรู้ได้ว่า ลูกค้าคนใดสั่งสินค้าใดไปจำนวนเท่าใด ทั้งสิ้นขึ้นกับการออกแบบระบบให้แฟ้มเหล่านั้นสัมพันธ์กันด้วย |
| abase | (vt) ลดต่ำ, ถ่อมตัว, น้อม, เสื่อมศักดิ์ | abasement | (n) การลดตัว, การถ่อมตัว, การน้อม, การเสื่อมศักดิ์ |
| | Database | ฐานข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา] | Database management | การจัดการฐานข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา] | Database | ฐานข้อมูล, Example: <p>ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง ที่รวมของสารสนเทศที่สัมพันธ์กัน แต่ละฐานข้อมูลประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลเรียกว่า แฟ้มข้อมูล (File) โดยแต่ละแฟ้มข้อมูลประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลที่เล็กลงมาอีกระดับหนึ่งเรียกว่า ระเบียน (Record) และแต่ละระเบียนประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลเรียกว่า เขตข้อมูล (Field) เขตข้อมูลประกอบไปด้วยหน่วยของข้อมูลที่เล็กกรองลงไปอีก คือ ไบต์หรือ อักขระ (Character) <p>ข้อมูลเหล่านี้ได้รับการบันทึกเก็บไว้ในรูปแบบที่อ่านได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถนำมาประมวลผลในลักษณะต่าง ๆ ได้ เช่น การค้นคืน (Retrieval) การปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย (Update) การจัดเรียง (Sorting) ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้บันทึกไว้มาแสดงผลทางหน้าจอ และสามารถพิมพ์ผลการค้นคืนออกทางเครื่องพิมพ์ บันทึกเก็บไว้ใช้งานในภายหลังได้ <p>ฐานข้อมูล หากจัดแบ่งตามลักษณะของการแสดงผลหรือวัตถุประสงค์ของการนำไปใช้ มี 2 ลักษณะ คือ <p>1. ฐานข้อมูลเนื้อหาเต็ม (Full text database) เป็นฐานข้อมูลที่มีข้อมูลสมบูรณ์ โดยที่ข้อมูลซึ่งเป็นผลจากการสืบค้น จะมีเนื้อหาเหมือนกับเอกสารต้นฉบับทุกประการ <p>2. ฐานข้อมูลอ้างอิง (Reference database) หรือ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic database) เป็นฐานข้อมูลที่เป็นการอ้างอิง หรือ ชี้แนะแหล่งให้ผู้ใช้ไปหารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากต้นฉบับ หรือจากแหล่งปฐมภูมิ เพื่อให้ได้เนื้อหาที่สมบูรณ์ <p>บรรณานุกรม <p>คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. (2548). สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Database management | การจัดการฐานข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Online database | ฐานข้อมูลแบบออนไลน์, Example: <p>ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนึ่งที่มีความสำคัญในการให้บริการของห้องสมุด ฐานข้อมูลออนไลน์ หมายถึงฐานข้อมูลที่ให้บริการผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต ผู้จัดการฐานข้อมูลหรือสำนักพิมพ์สามารถปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัย และผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ตลอดเวลา <p>ประเภทของฐานข้อมูลออนไลน์ แบ่งตามเนื้อหาสารสนเทศที่ให้บริการแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ <p>1. ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Databases) หมายถึง ฐานข้อมูลที่ให้ข้อมูลทางบรรณานุกรม เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง อาจมีสาระสังเขปเพื่อแนะนำผู้ค้นคว้าให้ไปอ่านรายละเอียดจากต้นฉบับจริง เช่น ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด (Web OPAC) ฐานข้อมูล ISI : Web of Science ฐานข้อมูล Scopus โดยทั้งสองฐานข้อมูลเป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป ให้ข้อมูลการอ้างอิงผลงานวิจัย (Citation Database) ครอบคลุมสิ่งพิมพ์ประเภทวารสาร ในสาขาวิชาหลัก คือ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใช้เป็นแหล่งข้อมูลเพื่อการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยวิชาการ (Research Performance Evaluation / Research Performance Measurement: RPM) ฐานข้อมูล DAO ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของวิทยานิพนธ์ต่างประเทศ ฐานข้อมูล ERIC ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของหนังสือและบทความจากวารสารด้านการศึกษา เป็นต้น <p>2. ฐานข้อมูลเนื้อหาฉบับเต็ม (Full-Text Databases) หมายถึง ฐานข้อมูลที่ให้สารสนเทศครบถ้วน เช่นเดียวกับต้นฉบับ เช่น ฐานข้อมูล ScienceDirect, IEEE/IEE Electronic Library (IEL) หรือ ACM Digital Library เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Union catalog database | ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม, Example: <p>หมายถึง ฐานข้อมูลที่รวบรวม และชี้แหล่งรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ ที่มีให้บริการในห้องสมุดแต่ละแห่ง โดยผู้ใช้สามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการจากห้องสมุดต่างๆ พร้อมกัน ด้วยการค้นหาเพียงครั้งเดียว ทำให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหา และเข้าถึงรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันผ่านบริการยืมระหว่างห้องสมุดทำให้ช่วยประหยัดงบประมาณในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศเข้าห้องสมุด ตลอดจนการช่วยลดความซ้ำซ้อนในการวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการทรัพยาสารสนเทศสำหรับบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ห้องสมุด เนื่องจากสามารถค้นหาและถ่ายโอนรายการทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุดต่างๆ เข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติของตนเองได้ด้วย <p>ทั้งนี้ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ฐานแรกของไทย เกิดขึ้นจากความร่วมมือของเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย หรือ ThaiLIS ซึ่งย่อมาจากคำว่า Thailand Library Integrated System ซึ่งเป็นเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค <p>ในส่วนสำนักงานพัฒนาวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ คือ NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ ด้วยโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการที่เป็นโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์ คือ Koha ซึ่งผู้ใช้บริการสามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้บริการภายใต้ห้องสมุดเครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการ เข้าถึงที่ http://thailibrary.org <p><img src=" http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110606-union-catalog.jpg " Title="Union catalog database" alt="Union catalog database"> <br>ภาพ ฐานข้อมูล NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Database searching | การค้นหาฐานข้อมูล, Example: <p>การค้นหาฐานข้อมูล หรือ การสืบค้นฐานข้อมูล หมายถึงกระบวนการ วิธีการ ในการสืบค้นสารสนเทศประเภทฐานข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปมีขั้นตอนในการสืบค้น ดังนี้ <p>1. วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้น <p>2. กำหนดคำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการสืบค้น <p>3. เลือกฐานข้อมูล <p>4. หากผลลัพธ์ที่ได้ยังไม่ตรงกับความต้องการ ให้ปรับปรุงกลวิธีการสืบค้น อาจใช้เทคนิคการสืบค้นแบบขั้นสูง โดยการใช้ตรรกะ (Logical operator) and or not ช่วยในการสืบค้น เพื่อให้ได้รับผลลัพธ์ที่ถูกต้อง และชัดเจนมากขึ้น <p>ประโยชน์ของฐานข้อมูล มีดังนี้ <P>1. จัดเก็บสารสนเทศได้ปริมาณมาก ทำให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ <p>2. จัดเก็บสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ทำให้เข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากกว่าการค้นด้วยมือ ประหยัดเวลาในการค้นหา <p>3. ปรับปรุง และแก้ไขสารสนเทศในฐานข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว ทำให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและทันสมัย <p>4. เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลที่อยู่ห่างไกลได้โดยระบบออนไลน์ ทำให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้อย่างกว้างขวาง โดยไม่ต้องเดินทางไปค้นหาจากหลายแหล่ง <p>5. มีการเชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้าระบบเครือข่ายที่ทันสมัย ทำให้ฐานข้อมูลแพร่หลาย และสามารถจัดหาเพื่อให้บริการได้ง่ายจากทั่วโลก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Database design | การออกแบบฐานข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Database management | การจัดการฐานข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Distributed database | ฐานข้อมูลแบบกระจาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Web database | เว็บดาตาเบส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Database design | การออกแบบฐานข้อมูล [คอมพิวเตอร์] | Database | ฐานข้อมูล, Example: ระบบการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันเอาไว้เป็นหมวดหมู่ เพื่อให้สะดวกกับการค้นคืนข้อมูล และการดูแลรักษาฐานข้อมูลมีทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของไทยคือ ฐานข้อมูลประชากรไทยประมาณ 60 ล้านคนที่เก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์ขนดาใหญ่ของสำนักงานบริหารการทะเบียน กระทรวงมหาดไทย [คอมพิวเตอร์] | Database Management System | ระบบจัดการฐานข้อมูล, Example: ซอฟต์แวร์สำหรับทำหน้าที่บันทึกข้อมูลไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ ค้นคืน จัดทำรายงาน ประมวลผล และดูแลรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบฐานข้อมูล ปัจจุบันนี้มีระบบ DBMS ให้เลือกซื้อมาใช้หลายระบบด้วยกัน อาทิ Oracle, Ingres, Progress, Informix ซึ่งเป็นระบบที่มีใช้ทั้งในเครื่องขนาดใหญ่และขนาดเล็ก Access, Foxpro และ dBASE เป็นระบบที่มีใช้ในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์] | Database security | ความปลอดภัยในฐานข้อมูล [คอมพิวเตอร์] | Relational Database Management System | ระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์, Example: ซอฟแวร์สำหรับจัดการข้อมูลที่สร้างขึ้นเป็นแบบตารางหลายๆ ตาราง และเอื้ออำนวยให้เรานำตารางเหล่านี้มาเชื่อมโยงกันเป็นตารางใหม่ ค้นหาข้อมูลที่ต้องการในตาราง จัดทำตารางต่างๆ และมีภาษาสำหรับใช้กับการสร้างและค้นหาข้อมูลในตารางได้ ซอฟแวร์ RDBMS ที่ได้รับความนิยมในขณะนี้มีมาก เช่น Oracle, Informix, Ingres, Progress, Access, dBASE, FoxPro [คอมพิวเตอร์] | Relational Database | ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์, Example: ฐานข้อมูลแบบหนึ่งซึ่งประกอบด้วยตารางข้อมูลจำนวนมาก แต่ละตารางอาจใช้เก็บข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องของคน สถานที่ เหตุการณ์ สิ่งต่างๆ หรือความสัมพันธ์ระหว่างเรื่องเหล่านี้ การเก็บข้อมูลเป็นตารางๆ นี้นอกจากมีลักษณะสอดคล้องกับการใช้งานข้อมูลในชีวิตประจำวันเช่น ตารางเดินรถไฟแล้ว ยังมีพื้นฐานหลัการมาจากคณิตศาสตร์ที่เรียกว่า ความสัมพันธ์ หรือ relations ด้วย [คอมพิวเตอร์] | Object-oriented database | ฐานข้อมูลเชิงวัตถุ [คอมพิวเตอร์] | Temporal database | ฐานข้อมูลเชิงเวลา [คอมพิวเตอร์] | Online database | ฐานข้อมูลแบบออนไลน์ [คอมพิวเตอร์] | Database design | การออกแบบฐานข้อมูล [TU Subject Heading] | Database industry | อุตสาหกรรมฐานข้อมูล [TU Subject Heading] | Database management | การจัดการฐานข้อมูล [TU Subject Heading] | Database marketing | การตลาดทางฐานข้อมูลลูกค้า [TU Subject Heading] | Database searching | การสืบค้นฐานข้อมูล [TU Subject Heading] | Databases | ฐานข้อมูล [TU Subject Heading] | Distributed databases | ฐานข้อมูลแบบกระจาย [TU Subject Heading] | Geodatabases | ฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ [TU Subject Heading] | Online databases | ฐานข้อมูลแบบออนไลน์ [TU Subject Heading] | Relational databases | ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ [TU Subject Heading] | Web databases | ฐานข้อมูลเว็บ [TU Subject Heading] | database | ฐานข้อมูล, การรวมของตารางข้อมูลหลายๆ ตารางเข้าไว้ด้วยกัน ตารางแต่ละตารางจะมีความสัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลซึ่งเหมือนกันเป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างกัน บางตารางอาจเป็นตารางที่เก็บข้อมูลไว้เฉพาะของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับตารางอื่น ในขณะที่บางตาราง อาจต้องเชื่อ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | knowledge discovery in databases | การค้นพบความรู้ในฐานข้อมูล, กระบวนการที่สามารถสกัดความรู้จากข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้เป็นอย่างดีในฐานข้อมูล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| | เจียมตน | (v) humble, See also: humiliate, abase, Syn. เจียมตัว, เจียมเนื้อเจียมตัว, เจียมกะลาหัว, Example: พวกคนใช้เหล่านี้ไม่รู้จักเจียมตนทำตัวเผยอเจ้านาย, Thai Definition: รู้จักประมาณตัว, ประพฤติตนพอสถานประมาณ | ลดเกียรติ | (v) abase, Syn. ลดฐานะ, Example: เขาถือว่าหัวหน้าลดเกียรติเขาที่ให้เขามาทำงานกุลีแบบนี้, Thai Definition: ทำให้ชื่อเสียงฐานะลดต่ำลงกว่าที่เคยเป็น | ลดตัว | (v) abase, See also: lower oneself, Thai Definition: เกี่ยวข้องกับผู้ที่อยู่ในฐานะต่ำกว่า | ฐานข้อมูล | (n) database, Example: ฐานข้อมูลที่มีการเก็บคุณสมบัติของวัสดุ มักจำกัดเฉพาะกับโลหะ พลาสติก หรือกระเบื้อง | ฐานข้อมูลร่วม | (n) integral database, Example: โปรแกรม MapInfo มีโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลร่วมอยู่ด้วยมีชื่อว่า Mbase |
| เจียมตน | [jīemton] (v) EN: humble ; humiliate ; abase | คลังข้อมูล | [khlang khømūn] (n, exp) EN: database ; data bank FR: base de données [ f ] ; banque de données [ f ] | ลดเกียรติ | [lot kīet] (v, exp) EN: abase | ลดฐานะ | [lot thāna] (v, exp) EN: abase | ลดตัว | [lot tūa] (v, exp) EN: abase | ระบบจัดการฐานข้อมูล | [rabop jatkān thānkhømūn] (n, exp) EN: Database Management System (DBMS) | ระบบฐานข้อมูล | [rabop thānkhømūn] (n, exp) EN: database system | ฐานข้อมูล | [thānkhømūn] (n) EN: database FR: base de données [ f ] | ฐานข้อมูลหลายมิติ | [thānkhømūn lāi miti] (n, exp) EN: multidimentional database FR: base de données multidimensionnelle |
| | | abasement | (n) a low or downcast state; - H.L.Menchken, Syn. degradation, abjection | database | (n) an organized body of related information | database management | (n) creation and maintenance of a database | database management system | (n) a software system that facilitates the creation and maintenance and use of an electronic database, Syn. DBMS | electronic database | (n) (computer science) a database that can be accessed by computers, Syn. computer database, electronic information service, on-line database | lexical database | (n) a database of information about words | object-oriented database | (n) a database in which the operations carried out on information items (data objects) are considered part of their definition | object-oriented database management system | (n) a database management system designed to manage an object-oriented database | patent and trademark office database | (n) the government bureau in the Department of Commerce that keeps a record of patents and trademarks and grants new ones, Syn. Patent Office | relational database | (n) a database in which relations between information items are explicitly specified as accessible attributes | relational database management system | (n) a database management system designed to manage a relational database | humiliate | (v) cause to feel shame; hurt the pride of, Syn. humble, abase, chagrin, mortify | humiliation | (n) depriving one of self-esteem, Syn. abasement | penance | (n) voluntary self-punishment in order to atone for some wrongdoing, Syn. self-abasement, self-mortification |
| Abase | v. t. [ imp. & p. p. Abased p. pr. & vb. n. Abasing. ] [ F. abaisser, LL. abassare, abbassare ; ad + bassare, fr. bassus low. See Base, a. ] [ 1913 Webster ] 1. To lower or depress; to throw or cast down; as, to abase the eye. [ Archaic ] Bacon. [ 1913 Webster ] Saying so, he abased his lance. Shelton. [ 1913 Webster ] 2. To cast down or reduce low or lower, as in rank, office, condition in life, or estimation of worthiness; to depress; to humble; to degrade. [ 1913 Webster ] Whosoever exalteth himself shall be abased. Luke xiv. ll. [ 1913 Webster ] Syn. -- To Abase, Debase, Degrade. These words agree in the idea of bringing down from a higher to a lower state. Abase has reference to a bringing down in condition or feelings; as, to abase the proud, to abase one's self before God. Debase has reference to the bringing down of a thing in purity, or making it base. It is, therefore, always used in a bad sense, as, to debase the coin of the kingdom, to debase the mind by vicious indulgence, to debase one's style by coarse or vulgar expressions. Degrade has reference to a bringing down from some higher grade or from some standard. Thus, a priest is degraded from the clerical office. When used in a moral sense, it denotes a bringing down in character and just estimation; as, degraded by intemperance, a degrading employment, etc. “Art is degraded when it is regarded only as a trade.” [ 1913 Webster ] | Abased | a. 1. Lowered; humbled. [ 1913 Webster ] 2. (Her.) [ F. abaissé. ] Borne lower than usual, as a fess; also, having the ends of the wings turned downward towards the point of the shield. [ 1913 Webster ] | Abasedly | adv. Abjectly; downcastly. [ 1913 Webster ] | Abasement | n. [ Cf. F. abaissement. ] The act of abasing, humbling, or bringing low; the state of being abased or humbled; humiliation. [ 1913 Webster ] | Abaser | n. He who, or that which, abases. [ 1913 Webster ] | database | n. an organized body of related information. [ WordNet 1.5 ] | Diabase | n. [ F. diabase, fr. Gr. &unr_; a crossing or passing over, fr. &unr_;; &unr_; + &unr_; to go; -- so called by Brongniart, because it passes over to diorite. ] (Min.) A basic, dark-colored, holocrystalline, igneous rock, consisting essentially of a triclinic feldspar and pyroxene with magnetic iron; -- often limited to rocks pretertiary in age. It includes part of what was early called greenstone. [ 1913 Webster ] | Panabase | n. [ Pan- + base. So called in allusion to the number of metals contained in it. ] (Min.) Same as Tetrahedrite. [ 1913 Webster ] | Self-abased | a. Humbled by consciousness of inferiority, unworthiness, guilt, or shame. [ 1913 Webster ] | Self-abasement | n. 1. Degradation of one's self by one's own act. [ 1913 Webster ] 2. Humiliation or abasement proceeding from consciousness of inferiority, guilt, or shame. [ 1913 Webster ] |
| 搜索 | [sōu suǒ, ㄙㄡ ㄙㄨㄛˇ, 搜 索] to search; to look for sth; to scour (search meticulously); to look sth up; internet search; database search #3,689 [Add to Longdo] | 数据库 | [shù jù kù, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄎㄨˋ, 数 据 库 / 數 據 庫] database #6,660 [Add to Longdo] | 辉绿岩 | [huī lǜ yán, ㄏㄨㄟ ㄌㄩˋ ㄧㄢˊ, 辉 绿 岩 / 輝 綠 岩] diabase (geol.); dolerite #102,706 [Add to Longdo] | 汇出 | [huì chū, ㄏㄨㄟˋ ㄔㄨ, 汇 出 / 匯 出] to remit (money); to repatriate (funds); to export data (e.g. from a database) [Add to Longdo] | 数据库软件 | [shù jù kù ruǎn jiàn, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ ㄎㄨˋ ㄖㄨㄢˇ ㄐㄧㄢˋ, 数 据 库 软 件 / 數 據 庫 軟 件] database software [Add to Longdo] | 资料库 | [zī liào kù, ㄗ ㄌㄧㄠˋ ㄎㄨˋ, 资 料 库 / 資 料 庫] database [Add to Longdo] |
| データベース | [でーたべーす, de-tabe-su] TH: ฐานข้อมูล EN: database |
| | データベース | [de-tabe-su] (n) { comp } database #2,577 [Add to Longdo] | DBMS | [ディービーエムエス, dei-bi-emuesu] (n) { comp } database management system; DBMS [Add to Longdo] | インテリジェントデータベース | [interijientode-tabe-su] (n) { comp } intelligent database [Add to Longdo] | オブジェクトデータベース管理システム | [オブジェクトデータベースかんりシステム, obujiekutode-tabe-su kanri shisutemu] (n) { comp } object database management system [Add to Longdo] | オブジェクト指向データベース | [オブジェクトしこうデータベース, obujiekuto shikou de-tabe-su] (n) { comp } object-oriented database; OODB [Add to Longdo] | オブジェクト指向型データベース | [オブジェクトしこうがたデータベース, obujiekuto shikougata de-tabe-su] (n) { comp } object oriented database [Add to Longdo] | オンラインデータベース | [onrainde-tabe-su] (n) { comp } on-line database; online database [Add to Longdo] | オンラインデータベースシステム | [onrainde-tabe-sushisutemu] (n) { comp } online database system [Add to Longdo] | カード型データベース | [カードがたデータベース, ka-do gata de-tabe-su] (n) { comp } card-type database [Add to Longdo] | ステム幅整合 | [ステムはばせいごう, sutemu habaseigou] (n) { comp } snap [Add to Longdo] | データベースアプリケーション | [de-tabe-suapurike-shon] (n) { comp } database application [Add to Longdo] | データベースエンジン | [de-tabe-suenjin] (n) { comp } database engine [Add to Longdo] | データベースサーバー | [de-tabe-susa-ba-] (n) { comp } database server [Add to Longdo] | データベースソフト | [de-tabe-susofuto] (n) { comp } database software [Add to Longdo] | データベースソフトウェア | [de-tabe-susofutouea] (n) { comp } database software [Add to Longdo] | データベース化 | [データベースか, de-tabe-su ka] (n) compilation of a database [Add to Longdo] | データベース管理 | [データベースかんり, de-tabe-su kanri] (n) { comp } database management [Add to Longdo] | データベース技術 | [データベースぎじゅつ, de-tabe-su gijutsu] (n) { comp } database technology [Add to Longdo] | データベース再編成 | [データベースさいへんせい, de-tabe-su saihensei] (n) { comp } database restructure; database reorganization [Add to Longdo] | ファクトデータベース | [fakutode-tabe-su] (n) fact database [Add to Longdo] | マルチメディアデータベース | [maruchimedeiade-tabe-su] (n) { comp } multimedia database; MDB [Add to Longdo] | リレーショナルデータベース | [rire-shonarude-tabe-su] (n) { comp } relational database; RDB [Add to Longdo] | リレーショナルデータベースシステム | [rire-shonarude-tabe-sushisutemu] (n) { comp } Relational Database system [Add to Longdo] | 外部結合 | [がいぶけつごう, gaibuketsugou] (n) (1) { comp } outer join (e.g. in relational database); left outer join; (2) external coupling; external linkage [Add to Longdo] | 謙る;遜る | [へりくだる, herikudaru] (v5r, vi) to deprecate oneself and praise the listener; to abase oneself [Add to Longdo] | 失墜 | [しっつい, shittsui] (n, vs) abasement; fall; forfeiture; sinking (in people's estimation); (P) [Add to Longdo] | 卑しめる | [いやしめる, iyashimeru] (v1, vt) to despise; to abase (oneself) [Add to Longdo] | 卑下 | [ひげ, hige] (n, vs, adj-no) self-abasement; humility; self-depreciation [Add to Longdo] | 分散型データベース | [ぶんさんがたデータベース, bunsangata de-tabe-su] (n) { comp } distributed database [Add to Longdo] | 分散型データベース管理システム | [ぶんさんがたデータベースかんりシステム, bunsangata de-tabe-su kanri shisutemu] (n) { comp } Distributed DataBase Management System; DDBMS [Add to Longdo] | 補記 | [ほき, hoki] (n, vs) addition (to a text); additional entry (e.g. to a database) [Add to Longdo] |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |