ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*graph*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: graph, -graph-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


English-Thai: Longdo Dictionary
geography(n) ภูมิศาสตร์
bush telegraph(slang) พูดกันให้แซ่ด(มักเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของตำรวจที่จะจับผู้ต้องสงสัยที่ซ่อนตัวอยู่(เปรียบเปรยดังเช่น ซ่อนอยู่หลังพุ่มไม้)) เช่น The police are baffled by the number and activity of the bush telegraphs.
spectrograph(n) กล้องโทรทัศน์/กล้องดูดาว ที่มีความสามารถในการบันทึกภาพจากสิ่งที่ส่องอยู่ เช่น The solar-stellar spectrograph is located 5 meters south of the main solar spectrograph on the ground floor of the McMath Telescope complex., See also: Spectoscope, telescope
telegraphic transfer(n) การโอนเงินโดยทางโทรเลข เช่น When you wish to make a payment from your account whether by Telegraphic Transfer or by Currency Draft you will need to visit an Abbey branch., Syn. wire transfer

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
graph(n) เส้นกราฟ, Syn. chart, diagram
graph(suf) เกี่ยวกับสิ่งที่วาดหรือเขียน
graphy(suf) เกี่ยวกับรูปแบบหรือกระบวนการทางศิลปะการเขียน การวาด การนำเสนอหรืออื่นๆ
graphic(adj) แสดงชัดเจน, See also: แสดงด้วยภาพ, Syn. descriptive, visible, illustrated, Ant. ambiguous, abstract
graphic(adj) เกี่ยวกับภาพ, See also: เกี่ยวกับเส้นกราฟ, เกี่ยวกับการเขียน
diagraph(n) เครื่องวัดมุมและเส้นแบ่งองศา, See also: ไม้โปรแทรกเตอร์
epigraph(n) คำอ้างอิงในตอนต้นของหนังสือ, บท, ตอน ซึ่งมักจะเกี่ยวข้องกับแก่นของเรื่อง
epigraph(n) ตัวหนังสือที่แกะสลักไว้บนรูปปั้นอนุเสาวรีย์หรือสิ่งก่อสร้าง, Syn. inscription
graphics(n) ภาพพิมพ์, See also: ภาพกราฟฟิก
graphite(n) ตะกั่วดำ, See also: แกรไฟต์
autograph(n) ลายเซ็น, Syn. signature
bar graph(n) กราฟแท่ง, Syn. bar chart
biography(n) อัตชีวประวัติ, See also: ประวัติชีวิต, ประวัติส่วนตัว, ชีวประวัติ, Syn. autobiography, profile
epigraphy(n) การศึกษาและถอดความหมายของตัวหนังสือโบราณที่แกะสลักไว้
epigraphy(n) ตัวหนังสือที่แกะสลักไว้, See also: คำอ้างอิงในตอนต้นของหนังสือ, Syn. inscription
geography(n) ภูมิศาสตร์, Syn. geology, earth science
graph out(phrv) แสดง (ข้อมูล) ด้วยกราฟ
homograph(n) คำพ้องรูป
ideograph(n) ตัวเขียนแทนความหมาย / ความคิด (เช่นของจีนและญี่ปุ่น), See also: สัญลักษณ์แทนความหมาย / ความคิด, Syn. ideogram
monograph(n) บทความเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ, See also: เอกสาร, ข้อเขียน, หนังสือ, Syn. treatise, dissertation, essay, report
orography(n) การศึกษาเกี่ยวกับภูเขา, Syn. orology
paragraph(n) ย่อหน้า, See also: ตอนหนึ่งของข้อความ, Syn. passage, section, article
paragraph(vi) แบ่งเป็นย่อหน้า, Syn. group, section, divide
paragraph(vt) เขียนข่าวหรือบทความย่อหน้าสั้นๆ
polygraph(n) อุปกรณ์ทำสำเนาภาพ, Syn. detector
serigraph(n) สิ่งตีพิมพ์ซิลค์สกรีน
telegraph(n) ระบบการส่งโทรเลข, Syn. electric telegraph, wireless, radio telegraph
telegraph(vi) ส่งโทรเลข, See also: ส่งสัญญาณทางไกล, Syn. wire, flash
telegraph(vt) ส่งโทรเลข, See also: ส่งสัญญาณทางไกล, Syn. wire, flash
telegraph(vt) สื่อสารแบบไม่ใช้คำพูด
xylograph(n) การแกะสลักไม้
zoography(n) สาขาสัตวแพทย์วิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับรูปพรรณของสัตว์
aerography(n) การศึกษาสภาพอากาศหรือบรรยากาศ
anemograph(n) เครื่องวัดที่บันทึกอัตราความเร็วและทิศทางของลม
biographer(n) ผู้เขียนชีวประวัติของผู้อื่น
demography(n) การศึกษาเรื่องประชากร, See also: ประชากรศาสตร์
geographer(n) นักภูมิศาสตร์
hectograph(n) เครื่องพิมพ์อัดสำเนา
hectograph(vt) พิมพ์ด้วยแม่พิมพ์จากเครื่องพิมพ์อัดสำเนา
heliograph(n) เครื่องมือถ่ายภาพดวงอาทิตย์ (ทางดาราศาสตร์), Syn. photoheliograph
heliograph(n) เครื่องส่งสัญญาณด้วยกระจกสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์
heliograph(vi) ส่งสัณญาณโดยใช้เครื่องส่งสัญญาณด้วยกระจกสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์
heliograph(vt) ส่งสัณญาณโดยใช้เครื่องส่งสัญญาณด้วยกระจกสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์
hydrograph(n) กราฟแสดงระดับน้ำและอัตราการไหลของน้ำเทียบกับเวลา
mimeograph(n) เครื่องโรเนียว, See also: เครื่องอัดสำเนาด้วยกระดาษไข
mimeograph(vt) อัดสำเนาจากกระดาษไข, Syn. copy, simulate
pantograph(n) อุปกรณ์คัดลอก
phonograph(n) เครื่องเล่นจานเสียง, See also: หีบเสียง, Syn. record player
photograph(n) ภาพถ่าย, See also: รูปถ่าย, รูปภาพ, ภาพเหมือน, Syn. photo, picture, portrait, painting, snapshot
photograph(vt) บันทึกภาพ, See also: ถ่ายภาพ, ถ่ายรูป, Syn. snap, shoot

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
accelerograph(แอคเซล' เลอโรกราฟ) n. เครื่องเร่งบันทึกอัตโนมัติ
actinograph(แอคทิน' โนกราฟ) n. บันทึกจากเครื่อง actinometer. -actinographic adj., -actinography n.
addressograph(อะเดรส' โซกราฟ) เครื่องจ่าหน้าซองจดหมายจำนวนมากและรวดเร็ว
aerograph(แอ' โรกราฟ) n. บันทึกอุตุวิทยา
aerography(แอรอก' กระฟี) n การเขียนบรรยากาศเกี่ยวกับอากาศหรือบรรยากาศ. -aerographer n., -aerographic adj.
aerometeorograph(แอโรมีทิโอโรกราฟ) n. =aerograph (a meteorograph)
agrapha(แอก' ราฟา) n. คำสอนของพระเยซูคริสต์ที่บันทึกโดยชาวคริสเตียนใน New Testament เล่มอื่นที่ไม่ใช่ Gospels
allograph(แอล' โลกราฟ) n. การเขียนหรือการเซ็นชื่อดดยคนหนึ่งเพื่ออีกคนหนึ่ง
anemograph(อะเนม' โมกราฟ) n. เครื่องวัดที่บันทึกอัตราความเร็วของลม -anemographic adj. (a recording aanemometer)
anepigraphic(แอนเอพ' พะกราฟ' ฟิค) adj. ไร้ประวัติ, ไม่ได้ปรากฏในตำนาน., Syn. anepigraphous
angiocardiography(แอนจิโอคาดิออก' กระพี) n. การถ่ายเอ็กซเรย์หัวใจ และหลอดเลือดหัวใจหลังฉีดสารทึบแสง
ansi graphicsการสร้างภาพกราฟิกของแอนซีหมายถึงสัญลักษณ์พิเศษที่ใช้ในการสร้างภาพกราฟิกธรรมดา เช่น เส้นตรง, เส้นเฉียง, สี่เหลื่ยม, วงกลม ฯ) ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ดู ANSI ประกอบ
arcograph(อาร์ค'โคกราฟ) n. เครื่องมือวาดรูปโค้ง, วงเวียน, Syn. cyclograph
astrophotography(แอสโทรโฟทอก'กระฟี) n. การถ่ายภาพดวงดาวและวัตถุในอวกาศ. -astrophotographic adj.
audiographic conferenceการประชุมทางไกลด้วยเสียงและภาพหมายถึง การประชุมระหว่างคนสองคนหรือมากกว่า ที่อยู่ห่างไกลกันมาก นอกจากจะได้ยินเสียงของกันและกันแล้ว ยังสามารถเห็นภาพประกอบการประชุมได้ด้วย ภาพดังกล่าวน่าจะเป็นภาพกราฟิกส์ในเครื่องคอมพิวเตอร์
autobiographic(al) (ออโทไบโอกราฟ'ฟิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับประสบการณ์หรือชีวประวัติของตัวเอง, เกี่ยวกับอัตชีวประวัติ
autobiography(ออโทไบออก'กระฟี) n. ชีวประวัติของตัวเอง, อัตชีวประวัติ, อัตประวัติ.
autograph(ออ'โทกราฟ) n. ลายเซ็นของตัวเอง (เพื่อเก็บไว้เป็นอนุสรณ์) , สิ่งที่เขียนด้วยมือตัวเอง, ต้นฉบับ. -adj. เขียนด้วยมือตัวเอง. -vt. เซ็นชื่อตัวเองบน, เขียนด้วยมือของตัวเอง. -autographic (al) adj. -autography n.
autoradiograph(ออโทรเร'ดีโอกราฟ) n. ภาพถ่ายแสดงการมีสารกัมมันตภาพรังสีสะสมอยู่., Syn. radioautograph -autoradiography n.
bibliographer(บิบบลิออก'กระเฟอร์) n. ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับบรรณานุกรม
bibliography(บิบบลิออก'กระฟี่) n. บรรณานุกรม, รายชื่อหนังสือเฉพาะเรื่องหรือกลุ่มเรื่อง, See also: bibliographic adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม bibliographical adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม
biographer(ไบออก'กระเฟอะ) n. ผู้เขียนชีวประวัติ'
biographial(ไบโอกราฟ'ฟิค, -เคิล) adj., n. เกี่ยวกับชีวิตของบุคคล, วรรณคดีชีวประวัติ'
biographic(ไบโอกราฟ'ฟิค, -เคิล) adj., n. เกี่ยวกับชีวิตของบุคคล, วรรณคดีชีวประวัติ'
bitmapped graphic(กราฟิกบิตแมป) หมายถึง ภาพที่มีลักษณะของบิตแมป กล่าวคือประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ ของแสงที่เรียกว่าจุดภาพ (pixel) จุดนี้จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ การขยายขนาดของภาพจะทำให้จุดนี้โตขึ้น และเห็นเป็นรอยหยัก ๆ ถ้าเป็นเส้นโค้ง ก็จะยิ่งเห็นได้ชัด โปรแกรมวาดภาพบางโปรแกรม เช่น MacPaint หรือ Paint จะสร้างและและเก็บภาพ ในลักษณะนี้ ในระบบวินโดว์ แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้ จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .BMPมีความหมายเหมือน bitmapped image
bush telegraphn. ข่าวที่แพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว
calligraphy(คะลิก'กระพี) n. ลายมือดี, ลายมือสวย, การคัดลายมือ, ศิลปะการคัดลายมือ., See also: calligrapher n. ผู้มีลายมือดี calligraphist n. ผู้มีลายมือดี calligraphic adj. ลายมือดี calligraphical adj. ลายมือดี
cardiographดูelectrocardiograph., See also: cardiographic adj.
cartographyn. การสร้างแผนที่, วิชาการทำแผนที่หรือแผนภาพ., See also: cartographer n. ดูcartography cartographic adj. ดูcartography cartographical adj. ดูcartography, Syn. chartography
character graphicsอักขระภาพหมายถึง สัญลักษณ์หรือภาพต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นโดยการกดแป้นพิมพ์ ถือว่าเป็นแบบอักษร (font) แบบหนึ่ง (สำหรับเครื่องพีซี อาจใช้วิธีกดแป้น ALT+ เลขต่าง ๆ ตาม รหัสที่กำหนดไว้ก็ได้) เช่น แบบตัวอักขระภาพที่มากับระบบวินโดว์ของพีซี มีชื่อว่า Wingdings ส่วนของแมคอินทอช ชื่อ Zapf การขยายหรือลดขนาดภาพเหล่านี้ ใช้วิธีเดียวกับที่ทำกับแบบอักษรอื่น ๆ ไม่ใช่วิธีที่ทำกับภาพ
chirographn. เอกสารหนังสือลงลายมือ
chronographn. นาฬิกาที่เที่ยงตรงมาก., See also: chronographer n. ดูchronograph -chronographic adj. ดูchronograph
cinematographn. เครื่องฉายภาพยนตร์, กล้องถ่ายภาพยนตร์.
color graphic adapterตัวปรับต่อภาพสีใช้ตัวย่อว่า CGA หมายถึง ตัวปรับสำหรับภาพกราฟิกที่จะมองเห็นบนจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวปรับนี้เป็นมาตรฐานจอภาพของเครื่องไอบีเอ็ม แต่ภาพที่ปรากฏให้เห็นบนจอนั้นยังดูแข็ง ไม่ได้ผสมกลมกลืนสนิท ดูแล้วพาลจะปวดศรีษะได้ง่าย ๆ คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ จึงพัฒนาตัวปรับสีนี้ใหม่ มีชื่อ เรียกว่า EGA หรือ VGA
computer graphics metafilใช้ตัวย่อว่า CGM (อ่านว่า ซีจีเอ็ม) เป็นรูปแบบที่คอมพิวเตอร์ใช้เก็บภาพแบบหนึ่ง แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .cgm
cryptograph(คริพ'ทะกราฟ) n. = cryptogram, ระบบการเขียนอักษรลับหรือรหัสลับ, เครื่องเขียนรหัสหรืออักษรลับ
cryptographyวิทยาการเข้ารหัสลับหมายถึง วิชาที่ว่าด้วยการกำหนดรหัสให้แก่ข้อความต่าง ๆ ที่คนภายนอกจะไม่สามารถเข้าใจ ผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้นที่จะสามารถถอดรหัสและเข้าใจความหมายได้
demographics(ดีมะแกรฟ'ฟิคสฺ) n.สถิติประชากร
demography(ดิมอก'กระพี) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสถิติประชากร, See also: demographer n. ดูdemography demographic adj. ดูdemography demographist n. ดูdemography
demonographyn. เรื่องเขียนเกี่ยวกับภูต
diagraphn. เครื่องมือวาดแผนภาพ
digraph(ได'กราฟ) n. อักษรคู่ที่ออกเสียงเดี่ยว
discographer(ดิสคอก'ระเฟอะ) n. ผู้สะสมรายชื่อจานเสียง
discographyn. การสะสมรายชื่อจานเสียง
dittographn. คำที่ซ้ำ (เพราะเขียนหรือพิมพ์ผิด) ., See also: dittography n. ดูdittograph
eidograph(ไอ'โดกราฟ) n. เครื่องมือขยายภาพวาด
electrocardiographn. เครื่องตรวจและบันทึกคลื่นไฟฟ้าของหัวใจ cardiograph
electrographn. บันทึกเป็นกราฟที่ได้จากวิธีการทางไฟฟ้า
encephalographyn. การตรวจสมองด้วยการดูจากภาพเอกซเรย์., See also: encephalographic adj.
enhanced graphic adaptorenhanced graphics adapterตัวปรับภาพเพิ่มความคมใช้ตัวย่อว่า EGA (อ่านว่า อีจีเอ) เป็นมาตรฐานของจอภาพได้รับการพัฒนามาขั้นหนึ่งแล้ว ปัจจุบัน จอภาพยังคงได้รับการพัฒนาให้คมชัด และมีสีสวยขึ้นเรื่อย ๆ จอที่ดีกว่า คือจอ VGA หรือ Super VGA หรือที่เรียกว่า SVGA ดู VGA และ SVGA ประกอบ

English-Thai: Nontri Dictionary
autobiographer(n) ผู้เขียนอัตชีวประวัติ
autobiographic(adj) เกี่ยวกับอัตชีวประวัติ
autobiography(n) อัตชีวประวัติ, อัตประวัติ
autograph(n) ลายเซ็น, ลายมือ, ต้นฉบับ
autograph(vt) ลงชื่อ, เซ็นชื่อ
bibliographer(n) บรรณารักษ์
bibliography(n) บรรณานุกรม, รายชื่อเอกสารอ้างอิง
biographer(n) คนเขียนชีวประวัติ
biographical(adj) เกี่ยวกับชีวประวัติ
biography(n) ชีวประวัติ, อัตชีวประวัติ, อัตประวัติ
ethnography(n) ชาติพันธุ์วรรณนา, ชาติวงศ์วรรณนา
geographer(n) นักภูมิศาสตร์
geographic(adj) เกี่ยวกับภูมิศาสตร์, ในทางภูมิศาสตร์, ตามภูมิศาสตร์
geographical(adj) เกี่ยวกับภูมิศาสตร์, ในทางภูมิศาสตร์, ตามภูมิศาสตร์
geography(n) ภูมิศาสตร์, ภูมิประเทศ, ภูมิศาสตร์ธรรมชาติ
graph(n) กราฟ, เส้นกราฟ
graph(vi) เขียนกราฟ
graphic(adj) โดยกราฟ, เกี่ยวกับภาพวาด, เกี่ยวกับการขีดเขียน
graphically(adv) โดยกราฟ, แจ่มแจ้ง, ชัดเจน
graphite(n) ถ่านดำใช้ทำดินสอ, กราไฟท์
hydrography(n) อุทกศาสตร์
lexicographer(n) ผู้เขียนพจนานุกรม, ผู้รวบรวมพจนานุกรม
lithograph(n) รูปพิมพ์หิน, สิ่งพิมพ์เรียบ
lithograph(vt) พิมพ์หิน
mimeograph(n) เครื่องอัดสำเนา, เครื่องโรเนียว
mimeograph(vt) อัดสำเนา, ทำสำเนา, โรเนียว
orthography(n) การสะกดคำ
paragraph(n) ย่อหน้า
phonograph(n) หีบเสียง, เครื่องเล่นจานเสียง
photograph(vt) ถ่ายรูป, ถ่ายภาพ
photographer(n) ช่างถ่ายรูป, ตากล้อง, ช่างภาพ
photographic(adj) เกี่ยวกับการถ่ายรูป, เกี่ยวกับการถ่ายภาพ, เหมือนจริง
photography(n) การถ่ายรูป, การถ่ายภาพ, เทคนิคการถ่ายภาพ
stenograph(n) ชวเลข
stenograph(vi) จดชวเลข
stenographer(n) คนจดชวเลข, นักชวเลข
stenographic(adj) เกี่ยวกับชวเลข
stenography(n) การจดชวเลข
stereograph(n) ภาพสามมิติ
telegraph(n) เครื่องส่งโทรเลข, เครื่องส่งสัญญาณทางไกล
telegraph(vi) ส่งโทรเลข, ส่งสัญญาณทางไกล
topographical(adj) เกี่ยวกับภูมิประเทศ, ว่าด้วยภูมิประเทศ
topography(n) สภาพของท้องที่, ภูมิประเทศ
xylography(n) การแกะสลักไม้

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
Pneumoencephalographyการถ่ายภาพรังสีโพรงสมองหลังฉีดอากาศ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pathology, geographicalภูมิศาสตร์พยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
petrographyศิลาวรรณนา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
phonocardiographเครื่องบันทึกเสียงหัวใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
phonocardiographyการบันทึกเสียงหัวใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
phonographเครื่องบันทึกเสียง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
poruegraphicเกี่ยวกับสิ่งลามกอนาจาร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
pyelographyการทำไพอีโลแกรม, การถ่ายภาพรังสีกรวยไต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pyelography, excretionการทำไพอีโลแกรมขับถ่าย [ มีความหมายเหมือนกับ pyelography, intravenous ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pyelography, intravenousการทำไพอีโลแกรมวิธีฉีดเข้าหลอดเลือด [ มีความหมายเหมือนกับ pyelography, excretion ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pyelography, retrogradeการทำไพอีโลแกรมสวนทางขึ้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pelviography; pelvioradiography; pelviradiography; pelviroentgenographyการถ่ายภาพรังสีเชิงกราน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pelvioradiography; pelviography; pelviradiography; pelviroentgenographyการถ่ายภาพรังสีเชิงกราน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
planigraphy; laminagraphy; laminography; planography; stratigraphy; tomographyการถ่ายภาพรังสีระนาบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pelviradiography; pelviography; pelvioradiography; pelviroentgenographyการถ่ายภาพรังสีเชิงกราน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pelviroentgenography; pelviography; pelvioradiography; pelviradiographyการถ่ายภาพรังสีเชิงกราน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pornographyเรื่องเร้ากามารมณ์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
pornographyงานลามก [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
pathography๑. ประวัติโรค๒. โรคาวรรณนา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
political geographyภูมิศาสตร์การเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
pantographเครื่องวาดเขียนย่อขยาย [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
pantographแพนโทกราฟ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
photomicrographภาพถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
photomicrographyการถ่ายภาพจากกล้องจุลทรรศน์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
plane graphกราฟบนระนาบ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
planar graphกราฟเชิงระนาบ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
pharmacographyเภสัชพรรณนา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
paragraphอนุเฉท, ย่อหน้า [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
paragraphวรรค [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
paleo-demographyประชากรศาสตร์สมัยดึกดำบรรพ์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
planography; laminagraphy; laminography; planigraphy; stratigraphy; tomographyการถ่ายภาพรังสีระนาบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
planographyกลวิธีพิมพ์พื้นราบ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
phlebography; venography๑. กระบวนการบันทึกภาพรังสีหลอดเลือดดำ๒. การบันทึกชีพจรหลอดเลือดดำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pure demographyประชากรศาสตร์บริสุทธิ์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
lithographyกลวิธีพิมพ์หิน [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
lexico-graphic orderลำดับอักษร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
lexico-graphic orderอันดับอักษร [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
lithostratigraphic horizonแนวชั้นลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
lithostratigraphic unitหน่วยลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
lithostratigraphic zoneส่วนชั้นลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
lithostratigraphy๑. วิชาลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน๒. การลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน๓. ลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
laminography; laminagraphy; planigraphy; planography; stratigraphy; tomographyการถ่ายภาพรังสีระนาบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
laminagraphy; laminography; planigraphy; planography; stratigraphy; tomographyการถ่ายภาพรังสีระนาบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
lymphangiographyการถ่ายภาพรังสีหลอดน้ำเหลือง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
lymphographyการถ่ายภาพรังสีระบบน้ำเหลือง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
logarithmic graphกราฟลอการิทึม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
laryngograph; glottographเครื่องวัดเส้นเสียงสั่น [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕]
lithostratigraphic classificationการจำแนกลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
radiophotographyการถ่ายภาพรังสีวาวแสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
retrograde pyelographyการทำไพอีโลแกรมสวนทางขึ้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Annotated bibliographyบรรณนิทัศน์ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Bibliographerผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา [เทคโนโลยีการศึกษา]
Bibliographyบรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา]
Author bibliographyบรรณานุกรมของผู้แต่ง [เทคโนโลยีการศึกษา]
Online bibliographic searchingการค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Biographical dictionaryอักขรานุกรมชีวประวัติ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Geographic information systemระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Bibliographic citationการอ้างถึงทางบรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา]
Autobiographyอัตชีวประวัติ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Biographyชีวประวัติ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Annotated bibliographyบรรณนิทัศน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Author bibliographiesบรรณานุกรมของผู้แต่ง, บรรณานุกรมของผู้แต่ง, Example: เป็นรายชื่อผลงานของผู้แต่งที่รวบรวมขึ้น <p> <p>ตัวอย่าง บรรณานุกรมของผู้แต่ง <p> <p> 1. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) <p> 2. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน <p> 3. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน และพระสารประเสริฐ <p> 4. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ของ ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล <p> 5. บรรณานุกรมงานส่วนบุคคลของศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร <p> 6. บรรณานุกรมประกอบบรรณนิทัศน์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว <p> 7. บรรณานุกรมพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และเรื่องที่เกี่ยวข้อง <p> 8. เรียงร้อยบรรณรัตน์ : บรรณานุกรมและดรรชนีพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี <p> 9. รายชื่อหนังสือพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Autobiographyอัตชีวประวัติ, อัตชีวประวัติ, Example: Autobiography หมายถึง อัตชีวประวัติ เป็นเรื่องราวชีวิตของบุคคลที่เขียนขึ้นโดยบุคคลคนนั้นเอง เนื้อหาของอัตชีวประวัติ อาจเล่าถึงชีวิตส่วนตัวที่ไม่มีใครเคยรู้มาก่อน หรือ ไม่เคยถูกเผยแพร่ที่ไหนมาก่อน โดยทั่วไปอยู่ในรูปของการเล่าเหตุการณ์ที่ผู้เขียนเห็นว่าสำคัญหรือน่าสนใจมากที่สุดที่คัดเลือกจากผู้ที่เต็มใจจะเปิดเผย คำว่า “อัตชีวประวัติ” ใช้เป็นครั้งแรกโดย โรเบิร์ต ซัทธีย์ (Robert Southey) ในปี ค.ศ. 1809 ส่วนอัตชีวประวัติที่เขียนอย่างสมบูรณ์เป็นครั้งแรกในศตวรรษที่ 4 มีชื่อว่า The Confessions เขียนโดยเซนต์ออกัสติน (Saint Augustine) อัตชีวประวัติบางเรื่องเจ้าของชีวประวัติเขียนให้เป็นนวนิยาย เช่น เรื่อง David Copperfield ของ ชาร์ลส์ ดิคเกนส์ (Charles Dickens) ในปัจจุบันอัตชีวประวัติของคนที่มีชื่อเสียงมักเขียนโดยเจ้าของชีวประวัติร่วมกับนักประพันธ์อาชีพในลักษณะบอกให้เขียน ซึ่งลักษณะการเขียนแบบนี้มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ ทั้งนี้นักเขียนชีวประวัติมักจะเขียนชีวประวัติจากเอกสารอ้างอิงต่างๆ และจากความคิดเห็นของตนเอง แต่นักเขียนอัตชีวประวัติเขียนชีวประวัติจากความทรงจำของตนเองทั้งหมด ซึ่งใกล้เคียงกับบันทึกความทรงจำ (Memoir) ที่บางครั้งแยกออกจากกันได้ยาก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographerผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา, ผู้รวบรวมจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Geographic information systemระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Online bibliographic searchingการค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์, Example: <p>บรรณานุกรม (Bibliographic) หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุหรือไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านรายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เป็นการให้เครดิตแก่เจ้าของผลงาน และป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ <p>การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ตัวอย่างเช่น การสืบค้นข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ห้องสมุดจัดหาเข้ามา หรือ รายการเข้าถึงแบบออนไลน์ (Online Public Access Catalog : OPAC) ข้อมูลบรรณานุกรมที่แสดง คือ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ นอกจากนี้การสืบค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ยังรวมถึงการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ประเภทฐานข้อมูลบรรณานุกรม ที่แสดงผลเฉพาะข้อมูลบรรณานุกรม เช่น ฐานข้อมูล ISI : Web of Science หรือ ฐานข้อมูล Scopus เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographyบรรณานุกรม, Example: หรือ เอกสารอ้างอิง คือ รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ (หนังสือ บทความจากวารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลออนไลน์ ข้อมูลจากเว็บไซต์ต่าง ๆ) ที่ผู้เขียนใช้ประกอบการเขียนหนังสือเล่มนั้น หรืออาจเป็นรายชื่อที่ผู้เขียนแนะนำให้อ่านเพิ่มเติม อาจอยู่ท้ายเล่มหรือท้ายบทแต่ละบทก็ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic controlการควบคุมทางบรรณานุกรม, Example: <p>การควบคุมทางบรรณานุกรม หมายถึง การเข้าถึงบันทึกความรู้ต่างๆ โดยการใช้บรรณานุกรม การควบคุมทางบรรณานุกรมช่วยให้ทราบว่ามีสิ่งพิมพ์หรือบันทึกความรู้ใดบ้างที่มีผู้บันทึกหรือจัดทำไว้ในสาขาวิชาต่างๆ ซึ่งสามารถเป็นเครื่องมือในการค้นคว้า นำออกมาใช้ได้ การควบคุมทางบรรณานุกรมสามารถทำได้โดย การจัดทำบรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป นามานุกรม เป็นต้น <p>องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ได้มีรายงานเกี่ยวกับการปรับปรุงการควบคุมทางบรรณานุกรมที่ปารีส ค.ศ. 1950 ถึงความจำเป็นในการควบคุมทางบรรณานุกรม ว่าจำเป็นต้องมีการจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติเพื่อบันทึกหลักฐานของสิ่งพิมพ์และวัสดุความรู้อื่นๆ ที่ผลิตภายในประเทศ หน้าที่หนึ่งในจำนวนหน้าที่หลายประการขององค์การศึกษาฯ ก็คือ การปรับปรุงงานด้านการศึกษา ซึ่งรวมถึงกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อปรับปรุงงานห้องสมุด งานด้านบรรณานุกรมและการผลิตสิ่งพิมพ์ <p>บทบาทขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติในการควบคุมบรรณานุกรมแห่งชาติ คือ <p>1. ร่วมกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ในการสำรวจงานด้านบรรณานุกรมและจัดพิมพ์ผลการสำรวจชื่อ Bibliographical Services : Their Present State and Posibilities of Improvement (ปี ค.ศ. 1953) <p>2. ชักชวนให้ทุกประเทศที่เป็นสมาชิกองค์การศึกษาฯ จัดทำบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ใหม่ๆ และร่วมมือในการให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมแก่กัน จึงได้เริ่มรณรงค์เพื่อความร่วมกันดังกล่าว ตั้งแต่ ค.ศ. 1946 <p>3. จัดพิมพ์คู่มือการทำงานด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม เขียนโดย Knud Larsen ชื่อ National Bibliographical Services : Their Creation and Operation และตีพิมพ์บทความ เขียนโดย Knud Larsen ในวารสาร Unesco Bulletin for Libraries ปีที่ 15 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ค.ศ. 1961 กล่าวถึง หน้าที่ของศูนย์บรรณานุกรมแห่งชาติ ซึ่งมีความสำคัญในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางบรรณานุกรม <p>4. สำรวจและจัดพิมพ์ Guide to National Bibliographical Centeres (ปี ค.ศ. 1970) <p>5. การส่งเสริมการก่อตั้งระบบสารนิเทศแห่งชาติ (National Information System หรือ NATIS) วัตถุประสงค์ของระบบสารนิเทศแห่งชาติ คือ การสร้างโครงงานสำหรับกิจกรรมเพื่อที่จะประสานงานกันในงานสารนิเทศของประเทศต่างๆ ช่วยให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ มองเห็นแนวทางที่จะดำเนินงานนี้ร่วมกัน และมุ่งจะช่วยให้ประเทศที่มีพัฒนาการต่างกันได้ประโยชน์จากระบบสารนิเทศของโลกทั่วกัน และมีส่วนร่วมในการกระจายสารนิเทศสองทาง คือ เป็นผู้ให้สารนิเทศและเป็นผู้ที่รับสารนิเทศด้วย องค์การศึกษาฯ ได้กำหนดให้ประเทศต่างๆ จัดกิจกรรมต่างๆ โดยให้ความสนับสนุนเพื่อให้ความพยายามที่จะควบคุมบรรณานุกรมสากล (Universal Bibliographical Control หรือ UBC) โดยให้เข้าถึงข้อมูลทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ทุกชิ้นโดยที่มีการบันทึกหลักฐานทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ไว้ในแบบแผนที่เป็นสากล <p>บรรณานุกรม <p>สุนทรี หังสะสูต. การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographical informationรายละเอียดทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliography of bibliographiesบรรณานุกรมของบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Biographical dictionaryอักขรานุกรมชีวประวัติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Biographyชีวประวัติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic citationการอ้างถึงบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic serviceบริการจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Critical bibliographyบรรณานุกรมเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Demographic libraryห้องสมุดประชากรศาสตร์, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Descriptive bibliographyบรรณานุกรมเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Holographต้นฉบับลายมือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
International Standard Bibliographic Descriptionsมาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรมทั่วไป, ข้อมูลทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Monographหนังสือ, เอกสารทางวิชาการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Retrospective bibliographyบรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ที่มีพิมพ์เผยแพร่นานแล้ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Selective bibliographyบรรณานุกรมเลือกสรร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Trade bibliographyบรรณานุกรมที่สำนักพิมพ์หรือร้านหนังสือจัดทำขึ้นเพื่อการ ค้า, บรรณานุกรมเพื่อการค้า [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Universal Bibliographical Controlการควบคุมทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Universal bibliographyบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Searching, Bibliographicalการค้นทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographical citationการอ้างถึงทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Computer graphicคอมพิวเตอร์กราฟิก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Special bibliographyบรรณานุกรมหัวข้อวิชาใดหัวข้อวิชาหนึ่ง, Example: <p>บรรณานุกรม (Bibliography) เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทหนึ่ง ให้ความรู้เกี่ยวกับแหล่งข้อมูล รายชื่อหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ทั้งในรูปแบบของสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทที่บอกให้ทราบว่าจะค้นหาสารสนเทศได้จากแหล่งใด <p>ลักษณะของบรรณานุกรม ในหนึ่งรายการ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ เมืองที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้า ราคา หรืออาจมีคำอธิบายสาระสำคัญของหนังสือโดยย่อประกอบด้วย <p>ความสำคัญของบรรณานุกรม คือ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นคว้าหาสารสนเทศประกอบการศึกษา วิจัย ได้อย่างรวดเร็วและครบถ้วน เป็นเครื่องมือติดตามความเคลื่อนไหวของทรัพยากรสารสนเทศ และเป็นคู่มือในการจัดหาและช่วยในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม มีหลายประเภท เช่น บรรณานุกรมทั่วไป บรรณานุกรมแห่งชาติ บรรณานุกรมเฉพาะวิชา <p>บรรณานุกรมเฉพาะวิชา (Special bibliography) เป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ สิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง อาจมีบทคัดย่อประกอบ ตัวอย่างเช่น บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์ทางบรรณารักษศาสตร์และบทคัดย่อ <p>ในอีกความหมายหนึ่ง บรรณานุกรม หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ที่ผู้เขียนได้ใช้ประกอบในการเขียนผลงาน เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ เและเป็นการให้ความเคารพผลงานทางปัญญาที่ผู้อื่นได้แสดงไว้ รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านที่สนใจติดตามและศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Subject bibliographyบรรณานุกรมเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Quantum cryptographyระบบวิทยาการรหัสลับเชิงควอนตัม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Public key cryptographyการเข้ารหัสลับแบบกุญแจสาธารณะ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Medical photographyการถ่ายภาพทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Photographic interpretationการแปลภาพ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Flexographyการพิมพ์เฟล็กโซกราฟี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Metallographyโลหศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Spectrographสเปกโทรกราฟ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Internet in cartographyอินเทอร์เน็ตในการทำแผนที่ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Demographic indicatorสิ่งชี้ประชากร [เศรษฐศาสตร์]
Economic geographyภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์]

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
bibliographic(n) รายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ
chromatograph(n) กรรมวิธีในการวิเคราะห์ทางวิชาเคมี : เทคนิคสำหรับการแยกส่วนประกอบในสารผสม
chromatography(n) การแยกสี
Hepatobiliary scintigraphy (HIDA)เทคนิคการวินิจฉัยที่ภาพสองมิติของเนื้อเยื่อภายในร่างกายมีการผลิตผ่านการตรวจสอบของรังสีที่ออกมาจากสารกัมมันตรังสีที่ได้รับการจัดการในร่างกาย ที่เกี่ยวข้องกับ, ตั้งอยู่ในหรือใกล้, ผลิตใน, หรือส่งผลกระทบต่อตับและน้ำดี, ท่อน้ำดี, และถุงน้ำดี
ideographic[ไอดีออแกรฟ'ฟิค] (adj) ภาพแสดงความหมาย ตัวอักษรแสดงความหมาย เช่น ตัวอักษรภาษาจีน
infographic[อินโฟ กราฟฟิค] (n, computer) ย่อมาจาก Information Graphic - ภาพ/กราฟิก ที่บ่งชี้ข้อมูล ประเภทสถิติ ความรู้ ตัวเลข ฯลฯ มาย่นย่อข้อมูลในแผ่นกระดาษ หรือการนำเสนอ เพื่อให้มองดู/ประมวลผลได้ง่ายเพียงแค่กวาดตามอง เหมาะสำหรับผู้คนในยุคไอที ที่มีข้อมูลซับซ้อนมหาศาล สามารถเข้าใจรับรู้ในเวลาอันจำกัด (ภาพหนึ่งภาพแทนพันอักษร) และในปัจุบันเป็นที่นิยมในโลกของ Social Network
lexicographic order(n) การเรียงลำดับแบบพจนานุกรม
Magnetic resonance cholangiopancreatography (MRCP)เป็นเทคนิคการถ่ายภาพทางการแพทย์ที่ใช้การถ่ายภาพสะท้อนแบบแม่เหล็กเพื่อแสดงให้เห็นถึงน้ำดีและท่อตับอ่อนในลักษณะที่ไม่รุกราน ขั้นตอนนี้สามารถใช้ในการตรวจสอบว่านิ่วในท่อที่อยู่รอบถุงน้ำดีหรือไม่
Oceanographer[โอ๊เชียนโนกราฟเฟอ] (n) นักประดาน้ำ, นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับทะเล
Oceanographer[โอ๊เชี่ยนโนกราฟเฟอ] (n) นักวิทยาศาสตร์ทางทะเล, นักประดาน้ำ, Syn. Frogman
oceanography[โอ-เชีย-นอ-กราฟ-ฟี] (n) “สมุทรศาสตร์” เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์โลก (Earth science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทรในหัวข้อต่างๆ ที่รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร, ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดล้อม, กระแสคลื่นในมหาสมุทร, พฤติกรรมของคลื่น, แผ่นเปลือกโลกที่ก้นมหาสมุทร, ธรณีวิทยาของก้นมหาสมุทร, และความผันผวนของสารเคมีและลักษณะทางฟิสิคส์ของทั้งมหาสมุทรและบริเวณรอบข้าง (ข้อมูลจาก wikipedia.org)
Pantograph(jargon) แหนบรับไฟ
pneumograph(n) อุปกรณ์บันทึกกำลังแรงความเร็วของการขยับหน้าอกระหว่างการหายใจเข้า-ออกรัดรอบหน้าอก
polygraph(n) เครื่องจับเท็จ, Syn. lie detector
royal geographical society(n) ราชสมาคมภูมิศาสตร์
tomography(n) ภาพตัดขวาง
tomography(n) การสร้างภาพตัดขวางของรูปทรงโดยใช้เทคนิคต่างๆ ดังเช่น จากการสั่นพ้องของคลื่นสนามแม่เหล็ก หรือ จากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์

ตัวอย่างประโยคจาก Tanaka JP-EN Corpus
graphHe makes it a point to speak clearly and graphically he always talks turkey about any problem.
graphI have an interest in photography.
graphThe difficulty with biography is that it is partly record and partly art.
graphWe criticized the photographer for not rescuing the child first.
graphThis paragraph is vague.
graphA good biography is interesting and instructive.
graphThis is a precious chance to get Sammy's autograph.
graph"Isn't it about time you tried photographic people or something?" "Eh? Snapshots? I don't know ..."
graphCould I have your autograph on this book?
graphI'm going to ask him for an autograph. Do you have anything to write with?
graphStart a new paragraph here.
graphMost studies, however, have not focused on the influence Emmet's theory had on the computer graphics.
graphShow your photograph.
graphGreat geniuses have the shortest biographies.
graphI know the photographer who took this picture.
graphHe wrote a biography of a famous poet.
graphThis store enjoys a geographical advantage.
graphWritten words, carrier pigeons, the telegraph, and many other devices carried ideas faster and faster from man to man.
graphShe's a good photographer because she's so observant.
graphThe fan asked for his autograph.
graphCompact discs have entirely taken the place of phonograph records.
graphHe wanted to publish his photographs in the newspapers.
graphWe telegraphed him the news.
graphHe devoted the last years of his life to writing his autobiography.
graphI am at home with the geography of Higashikakogawa.
graphI prefer history to geography.
graphHe showed me his photograph album.
graphI'll pick up the photographs at six o'clock.
graphWe had our photograph taken with a star player.
graphThey laughed at photograph of my boyhood.
graphIf I had noticed her, I would have got her autograph.
graphI am weak in geography.
graphMany typographical errors were found.
graphThe graph in Figure 1 illustrates the differences in the means of total scores for white and black subject in each grade.
graphThis does not mean only the study of language, history or geography.
graphI want this photograph developed as soon as possible.
graphI always photograph badly.
graphI like geography and history.
graphHis biography is quite true to life.
graphThe couple posed for the photograph.
graphI've never seen as many people as this photograph the same rainbow.
graphHe cherishes the old photographs.
graphHe had the photograph of the friend that I am able to trust to me shown.
graphPhotography is now considered a new form of art.
graphThe office telegraphed that they had not received my application.
graphThey telegraphed that everything was all right.
graphThis yearbook is illustrated with a lot of beautiful photographs.
graphHe likes geography and history.
graphI had my photograph taken.
graphMy parents telegraphed me to come back at once.

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
รูปถ่าย(n) photograph, See also: picture, photo, shot, snap, snapshot, Syn. ภาพถ่าย, Example: รูปถ่ายของข้าพเจ้าที่ติดอยู่ข้างฝาห้องรับแขกนั่นเป็นของใหม่, Count Unit: ใบ, รูป, Thai Definition: ภาพที่ทำโดยให้แสงผ่านเลนส์
การถ่ายภาพ(n) photography
หนังลามก(n) pornographic film/movie, Syn. ภาพยนตร์ลามก, Example: รัฐบาลห้ามมิให้นำหนังลามกเข้ามาฉายในประเทศ, Count Unit: เรื่อง, Thai Definition: ภาพยนตร์ที่มีเรื่องส่อไปในทางน่ารังเกียจ (มักใช้ในเรื่องเพศ)
หนังสือโป๊(n) pornographic book, See also: porno book, obscene book, Syn. หนังสือลามก, Example: รัฐบาลตั้งท่าขึงขังที่จะเอาโทษคนขายหนังสือโป๊, Count Unit: เล่ม
ภาพลามก(n) pornography, Syn. ภาพอนาจาร, ภาพถ่ายลามก, ภาพลามกอนาจาร, Example: เดี๋ยวนี้ภาพลามกมีให้เห็นอย่างเปิดเผยใน อินเทอร์เน็ต, Count Unit: ภาพ, Thai Definition: ภาพน่าบัดสีเป็นที่น่ารังเกียจแก่ผู้พบเห็นในด้านความดีงาม
ภูมิศาสตร์(n) geography
ข้อมูลรูปภาพ(n) pictorial information, See also: graphic, Syn. ข้อมูลภาพ, Example: เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ได้ก้าวหน้าไปมาก จนสามารถที่จะประมวลผล และเก็บรวบรวมข้อมูลรูปภาพได้จำนวนมาก, Thai Definition: ข้อมูลที่มีลักษณะเป็นรูปภาพ
โทรสาร(n) facsimile, See also: fax, telegraph, teletext, Syn. แฟกซ์, โทรภาพ, Example: โต๊ะพนันบอลสามารถใช้สถานที่ไม่เปิดเผยได้ เพราะใช้การสื่อสารที่ทันสมัยในการติดต่อ หรือต่อรองกัน เช่น โทรศัพท์ โทรสาร และอินเตอร์เน็ต, Thai Definition: กรรมวิธีในการถอดแบบเอกสารตีพิมพ์หรือรูปภาพ โดยทางคลื่นวิทยุหรือทางสาย
ภาพถ่าย(n) photograph, See also: picture, photo, snap, shot, Syn. รูปถ่าย, รูป, Example: หล่อนรักการถ่ายภาพ จึงใช้ภาพถ่ายสะท้อนอารมณ์และความรู้สึก, Count Unit: ภาพ, รูป, ใบ, Thai Definition: ภาพบนกระดาษอัดรูป เกิดจากการนำแผ่นฟิล์มภาพเนกาทิฟ หรือแผ่นกระจกภาพเนกทิฟไปอัดถ่ายทอดภาพลงบนกระดาษอัดรูปนั้น
สมุดภาพ(n) picture album, See also: photograph album, Syn. อัลบั้ม, Example: รูปนางในวรรณคดีในสมุดภาพเล่มนั้นสวยงามมาก, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: สมุดที่เก็บรวบรวมภาพ
อัตชีวประวัติ(n) autobiography, Example: นายไอเอค็อกกาได้เขียนอัตชีวประวัติไว้เล่มหนึ่ง ซึ่งได้รับความนิยมสูงมาก, Thai Definition: ประวัติชีวิตที่เจ้าของเขียนหรือเล่าด้วยตนเอง, Notes: (บาลี)
ล้างฟิล์ม(v) develop a photographic film, Syn. ล้างรูป, Example: ช่างภาพล้างฟิล์มที่ร้านนี้เป็นประจำ
ล้างรูป(v) process photographs, Syn. ล้างฟิล์ม, Example: ร้านถ่ายรูปนี้ล้างรูปให้ผมเป็นประจำ
พระรูป(n) picture, See also: photo, photograph, Syn. รูปภาพ, รูปถ่าย, Example: แสตมป์พระรูป ร.9 ชุด 8 ทั้งชุดมีทั้งหมด 43 ดวง, Thai Definition: รูปภาพหรือรูปถ่ายของพระมหากษัตริย์และเจ้านาย, Notes: (ราชา)
โทรเลข(n) telegraph, See also: wire, cable, cablegram, telegram, Example: การสื่อสารด้วยโทรเลขและเทเล็กซ์สามารถเปลี่ยนขึ้นมาใช้ดำเนินการด้วยคอมพิวเตอร์ได้, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: ระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าส่งรหัสสัญญาณจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยอาศัยสายตัวนำที่โยงติดต่อถึงกัน และอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ
นักถ่ายรูป(n) photographer, Syn. ตากล้อง, ช่างกล้อง, Example: เขาเป็นนักถ่ายรูปที่เข้าขั้นมาตรฐานคนหนึ่ง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ชื่นชอบการถ่ายรูป
ภูมิศาสตร์(n) geography, Syn. วิชาภูมิศาสตร์, Example: พื้นฐานทางด้านภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม มีส่วนสร้างเสริมระเบียบวินัยให้แก่คนญี่ปุ่นมาก่อน, Thai Definition: วิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสังคมที่ปรากฏในดินแดนต่างๆ ของโลก
ย่อหน้า(v) indent, See also: begin a new paragraph, Example: นักเขียนบางคนไม่ยอมย่อหน้าด้วยคำว่าแต่, Thai Definition: เขียนหรือพิมพ์หนังสือขึ้นบรรทัดใหม่และร่นจากแนวซ้ายสุดเข้าไปพอสมควร เพื่อแสดงว่าขึ้นความตอนใหม่
ย่อหน้า(n) indentation, See also: new paragraph, Syn. ตอน, ข้อความย่อย, บท, ตอนย่อย, Example: ผู้เขียนกล่าวคำขอบคุณถึงผู้อ่านในย่อหน้าแรก, Thai Definition: ข้อความตอนย่อยๆ ที่แยกออกจากกันด้วยวิธีเขียนย่อหน้า
โรเนียว(n) duplicator, See also: mimeograph, Example: คำบรรยายของผมยังไม่ได้พิมพ์โรเนียว, Thai Definition: เครื่องพิมพ์สำเนาที่ใช้กระดาษไขเป็นแม่พิมพ์
วิทยุโทรเลข(n) radio telegraph, See also: radiogram, wireless telegraph, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: โทรเลขไม่มีสาย
อนาจาร(v) be lewd, See also: be pornographic, be obscene, be immoral, Syn. ลามก, ลามกอนาจาร, Example: พลเมืองดีช่วยเหลือเนตรนารีให้รอดพ้นอันตรายจากการถูกคนร้ายทำร้ายร่างกาย และกระทำอนาจาร, Thai Definition: น่าบัดสี, ทำให้เป็นที่อับอาย, เป็นที่น่ารังเกียจแก่ผู้อื่นในด้านความดีงาม, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
อัตประวัติ(n) autobiography, Syn. อัตชีวประวัติ, ชีวประวัติ, ประวัติบุคคล, Example: จากอัตประวัติของท่านทำให้ผู้อ่านได้ทราบแหล่งที่ตั้งบ้านเรือนของท่าน เมื่อท่านยังเด็ก, Thai Definition: ประวัติชีวิตที่เจ้าของเขียนหรือเล่าด้วยตนเอง
รูป(n) photograph, See also: picture, drawing, painting, illustration, image, portrait, Syn. รูปภาพ, Example: ี่ไปเที่ยวภูเก็ตกลับมา มีรูปให้พวกเราดูหรือเปล่า, Count Unit: รูป, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
รูปภาพ(n) picture, See also: photograph, drawing, painting, illustration, image, portrait, Example: ไม่มีข้อความใดที่จะบรรยายรายละเอียดได้ดีเท่ารูปภาพ, Count Unit: รูป
ลามก(adj) pornographic, See also: filthy, lewd, obscene, indecent, dirty, smutty, Syn. อุจาด, ลามกจกเปรต, Example: รัฐบาลตั้งท่าขึงขังที่จะเอาโทษคนขายหนังสือลามก, Notes: (บาลี)
ภูมิศาสตร์กายภาพ(n) physical geography, See also: geophysics, Example: วิชาภูมิศาสตร์แบ่งเป็นหลายแขนง เช่น ภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์การเกษตร ภูมิศาสตร์การเมือง, Thai Definition: วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเน้นหนักในเรื่องลักษณะและการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติที่แวดล้อมตัวมนุษย์
ภูมิศาสตร์การเกษตร(n) agricultural geography, Thai Definition: วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเกี่ยวกับการกสิกรรม การเลี้ยงสัตว์ การป่าไม้ และการประมง
ภูมิศาสตร์การเมือง(n) political geography, See also: geopolitics, Thai Definition: วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเน้นหนักในเรื่องเกี่ยวกับการเมืองของรัฐต่างๆ ในโลก
ภูมิศาสตร์ประชากร(n) demographic geography, See also: population geography, Thai Definition: วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเน้นหนักในเรื่องเกี่ยวกับประชากรในถิ่นต่างๆ ของโลก โดยพิจารณาถึงสภาพทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องหรือมีผลต่อความเป็นอยู่ของประชากรนั้นๆ
ภูมิศาสตร์ประวัติ(n) historical geography, Syn. ภูมิศาสตร์เชิงประวัติ, Thai Definition: วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาถึงประวัติการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทางภูมิศาสตร์ของดินแดนใดดินแดนหนึ่ง ตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงปัจจุบัน
ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ(n) economic geography, Example: เขาศึกษาเกี่ยวกับภูมิศาสตร์เศรษฐกิจของประเทศจีน, Thai Definition: วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจซึ่งเกี่ยวกับการครองชีพของมนุษย์
เอกสารอ้างอิง(n) bibliography, Example: ผู้สนใจสามารถศึกษาพื้นฐานเรื่องอัลกอริทึมและการคำนวณได้จากเอกสารอ้างอิงที่อยู่ในท้ายเล่ม, Thai Definition: เอกสารของแหล่งข้อมูลที่นำมาใช้ในการเขียนหนังสือหรืองานวิจัย
นางรำ(n) species of plant, See also: telegraph plant, Syn. กระช้อยนางรำ, ช้อยนางรำ, ช้อยช่างรำ, Count Unit: ต้น, Thai Definition: ชื่อไม้พุ่มชนิด Codariocalyx motorius Ohashi ในวงศ์ Leguminosae ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบ ใบคู่ล่างเล็กกว่าและกระดิกไหวไปมาได้
ช่างถ่ายรูป(n) photographer, Syn. ช่างภาพ, Example: เขาเป็นช่างถ่ายรูปประจำร้านที่อยู่ตรงหัวมุมถนน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ทำหน้าที่ถ่ายรูปหรือภาพนิ่ง
แผ่นเสียง(n) gramophone record, See also: phonograph disk, Syn. จานเสียง, Example: พ่อสะสมแผ่นเสียงเก่าๆ เอาไว้เป็นร้อยๆ แผ่น ส่วนใหญ่เป็นเพลงฝรั่งทั้งนั้น, Count Unit: แผ่น, Thai Definition: แผ่นกลมซึ่งบันทึกเสียงหรือคำพูดไว้ในลักษณะเป็นร่องบนผิวพื้น เมื่อใส่บนหีบเสียงและให้เดินตามร่องก็จะเกิดเสียงตามที่บันทึกไว้
ภูมิประเทศ(n) topography, See also: landscape, scenery, Syn. ตำแหน่งที่ตั้ง, ทำเลที่ตั้ง, พื้นที่, Example: ผู้สร้างออกแบบฐานเป็นสกีเพื่อใช้ลงในภูมิประเทศที่ปกคลุมไปด้วยหิมะได้สะดวกขึ้น, Count Unit: แห่ง, ที่, Thai Definition: ลักษณะทางกายภาพและทางธรรมชาติของแผ่นดิน รวมถึงความสูงต่ำของผิวโลก ทะเลสาบ ถนนหนทาง และเมืองต่างๆ
เกียรติประวัติ(n) glorious biography, See also: prestige, renowned deed, Syn. ชื่อเสียง, เกียรติยศ, เกียรติ, Example: ทุกคนจักต้องรักษาเกียรติประวัติของผู้กล้าหาญเหล่านี้ไว้ และถือเอาเป็นแบบฉบับในการปฏิบัติงานเพื่อประเทศ, Thai Definition: ประวัติที่ได้รับความสรรเสริญ, ประวัติที่เลื่องลือ
คำจารึก(n) epigraph, See also: inscription
คำพ้อง(n) homonym, See also: homophone, homograph
คำพ้องรูป(n) homograph
เครื่องเล่นจานเสียง(n) record player, See also: phonograph, gramophone, pick-up, Example: เครื่องที่ใช้อ่านและบันทึกข้อมูลบนจานแม่เหล็กมีหลักการทำงานคล้ายเครื่องเล่นจานเสียงธรรมดาทั่วๆ ไป, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: เครื่องสำหรับใส่จานเสียง
แผนภาพ(n) diagram, See also: chart, drawing, figure, graph, Example: ตรงนี้ผู้สอนอธิบายให้ได้ใจความอย่างสั้นๆ ด้วยแผนภาพแสดงการไหลของข้อมูลสำหรับขั้นตอนที่ซับซ้อน, Count Unit: แผ่น, Thai Definition: ภาพหรือเค้าโครงที่เขียนขึ้นเพื่อช่วยในการอธิบายเรื่องราว
พระประวัติ(n) biography, Syn. ประวัติ, พระราชประวัติ, Example: พระประวัติของพระพุทธเจ้าเป็นสิ่งที่ทุกคนได้เรียนมาจากโรงเรียน, Notes: (ราชา)
พุทธประวัติ(n) biography of Lord Buddha, Example: วัดไชยวัฒนารามมีประติมากรรมผนังเป็นเรื่องพุทธประวัติรอบพระวิหาร, Thai Definition: เรื่องราวของพระพุทธเจ้า
ฟองมัน(n) a sign indicating the beginning of a paragraph, Syn. ตาไก่, Example: ถ้อยคำที่ยกมาอ้างในหนังสือเล่มนี้จะใช้ฟองมันสกัดหัวท้าย, Count Unit: ตัว, Thai Definition: เครื่องหมายชนิดหนึ่งใช้ในหนังสือเก่า สำหรับเขียนขึ้นต้นวรรคหรือต้นบรรทัด
ฟิล์ม(n) film, See also: photographic film, Syn. ฟิล์มถ่ายรูป, Example: อย่าปล่อยให้ฟิล์มที่ยังไม่ได้ล้างถูกแสงแดด เพราะอาจเกิดเสียหายได้, Count Unit: แผ่น, ม้วน, Thai Definition: แผ่นวัตถุบาง ประเภทพลาสติกชนิดหนึ่ง ฉาบผิวด้วยสารเคมีที่ไวต่อแสง ใช้สำหรับถ่ายรูป ถ่ายภาพยนตร์, Notes: (อังกฤษ)
ภาพถ่ายทางอากาศ(n) aerial photograph, Example: เขาชี้ให้ทุกคนเห็นการก่อตัวของพายุจากภาพถ่ายทางอากาศ, Thai Definition: รูปที่ปรากฏขึ้นจากการที่ตั้งกล้องถ่ายภาพอยู่บนท้องฟ้า
ไปรษณีย์โทรเลข(n) telegraph, See also: posts and telegraph, Syn. โทรเลข, Example: งานไปรษณีย์โทรเลข รับ - จ่าย จดหมาย ธนาณัติ สิ่ง ตีพิมพ์ โทรเลข และ ไปรษณีย์ภัณฑ์อื่นๆ, Thai Definition: ระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าส่งรหัสสัญญาณจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยอาศัยสายตัวนำที่โยงติดต่อถึงกัน และอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ
ลงชื่อ(v) sign, See also: autograph, put down one's name, Syn. ลงนาม, เซ็นชื่อ, เซ็น, เขียนชื่อ, ลงลายมือชื่อ, Example: ชาวบ้านลงชื่อผ่านกำนันว่า จะเข้ามานั่งรับการฝึกอบรมจำนวน 25 คน

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
อักขระ[akkhara] (n) EN: character ; letter ; alphabet ; ideograph ; hieroglyph ; script  FR: lettre [ f ] ; caractère [ m ] ; idéogramme [ m ]
อักขรานุกรมภูมิศาสตร์[akkharānukrom phūmisāt] (n, exp) EN: gazetteer ; geographical dictionary
อักขระสมัย[akkhara samai] (n, exp) EN: orthography rule
อักขรวิธี[akkharawithī] (n) EN: treatise on spelling and phonetics ; orthography
อักษรโบราณ[aksøn bōrān] (n, exp) EN: paleography
อนาจาร[anājān] (adj) EN: obscene ; lewd ; pornographic ; indecent ; immoral  FR: obscène ; pornographique ; porno (fam.) ; indécent ; immoral
อัตชีวประวัติ[attachīwaprawat] (n) EN: autobiography
บรรณานุกรม[bannānukrom] (n) EN: bibliography  FR: bibliographie [ f ]
บทบาท[botbāt] (n) EN: role ; part ; part in a play/movie/choreography  FR: rôle [ m ] ; texte [ m ] ; part [ f ]
บทเรศ[botharēt] (n) EN: paragraph ; stanza ; chapter  FR: paragraphe ; chapitre
ชักรูป[chak rūp] (v, exp) EN: take a photograph  FR: prendre une photo
ช่างภาพ[changphāp] (n) EN: photographer ; press photographer ; cameraman ; lensman  FR: photographe [ m, f ]
ช่างพิมพ์หิน[chang phim hin] (n, exp) EN: lithographe [ m ]
ช่างเรียง[chang rīeng] (n) EN: composer ; typesetter  FR: typographe [ m ] ; typo (fam.) [ m ]
ช่างถ่ายภาพแฟชั่น[chang thāiphāp faēchan] (n, exp) EN: fashion photographer  FR: photographe de mode [ m ]
ช่างถ่ายรูป[chang thāirūp] (n) EN: photographer ; cameraman  FR: photographe [ m ]
ชวเลข[chawalēk] (n) EN: shorthand ; stenography  FR: sténographie [ f ]
ชีวประวัติ[chīwaprawat] (n) EN: biography ; life story  FR: biographie [ f ]
ดรรชนีชื่อหนังสือ[datchanī cheū nangseū] (n, exp) EN: title index  FR: bibliographie [ f ]
เอกสารอ้างอิง[ēkkasān āng-ing] (n) EN: reference ; bibliography
เอ็กซเรย์ = เอ๊กซเรย์[eksaraē] (n) EN: X-ray  FR: radiographie [ f ]
ฟิล์มเอ็กซเรย์[fīm eksaraē] (n, exp) EN: X-ray film  FR: film radiographique [ m ]
ฟองมัน (๏)[føngman] (n) EN: [ sign formerly used to indicate the beginning of a paragraph ]
หีบเสียง[hīpsīeng] (n) EN: gramophone ; phonograph ; record player  FR: électrophone [ m ] ; gramophone [ m ] ; phonographe [ m ] ; tourne-disque [ m ]
จอภาพ[jø phāp] (x) EN: screen ; monitor  FR: viseur (d'un appareil photographique) [ m ] ; moniteur [ m ]
การถ่ายภาพ[kān thāiphāp] (n) EN: photography  FR: photographie [ f ]
การถ่ายรูป[kān thāirūp] (n) EN: photography  FR: photographie [ f ] ; photo [ f ]
การ์ดจอ[kāt jø] (n, exp) FR: carte graphique [ f ]
เขียนพู่กันจีน[khīen phūkan jīn] (n) EN: calligraphy  FR: calligraphie [ f ]
ข้อ[khø] (n) EN: clause ; article ; section ; point ; item ; provision  FR: article [ m ] ; clause [ f ] ; disposition [ f ] ; point [ m ] ; paragraphe [ m ]
ค้นคว้าเพิ่มเติม[khonkhwā phoēmtoēm] (n, exp) FR: références bibliographiques [ fpl ]
เกียรติประวัติ[kīettiprawat] (n) EN: glorious biography
กล้อง[klǿng] (n) EN: camera  FR: caméra [ f ] ; appareil photographique [ m ] ; appareil photo [ m ]
กล้อง[klǿng] (n) EN: [ classifier : cameras ; binoculars ; telescopes ; microscopes ]  FR: [ classificateur : appareils photographiques ; jumelles ; télescopes ; microscopes ]
กล้องถ่ายรูป[klǿng thāirūp] (n) EN: camera  FR: appareil photographique [ m ] ; appareil photo [ m ]
กระดาษอัดรูป[kradāt at rūp] (n, exp) EN: printing paper ; photographic paper  FR: papier photographique [ m ]
กราฟ[krāp] (n) EN: graph  FR: graphe [ m ]
กราฟฟิก[krāpfik] (n) EN: graphic  FR: graphique [ m ]
กราฟเส้น[krāp sen] (n, exp) EN: line graph
กรมไปรษณีย์โทรเลข[Krom Praisanī Thōralėk] (org) EN: Post and Telegraph Department
ลักษณะของภูมิประเทศ[laksana khøng phūmīprathēt] (n, exp) EN: topography  FR: topographie [ f ]
ลักษณะภูมิประเทศ[laksana phūmīprathēt] (n, exp) EN: geographical features ; topography  FR: caractéristiques topographiques [ fpl ]
ลามก[lāmok] (adj) EN: obscene ; filthy ; lewd ; indecent ; pornographic ; porn ; smutty  FR: obscène ; indécent ; dégoûtant ; pornographique ; porno (fam.) ; cochon (fam.)
ล้างฟิล์ม[lāng fīm] (v, exp) EN: develop a photographic film  FR: développer un film (photographique)
ล้างรูป[lāng rūp] (v, exp) EN: process photographs  FR: développer un film (photographique)
เลขา[lēkhā] (n) EN: writing ; drawing ; graph ; graphics ; design ; pattern  FR: écriture [ f ]
ลงชื่อ[longcheū] (v) EN: sign ; autograph ; put down one's name ; enter one's name  FR: signer ; apposer sa signature ; parapher = parafer ; indiquer son nom
ลงนาม[longnām] (v) EN: sign ; autograph ; put down one's name  FR: signer ; apposer sa signature
มหรรถสัญญา[mahora rot sanyā] (n, exp) EN: indentation ; new paragraph  FR: alinéa [ m ]
มาตราส่วน[māttrāsuan = māttrāsūan] (n) EN: scale  FR: échelle (graphique) [ f ] ; rapport [ m ]

CMU English Pronouncing Dictionary Dictionary [with local updates]
graph
graphs
graphic
graphics
graphite
sidgraph
allograph
autograph
biography
echograph
geography
graphical
graphics'
monograph
paragraph
paragraph
polygraph
telegraph
allographs
autographs
biographer
demography
dermagraph
echography
epigraphic
geographer
geographic
graphology
hectograph
intergraph
lithograph
mimeograph
monographs
orographic
paragraphs
paragraphs
phonograph
photograph
polygraphs
pomography
reprograph
tomography
topography
typography
autographed
biographers
biographies
calligraphy
choreograph
datagraphix

Oxford Advanced Learners Dictionary (pronunciation guide only)
graph
graphs
digraph
graphic
biograph
digraphs
graphics
graphite
polygraph
autograph
biographs
biography
geography
graphical
holograph
homograph
ideograph
monograph
paragraph
telegraph
Geographic
autographs
biographer
biographic
demography
geographer
heliograph
holographs
homographs
ideographs
lithograph
mimeograph
monographs
pantograph
paragraphs
phonograph
photograph
radiograph
tachograph
telegraphs
telegraphy
topography
typography
autographed
biographers
biographies
calligraphy
cartography
demographic
ethnography

WordNet (3.0)
adoxography(n) fine writing in praise of trivial or base subjects
agrapha(n) sayings of Jesus not recorded in the canonical Gospels
agraphia(n) a loss of the ability to write or to express thoughts in writing because of a brain lesion, Syn. anorthography, logagraphia
agraphic(adj) relating to or having agraphia
allograph(n) a variant form of a grapheme, as `m' or `M' or a handwritten version of that grapheme
allograph(n) a signature written by one person for another
allographic(adj) of or relating to an allograph
anemographic(adj) pertaining to the recording of wind measurements
anemography(n) recording anemometrical measurements
angiography(n) roentgenographic examination of blood vessels after injection of a radiopaque contrast medium; produces an angiogram
arteriography(n) roentgenographic examination of arteries
arthrography(n) roentgenographic examination of a joint after injection of radiopaque contrast medium; produces an arthrogram
a-scan ultrasonography(n) the use of ultrasonography to measure the length of the eyeball
autobiographer(n) someone who writes their own biography
autobiographical(adj) of or relating to or characteristic of an autobiographer, Syn. autobiographic
autobiographical(adj) relating to or in the style of an autobiography, Syn. autobiographic
autobiography(n) a biography of yourself
autograph(n) something written by one's own hand
autograph(n) a person's own signature, Syn. John Hancock
autograph(v) mark with one's signature, Syn. inscribe
autograph album(n) an album for autographs
autographic(adj) written in the author's own handwriting
autoradiograph(n) a radiogram produced by radiation emitted by the specimen being photographed
autoradiographic(adj) of or relating to or produced by autoradiography
autoradiography(n) producing a radiograph by means of the radiation emitted from the specimen being photographed
ballistocardiograph(n) a medical instrument that measures the mechanical force of cardiac contractions and the amount of blood passing through the heart during a specified period by measuring the recoil of the body as blood is pumped from the ventricles, Syn. cardiograph
barograph(n) a recording barometer; automatically records on paper the variations in atmospheric pressure
barographic(adj) relating to or registered by a barograph
bibliographer(n) someone trained in compiling bibliographies
bibliographic(adj) relating to or dealing with bibliography, Syn. bibliographical
bibliography(n) a list of writings with time and place of publication (such as the writings of a single author or the works referred to in preparing a document etc.)
biogeographic(adj) of or relating to or involved with biogeography, Syn. biogeographical
biogeographical region(n) an area of the Earth determined by distribution of flora and fauna
biogeography(n) dealing with the geographical distribution of animals and plants
biographer(n) someone who writes an account of a person's life
biographic(adj) of or relating to or being biography, Syn. biographical
biography(n) an account of the series of events making up a person's life, Syn. life history, life story, life
body plethysmograph(n) plethysmograph consisting of a chamber surrounding the entire body; used in studies of respiration
bolographic(adj) of or relating to a bolograph
b-scan ultrasonography(n) the use of ultrasonography to view structure in the back of the eye
calligraph(v) write beautifully and ornamentally
calligrapher(n) someone skilled in penmanship, Syn. calligraphist
calligraphic(adj) of or relating to or expressed in calligraphy, Syn. calligraphical
calligraphy(n) beautiful handwriting, Syn. chirography, penmanship
cardiograph(n) medical instrument that records electric currents associated with contractions of the heart, Syn. electrocardiograph
cardiographic(adj) of or relating to a cardiograph
cardiography(n) diagnostic procedure consisting of recording the activity of the heart electronically with a cardiograph (and producing a cardiogram), Syn. electrocardiography
cartographer(n) a person who makes maps, Syn. map maker
cartographic(adj) of or relating to the making of maps or charts, Syn. cartographical
child pornography(n) the illegal use of children in pornographic pictures or films, Syn. kiddy porn, kiddie porn

The Collaborative International Dictionary of English (GCIDE) v.0.53
Accelerograph

n. [ Accelerate + -graph. ] (Mil.) An apparatus for studying the combustion of powder in guns, etc. [ 1913 Webster ]

Actinograph

n. [ Gr. &unr_;, &unr_;, ray + -graph. ] An instrument for measuring and recording the variations in the actinic or chemical force of rays of light. Nichol. [ 1913 Webster ]

Addressograph

n. 1. a printer that automatically prints addresses on letters for mailing.
Syn. -- addressing machine [ WordNet 1.5 ]

Adenographic

a. Pertaining to adenography. [ 1913 Webster ]

Adenography

n. [ Adeno- + -graphy. ] That part of anatomy which describes the glands. [ 1913 Webster ]

Aerographer

n. One versed in aëography: an aërologist. [ 1913 Webster ]

Aerographical

{ } a. Pertaining to aërography; aërological. [ 1913 Webster ]

Variants: Aerographic
Aerography

n. [ Aëro- + -graphy: cf. F. aérographie. ] A description of the air or atmosphere; aërology. [ 1913 Webster ]

Agraphia

‖n. [ Gr. 'a priv. + &unr_; to write. ] The absence or loss of the power of expressing ideas by written signs. It is one form of aphasia. [ 1913 Webster ]

Agraphic

a. Characterized by agraphia. [ 1913 Webster ]

Agrostographical

{ } a. [ Cf. F. agrostographique. ] Pertaining to agrostography. [ 1913 Webster ]

Variants: Agrostographic
Agrostography

n. [ Gr. &unr_; + -graphy. ] A description of the grasses. [ 1913 Webster ]

Allograph

n. [ Gr. &unr_; another + -graph. ] A writing or signature made by some person other than any of the parties thereto; -- opposed to autograph. [ 1913 Webster ]

allographic

adj. 1. of or pertaining to an allograph. [ WordNet 1.5 ]

Aluminography

n. [ Alumin-ium + -graphy. ] Art or process of producing, and printing from, aluminium plates, after the manner of ordinary lithography. -- A*lu`mi*no*graph"ic a. [Webster 1913 Suppl.]

Anaglyptograph

n. [ Gr. &unr_; + -graph. ] An instrument by which a correct engraving of any embossed object, such as a medal or cameo, can be executed. Brande & C. [ 1913 Webster ]

Anaglyptographic

a. Of or pertaining to anaglyptography; as, anaglyptographic engraving. [ 1913 Webster ]

Anaglyptography

n. [ Gr. &unr_; embossed + -graphy. ] The art of copying works in relief, or of engraving as to give the subject an embossed or raised appearance; -- used in representing coins, bas-reliefs, etc. [ 1913 Webster ]

Anagraph

n. [ Gr. 'anagrafh` a writing out, fr. 'anagra`fein to write out, to record; 'ana` + gra`fein to write. ] An inventory; a record. [ Obs. ] Knowles. [ 1913 Webster ]

Anapnograph

n. [ Gr. 'anapnoh` respiration + -graph. ] A form of spirometer. [ 1913 Webster ]

Anemograph

n. [ Gr. &unr_; wind + -graph. ] An instrument for measuring and recording the direction and force of the wind. Knight. [ 1913 Webster ]

Anemographic

a. Produced by an anemograph; of or pertaining to anemography. [ 1913 Webster ]

Anemography

n. [ Gr. 'a`nemos wind + -graphy. ] 1. A description of the winds. [ 1913 Webster ]

2. The art of recording the direction and force of the wind, as by means of an anemograph. [ 1913 Webster ]

Anemometrograph

n. [ Anemometer + -graph. ] An anemograph. Knight. [ 1913 Webster ]

Angiography

n. [ Angio- + -graphy: cf. F. angiographie. ] 1. (Anat.) A description of blood vessels and lymphatics. [ 1913 Webster ]

2. (Med.) A diagnostic procedure in which the location and size of blood vessels may be visualized by taking an X-ray photograph after injecting a radiopaque substance into the blood stream. AS [ PJC ]

Anthography

n. [ Gr. 'a`nqos flower + -graphy. ] A description of flowers. [ 1913 Webster ]

Anthropogeography

n. [ Gr. 'a`nqrwpos man + geography. ] The science of the human species as to geographical distribution and environment. Broadly, it includes industrial, commercial, and political geography, and that part of ethnology which deals with distribution and physical environment. -- An`thro*po*ge*og"ra*pher n. -- An`thro*po*ge`o*graph"ic*al a. [ Webster 1913 Suppl. ]

Anthropography

n. [ Gr. 'a`nqrwpos man + -graphy. ] That branch of anthropology which treats of the actual distribution of the human race in its different divisions, as distinguished by physical character, language, institutions, and customs, in contradistinction to ethnography, which treats historically of the origin and filiation of races and nations. P. Cyc. [ 1913 Webster ]

Antigraph

n. [ Gr. &unr_; a transcribing: cf. F. antigraphe. ] A copy or transcript. [ 1913 Webster ]

Apograph

n. [ Gr. &unr_;; &unr_; from + &unr_; to write: cf. F. apographe. ] A copy or transcript. Blount. [ 1913 Webster ]

Archaeography

n. [ Gr. 'archai^os ancient + -graphy. ] A description of, or a treatise on, antiquity or antiquities. [ 1913 Webster ]

Arcograph

n. [ L. arcus (E. arc) + -graph. ] An instrument for drawing a circular arc without the use of a central point; a cyclograph. [ 1913 Webster ]

Arteriography

n. [ Gr. &unr_; + -graphy. ] A systematic description of the arteries. [ 1913 Webster ]

Arthrography

n. [ Gr. 'a`rqron joint + -graphy. ] The description of joints. [ 1913 Webster ]

Astrography

n. [ Astro'cf + -graphy. ] The art of describing or delineating the stars; a description or mapping of the heavens. [ 1913 Webster ]

Astrophotography

n. [ Astro- + photography. ] The application of photography to the delineation of the sun, moon, and stars. [ 1913 Webster ]

Aurigraphy

n. [ L. aurum gold + -graphy. ] The art of writing with or in gold. [ 1913 Webster ]

Autobiographer

n. [ Auto- + biographer. ] One who writes his own life or biography. [ 1913 Webster ]

Autobiographical

{ } a. Pertaining to, or containing, autobiography; as, an autobiographical sketch. “Such traits of the autobiographic sort.” Carlyle. -- Au`to*bi`o*graph"ic*al*ly, adv. [1913 Webster]

Variants: Autobiographic
Autobiographist

n. One who writes his own life; an autobiographer. [ R. ] [ 1913 Webster ]

Autobiography

n.; pl. Autobiographies [ Auto- + biography. ] A biography written by the subject of it; memoirs of one's life written by one's self. [ 1913 Webster ]

Autochronograph

n. [ Auto- + chronograph. ] An instrument for the instantaneous self-recording or printing of time. Knight. [ 1913 Webster ]

Autogenetic topography

. (Phys. Geog.) A system of land forms produced by the free action of rain and streams on rocks of uniform texture. [ Webster 1913 Suppl. ]

Autograph

n. [ F. autographe, fr. Gr. &unr_; autographic; &unr_; self + &unr_; to write. ] That which is written with one's own hand; an original manuscript; a person's own signature or handwriting. [ 1913 Webster ]

Autograph

a. In one's own handwriting; as, an autograph letter; an autograph will. [ 1913 Webster ]

Autographal

a. Autographic. [ Obs. ] [ 1913 Webster ]

Autographical

{ } a. 1. Pertaining to an autograph, or one's own handwriting; of the nature of an autograph. [ 1913 Webster ]

2. Pertaining to, or used in, the process of autography; as, autographic ink, paper, or press. [ 1913 Webster ]

Variants: Autographic
Autography

n. [ Cf. F. autographie. ] 1. The science of autographs; a person's own handwriting; an autograph. [ 1913 Webster ]

2. A process in lithography by which a writing or drawing is transferred from paper to stone. Ure. [ 1913 Webster ]

Autoradiograph

n. same as autoradiogram. [ PJC ]

Autoradiography

n. the process of producing an autoradiogram by exposing photographic film to a radioactive substance in close proximity to the film. [ PJC ]

Chinese-English: CC-CEDICT Dictionary
[kuǎn, ㄎㄨㄢˇ, ] section; paragraph; funds #339 [Add to Longdo]
[duàn, ㄉㄨㄢˋ, ] surname Duan; paragraph; section; segment #774 [Add to Longdo]
[jí, ㄐㄧˊ, / ] extremely; pole (geography, physics); utmost; top #959 [Add to Longdo]
照片[zhào piàn, ㄓㄠˋ ㄆㄧㄢˋ,  ] photo; photograph; picture #1,138 [Add to Longdo]
[zhuàn, ㄓㄨㄢˋ, / ] biography #1,254 [Add to Longdo]
[zhào, ㄓㄠˋ, ] according to; in accordance with; to shine; to illuminate; to reflect; photograph #1,471 [Add to Longdo]
图片[tú piàn, ㄊㄨˊ ㄆㄧㄢˋ,   /  ] image; picture; photograph #1,551 [Add to Longdo]
朝鲜[Cháo xiǎn, ㄔㄠˊ ㄒㄧㄢˇ,   /  ] Korea; North Korea; geographic term for Korea #1,919 [Add to Longdo]
摄影[shè yǐng, ㄕㄜˋ ㄧㄥˇ,   /  ] to take a photograph #2,542 [Add to Longdo]
签名[qiān míng, ㄑㄧㄢ ㄇㄧㄥˊ,   /  ] to sign (one's name with a pen etc); to autograph #4,151 [Add to Longdo]
地理[dì lǐ, ㄉㄧˋ ㄌㄧˇ,  ] geography #4,275 [Add to Longdo]
黄色[huáng sè, ㄏㄨㄤˊ ㄙㄜˋ,   /  ] yellow; pornographic #5,203 [Add to Longdo]
图像[tú xiàng, ㄊㄨˊ ㄒㄧㄤˋ,   /  ] image; picture; graphic #5,474 [Add to Longdo]
摄像[shè xiàng, ㄕㄜˋ ㄒㄧㄤˋ,   /  ] photograph #6,210 [Add to Longdo]
摄影师[shè yǐng shī, ㄕㄜˋ ㄧㄥˇ ㄕ,    /   ] photographer #7,555 [Add to Longdo]
军区[jūn qū, ㄐㄩㄣ ㄑㄩ,   /  ] a military region; a geographical area of command #7,789 [Add to Longdo]
图形[tú xíng, ㄊㄨˊ ㄒㄧㄥˊ,   /  ] picture; figure; diagram; graph; depiction; graphical #7,995 [Add to Longdo]
书法[shū fǎ, ㄕㄨ ㄈㄚˇ,   /  ] calligraphy; penmanship #8,083 [Add to Longdo]
曹操[Cáo Cāo, ㄘㄠˊ ㄘㄠ,  ] Cao Cao (155-220), famous statesman and general at the end of Han, noted poet and calligrapher, later warlord, founder and first king of Cao Wei 曹魏, father of Emperor Cao Pi 曹丕; the main villain of novel the Romance of Three Kingdoms 三國演義|三国演义 #8,281 [Add to Longdo]
武术[wǔ shù, ㄨˇ ㄕㄨˋ,   /  ] military skill or technique (in former times); all kinds of martial art sports (some claiming spiritual development); self-defense; tradition of choreographed fights from opera and film (recent usage); also called kungfu 功夫 #8,387 [Add to Longdo]
光线[guāng xiàn, ㄍㄨㄤ ㄒㄧㄢˋ,  线 /  ] light ray; optical line; optical cable; lighting (for a photograph) #8,530 [Add to Longdo]
简历[jiǎn lì, ㄐㄧㄢˇ ㄌㄧˋ,   /  ] Curriculum Vitae (CV); résumé (resume); biographical notes #9,667 [Add to Longdo]
地形[dì xíng, ㄉㄧˋ ㄒㄧㄥˊ,  ] topography; terrain; landform #10,144 [Add to Longdo]
书画[shū huà, ㄕㄨ ㄏㄨㄚˋ,   /  ] calligraphy #10,684 [Add to Longdo]
色情[sè qíng, ㄙㄜˋ ㄑㄧㄥˊ,  ] erotic; pornographic #10,841 [Add to Longdo]
照相[zhào xiàng, ㄓㄠˋ ㄒㄧㄤˋ,  ] take a photograph #12,095 [Add to Longdo]
渲染[xuàn rǎn, ㄒㄩㄢˋ ㄖㄢˇ,  ] rendering (computer graphics) #12,406 [Add to Longdo]
相片[xiàng piàn, ㄒㄧㄤˋ ㄆㄧㄢˋ,  ] image; photograph #12,783 [Add to Longdo]
电报[diàn bào, ㄉㄧㄢˋ ㄅㄠˋ,   /  ] telegram; cable; telegraph #13,429 [Add to Longdo]
图纸[tú zhǐ, ㄊㄨˊ ㄓˇ,   /  ] blueprint; drawing; design plans; graph paper #13,537 [Add to Longdo]
盆地[pén dì, ㄆㄣˊ ㄉㄧˋ,  ] basin (low-lying geographical feature); depression #14,018 [Add to Longdo]
字体[zì tǐ, ㄗˋ ㄊㄧˇ,   /  ] calligraphic style; typeface; font #15,632 [Add to Longdo]
苍老[cāng lǎo, ㄘㄤ ㄌㄠˇ,   /  ] old; aged; vigorous; forceful (of calligraphy or painting) #16,174 [Add to Longdo]
闪光灯[shǎn guāng dēng, ㄕㄢˇ ㄍㄨㄤ ㄉㄥ,    /   ] a flash light (for photography) #16,552 [Add to Longdo]
编导[biān dǎo, ㄅㄧㄢ ㄉㄠˇ,   /  ] to write and direct (a play, film etc); playwright-director; choreographer-director; scenarist-director #18,097 [Add to Longdo]
史学[shǐ xué, ㄕˇ ㄒㄩㄝˊ,   /  ] historiography #18,314 [Add to Longdo]
胶片[jiāo piàn, ㄐㄧㄠ ㄆㄧㄢˋ,   /  ] (photographic) film #18,331 [Add to Longdo]
传记[zhuàn jì, ㄓㄨㄢˋ ㄐㄧˋ,   /  ] biography #18,759 [Add to Longdo]
专著[zhuān zhù, ㄓㄨㄢ ㄓㄨˋ,   /  ] monograph; specialized text #18,837 [Add to Longdo]
墨迹[mò jì, ㄇㄛˋ ㄐㄧˋ,   /  ] ink marks; original calligraphy or painting of famous person #19,064 [Add to Longdo]
自传[zì zhuàn, ㄗˋ ㄓㄨㄢˋ,   /  ] autobiography #19,066 [Add to Longdo]
涂鸦[tú yā, ㄊㄨˊ ㄧㄚ,   /  ] graffiti; scrawl; poor calligraphy; to write badly; to scribble #19,476 [Add to Longdo]
平地[píng dì, ㄆㄧㄥˊ ㄉㄧˋ,  ] (geography) plains #20,803 [Add to Longdo]
塔斯社[Tǎ sī shè, ㄊㄚˇ ㄙ ㄕㄜˋ,   ] TASS; Information Telegraph Agency of Russia #21,611 [Add to Longdo]
开打[kāi dá, ㄎㄞ ㄉㄚˊ,   /  ] to perform acrobatic or choreographed fight #21,728 [Add to Longdo]
段落[duàn luò, ㄉㄨㄢˋ ㄌㄨㄛˋ,  ] part; paragraph #21,872 [Add to Longdo]
巨幅[jù fú, ㄐㄩˋ ㄈㄨˊ,  ] extremely large (of paintings, photographs etc) #21,897 [Add to Longdo]
电线杆[diàn xiàn gān, ㄉㄧㄢˋ ㄒㄧㄢˋ ㄍㄢ,  线  /   ] electric pole; telegraph pole #22,506 [Add to Longdo]
电线杆[diàn xiàn gǎn, ㄉㄧㄢˋ ㄒㄧㄢˋ ㄍㄢˇ,  线  /   ] electric pole; telegraph pole #22,506 [Add to Longdo]
书法家[shū fǎ jiā, ㄕㄨ ㄈㄚˇ ㄐㄧㄚ,    /   ] calligrapher #23,249 [Add to Longdo]

Japanese-Thai-English: Saikam Dictionary
被写体[ひしゃたい, hishatai] TH: สิ่งที่เป็นแบบในการถ่ายภาพ  EN: (photographic subject
写真[しゃしん, shashin] TH: รูปถ่าย  EN: photograph
写る[うつる, utsuru] TH: ถ่ายเป็นรูป  EN: to be photographed

German-Thai: Longdo Dictionary
Computertomographie(n) |die, pl. Computertomographien| ระบบสร้างภาพตัดขวางจากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์, Syn. Computertomografie

German-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
autobiographie(n) (die) อัตชีวประวัติ

German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary
Absatz { m }; Abschnitt { m } | neuer Absatzparagraph; subsection | new paragraph [Add to Longdo]
Aktfotografie { f }nude photography [Add to Longdo]
Aktfotografie { f } (Bild)nude photograph [Add to Longdo]
Allgemeinbibliographie { f }general bibliography; universal bibliography [Add to Longdo]
Anpressdruck { m } des Stromabnehmerspantograph pressure [Add to Longdo]
Anzeige { f }; Bildschirm { m }; Ausstellung { f }; Ansicht { f } | grafische Anzeigedisplay | graphic display [Add to Longdo]
Auswahlbibliographie { f }selective bibliography [Add to Longdo]
Autobiografie { f }; Autobiographie { f } [ alt ] | Autobiographien { pl }autobiography | autobiographies [Add to Longdo]
Autogramm { n } | Autogramme { pl }autograph | autographs [Add to Longdo]
Autogrammjäger { m }autograph hunter [Add to Longdo]
Autograph { m } | Autographen { pl } | das Originalautograph | autographs | the original autograph [Add to Longdo]
Balkenanzeige { f }bargraph [Add to Longdo]
Bibliografie { f }; Bibliographie { f } | Bibliografien { pl }; Bibliographien { pl } | abgeschlossene Bibliographiebibliography | bibliographies | closed bibliography [Add to Longdo]
Bibliograph { m }bibliographer [Add to Longdo]
Bildfernschreiben { n }teleautography [Add to Longdo]
Bildfernschreiber { m }teleautograph [Add to Longdo]
Bildübertragung { f }phototelegraphy [Add to Longdo]
Bildzeichen { n }; Piktogramm { n }pictogram; pictograph [Add to Longdo]
Biograph { m } | Biographen { pl }biographer | biographers [Add to Longdo]
Biographie { f }; Lebensbeschreibung { f } | Biographien { pl }; Lebensbeschreibungen { pl }biography | biographies [Add to Longdo]
Bundesamt für Seeschiffahrt und Hydrographie (BSH)Federal Maritime and Hydrographic Agency [Add to Longdo]
Chromatographie { f }chromatography [Add to Longdo]
Choreograph { m }choreographer [Add to Longdo]
Choreographie { f } | Choreographien { pl }choreography | choreographies [Add to Longdo]
Chromolithographie { f }chromolithography [Add to Longdo]
Dachstromabnehmer { m }pantograph [Add to Longdo]
Datenverarbeitung { f } | Datenverarbeitungen { pl } | automatisierte Datenverarbeitung { f } | dezentralisierte Datenverarbeitung { f } | graphische Datenverarbeitung { f } | kommerzielle Datenverarbeitung { f }data processing; data handling | data processings | automatic data processing | decentralized data processing | computer graphics | business data processing [Add to Longdo]
Demograph { m }; Demograf { m }demographer [Add to Longdo]
Demographie { f }; Demografie { f } | Demographien { pl }; Demografien { pl }demography | demographics [Add to Longdo]
Digraph { m }digraph [Add to Longdo]
Drucktechnik { f }typography [Add to Longdo]
Dünnschichtchromatographie { f }thin-layer chromatography [Add to Longdo]
Durchstrahlungsprüfung { f } [ techn. ]radiographic test [Add to Longdo]
Echograf { m }; Echograph { m }echograph [Add to Longdo]
Echografie { f }; Echographie { f }echography [Add to Longdo]
Einholm-Dachstromabnehmer { m }single-arm pantograph [Add to Longdo]
Einzelwerk { n }Monograph [Add to Longdo]
Elektrokardiogaphie { f }electrocardiography [Add to Longdo]
Elektrokardiograph { n }electrocardiograph [Add to Longdo]
Entschlüssler { m }cryptographer [Add to Longdo]
Fahrtenschreiber { m }tachograph [Add to Longdo]
Fahrtlichter { pl } [ naut. ] | Fahrtenschreiber { pl }running lights | tachographs [Add to Longdo]
Farbendruck { m }chromotypography [Add to Longdo]
Farbenphotographie { f }heliochromy [Add to Longdo]
Farbfotografie { f }colour photography [Add to Longdo]
Farbphotographie { f } | Farbphotographien { pl }colour photography | colour photographies [Add to Longdo]
Fernschreiben { n }alphabetic telegraphy [Add to Longdo]
Filmbiographie { f }biopic [Add to Longdo]
Filmvorführapparat { m }cinematographer [Add to Longdo]
Flüssigchromatography { f }liquid chromatography [Add to Longdo]

Japanese-English: EDICT Dictionary
参照[さんしょう, sanshou] (n, vs) reference; bibliographical reference; consultation; browsing (e.g. when selecting a file to upload on a computer); checking out; (P) #418 [Add to Longdo]
[よ, yo] (n) (1) occasion; time; (2) section (of a literary work); paragraph; verse; stanza; passage; (3) node (of a plant stem); (4) { ling } clause; (5) (taxonomical) section; (P) #501 [Add to Longdo]
写真[しゃしん, shashin] (n) (1) photograph; photo; (2) (See 活動写真) movie; (P) #589 [Add to Longdo]
撮影[さつえい, satsuei] (n, vs) photographing; (P) #614 [Add to Longdo]
[しょ, sho] (n, n-suf) (1) document; book; (n) (2) penmanship; handwriting; calligraphy (esp. Chinese) #622 [Add to Longdo]
件;条[くだり, kudari] (n) passage; paragraph #806 [Add to Longdo]
[こう, kou] (n) (1) clause; paragraph; item; (2) { ling } argument; (3) { math } term; (4) (arch) (See 項・うなじ) nape (of the neck) #903 [Add to Longdo]
[ず, zu] (n, n-suf) (1) drawing; picture; diagram; figure; illustration; chart; graph; (2) sight; scene; (P) #978 [Add to Longdo]
[かい, kai] (n, n-suf) (1) storey; story; floor; (n) (2) (See 階・きざはし・1) stairs; (n, n-suf) (3) stage (in chronostratigraphy); (ctr) (4) counter for storeys and floors of a building; (P) #1,097 [Add to Longdo]
地理[ちり, chiri] (n) geography; (P) #1,165 [Add to Longdo]
[でん, den] (n) (1) legend; tradition; (2) biography; life; (3) method; way; (4) horseback transportation and communication relay system used in ancient Japan #1,400 [Add to Longdo]
作画[さくが, sakuga] (n, vs) drawing pictures; taking photographs #2,811 [Add to Longdo]
サイン[sain] (n, vs) (1) autograph; signature; (2) sign; (n) (3) sine; (P) #3,715 [Add to Longdo]
書誌[しょし, shoshi] (n, adj-no) bibliography #3,825 [Add to Longdo]
地形[ちけい(P);じぎょう, chikei (P); jigyou] (n) terrain; geographical features; topography; (P) #3,838 [Add to Longdo]
伝記[でんき, denki] (n, adj-no) biography; life story; (P) #4,554 [Add to Longdo]
列伝[れつでん, retsuden] (n) series of biographies #4,943 [Add to Longdo]
外伝[がいでん, gaiden] (n) (1) (See 本伝) supplementary biography; (2) anecdote; side story; spin-off #5,017 [Add to Longdo]
実写[じっしゃ, jissha] (n, vs) on-the-spot filming or photography #5,720 [Add to Longdo]
グラフ[gurafu] (n) graph; (P) #5,732 [Add to Longdo]
書き方[かきかた, kakikata] (n) (1) way of writing; manner of writing; (2) penmanship (esp. used in old textbooks); calligraphy; (3) format (e.g. of a report); (4) stroke order of a character; (P) #5,771 [Add to Longdo]
追跡[ついせき, tsuiseki] (n, vs, adj-no) pursuit; tracking (e.g. in computer graphics); keeping records on; tracing; (P) #6,415 [Add to Longdo]
総覧;綜覧;總覽(oK)[そうらん, souran] (n, vs, adj-no) guide; general survey; conspectus; comprehensive bibliography #7,159 [Add to Longdo]
[く, ku] (n, n-suf) (1) section (i.e. of text); sentence; passage; paragraph; (2) { ling } phrase; (3) verse (of 5 or 7 mora in Japanese poetry; of 4, 5, or 7 characters in Chinese poetry); (4) haiku; first 17 morae of a renga, etc.; (5) maxim; saying; idiom; expression; (P) #7,280 [Add to Longdo]
焦点[しょうてん, shouten] (n, adj-no) focus (e.g. photographic); focal point; (P) #7,950 [Add to Longdo]
ポルノ[poruno] (n) (abbr) pornography; (P) #7,994 [Add to Longdo]
露出[ろしゅつ, roshutsu] (n, vs) (1) exposure; disclosure; (2) (See 露光) photographic exposure; (P) #8,288 [Add to Longdo]
[つか, tsuka] (n, n-suf) (1) { math } lattice; (n, n-suf, ctr) (2) counter for large bundles (e.g. 10 sheafs of rice, 200 sheets of calligraphy paper, 20 whistling arrows, 100 fish); (3) handbreadth (unit for measuring the length of arrows) #8,371 [Add to Longdo]
段落[だんらく, danraku] (n) (1) paragraph; (2) end; stopping place; conclusion; (P) #8,937 [Add to Longdo]
書道[しょどう, shodou] (n, adj-no) (esp. Asian calligraphy based on Chinese characters) (See カリグラフィー) calligraphy; (P) #9,244 [Add to Longdo]
全文[ぜんぶん, zenbun] (n) whole passage; full text; whole sentence; full paragraph; (P) #9,468 [Add to Longdo]
自伝[じでん, jiden] (n) autobiography; (P) #9,752 [Add to Longdo]
電信[でんしん, denshin] (n, adj-no) telegraph; (P) #9,968 [Add to Longdo]
末尾[まつび, matsubi] (n) end (e.g. of report, document, paragraph, etc.); (P) #10,187 [Add to Longdo]
チーズ[chi-zu] (n) (1) (See 乾酪) cheese; (exp) (2) say cheese! (when taking photographs); (P) #10,250 [Add to Longdo]
がり;ガリ[gari ; gari] (n) (1) sliced ginger prepared in vinegar (served with sushi); pickled ginger; (2) (がり only) (abbr) (See がり版) mimeograph; (3) (がり only) (usu. as がりを食う) reprimand; rebuke; censure; reproof #10,471 [Add to Longdo]
改行[かいぎょう, kaigyou] (n, vs) (1) new line; new paragraph; (2) { comp } newline (e.g. LF, CR, CRLF) #11,805 [Add to Longdo]
絵文字[えもじ, emoji] (n) ideograph; pictograph #11,885 [Add to Longdo]
碑文[ひぶん, hibun] (n, adj-no) inscription; epitaph; epigraph; (P) #13,546 [Add to Longdo]
書体[しょたい, shotai] (n) calligraphic style; calligraphic styles; typeface; (P) #14,667 [Add to Longdo]
地誌[ちし, chishi] (n) topography; (P) #16,182 [Add to Longdo]
パンタグラフ[pantagurafu] (n) pantograph; (P) #16,545 [Add to Longdo]
図形[ずけい, zukei] (n) figure; shape; graphic; (P) #16,603 [Add to Longdo]
一節[いっせつ(P);ひとふし, issetsu (P); hitofushi] (n) a verse (e.g. in the Bible); stanza; paragraph; passage; a joint; section; a tune; note; strain; measure; (P) #18,039 [Add to Longdo]
評伝[ひょうでん, hyouden] (n) a critical biography; (P) #18,186 [Add to Longdo]
電線[でんせん, densen] (n) (1) electric line; electric cable; power cable; (2) telephone line; telegraph wire; (P) #18,446 [Add to Longdo]
光沢[こうたく, koutaku] (n) brilliance; polish; lustre; luster; glossy finish (of photographs); (P) #18,579 [Add to Longdo]
被写体[ひしゃたい, hishatai] (n) (photographic) subject; (P) #19,255 [Add to Longdo]
振り付け(P);振付け;振付[ふりつけ, furitsuke] (n) (1) choreography; dance coaching; (2) Japanese dance competition; (P) #19,529 [Add to Longdo]
中黒;・[なかぐろ, nakaguro] (n) middle dot (typographical symbol used between parallel terms, names in katakana, etc.); full-stop mark at mid-character height; interpoint (interword separation) #19,561 [Add to Longdo]

Japanese-English: COMPDICT Dictionary
インライン画像[インラインがぞう, inrain gazou] inline graphic [Add to Longdo]
ウィンドウ[ういんどう, uindou] window (e.g in computer graphics) [Add to Longdo]
エラーバー[えらーばー, era-ba-] error bar (graph) [Add to Longdo]
オブジェクト指向グラフィックス[オブジェクトしこうグラフィックス, obujiekuto shikou gurafikkusu] object-oriented graphics [Add to Longdo]
カラーグラフィックス[からーぐらふぃっくす, kara-gurafikkusu] color graphics [Add to Longdo]
カリグラフィック表示装置[カリグラフィックよょうじそうち, karigurafikku yoyoujisouchi] calligraphic display device, directed beam display device [Add to Longdo]
グラフ[ぐらふ, gurafu] graph, chart [Add to Longdo]
グラフィカルユーザーインターフェース[ぐらふぃかるゆーざーいんたーふぇーす, gurafikaruyu-za-inta-fe-su] graphical user interface [Add to Longdo]
グラフィカルユーザインタフェース[ぐらふぃかるゆーざいんたふぇーす, gurafikaruyu-zaintafe-su] graphical user interface (GUI) [Add to Longdo]
グラフィクス装置[グラフィクスそうち, gurafikusu souchi] graphics device [Add to Longdo]
グラフィクス中核系[グラフィクスちゅうかくけい, gurafikusu chuukakukei] Graphical Kernel System [Add to Longdo]
グラフィック[ぐらふぃっく, gurafikku] graphic (a-no) [Add to Longdo]
グラフィックアクセラレータ[ぐらふぃっくあくせられーた, gurafikkuakuserare-ta] graphics accelerator [Add to Longdo]
グラフィックス[ぐらふぃっくす, gurafikkusu] graphics [Add to Longdo]
グラフィックスタブレット[ぐらふぃっくすたぶれっと, gurafikkusutaburetto] graphics tablet [Add to Longdo]
グラフィックツール[ぐらふぃっくつーる, gurafikkutsu-ru] graphic(al) tool [Add to Longdo]
グラフィックディスプレイ[ぐらふぃっくでいすぷれい, gurafikkudeisupurei] graphic display [Add to Longdo]
グラフィックモード[ぐらふぃっくもーど, gurafikkumo-do] graphics mode [Add to Longdo]
グラフィック基本要素[グラフィックきほんようそ, gurafikku kihonyouso] graphical primitive elements [Add to Longdo]
グラフ領域[ぐらふりょういき, gurafuryouiki] graph area [Add to Longdo]
コンピューターグラフィックス[こんぴゅーたーぐらふぃっくす, konpyu-ta-gurafikkusu] computer graphics [Add to Longdo]
コンピュータージオグラフィックス[こんぴゅーたーじおぐらふぃっくす, konpyu-ta-jiogurafikkusu] computer geographics [Add to Longdo]
コンピュータートモグラフィー[こんぴゅーたーともぐらふぃー, konpyu-ta-tomogurafi-] computer tomography [Add to Longdo]
コンピュータグラフィクスのメタファイル[こんぴゅーたぐらふぃくす の めたふぁいる, konpyu-tagurafikusu no metafairu] Computer Graphics Metafile [Add to Longdo]
コンピュータグラフィクスインタフェース[こんぴゅーたぐらふぃくすいんたふぇーす, konpyu-tagurafikusuintafe-su] Computer Graphics Interface [Add to Longdo]
コンピュータグラフィックス[こんぴゅーたぐらふぃっくす, konpyu-tagurafikkusu] computer graphics [Add to Longdo]
コンピュータマイクログラフィックス[こんぴゅーたまいくろぐらふぃっくす, konpyu-tamaikurogurafikkusu] computer micrographics [Add to Longdo]
スケーリング[すけーりんぐ, suke-ringu] scaling (e.g. in computer graphics) [Add to Longdo]
トラッキング[とらっきんぐ, torakkingu] tracking (in computer graphics) [Add to Longdo]
パラグラフ[ぱらぐらふ, paragurafu] paragraph [Add to Longdo]
ホログラフィ[ほろぐらふぃ, horogurafi] holography [Add to Longdo]
モノグラフ[ものぐらふ, monogurafu] monograph [Add to Longdo]
ラスタグラフィックス[らすたぐらふぃっくす, rasutagurafikkusu] raster graphics [Add to Longdo]
ラスタ図形処理[らすたずけいしょり, rasutazukeishori] raster graphics [Add to Longdo]
ラスタ図形要素[らすたずけいようそ, rasutazukeiyouso] raster graphics element [Add to Longdo]
ラスタ方式グラフィクス[らすたほうしきグラフィクス, rasutahoushiki gurafikusu] raster graphics [Add to Longdo]
ローカルバスグラフィックス[ろーかるばすぐらふぃっくす, ro-karubasugurafikkusu] local bus graphics [Add to Longdo]
ローカルバスビデオ[ろーかるばすびでお, ro-karubasubideo] (local bus graphics), local bus video [Add to Longdo]
暗号[あんごう, angou] cipher, cryptography [Add to Longdo]
暗号システム[あんごうシステム, angou shisutemu] cryptographic system, cryptosystem [Add to Longdo]
暗号化手法[あんごうかしゅほう, angoukashuhou] cryptography [Add to Longdo]
暗号技術[あんごうぎじゅつ, angougijutsu] cryptography, encryption technology [Add to Longdo]
暗号検査値[あんごうけんさち, angoukensachi] cryptographic checkvalue [Add to Longdo]
暗号手法[あんごうしゅほう, angoushuhou] cryptography, cryptographic technique [Add to Longdo]
暗号同期[あんごうどうき, angoudouki] cryptographic synchronization [Add to Longdo]
円グラフ[えんグラフ, en gurafu] pie graph, pie chart [Add to Longdo]
仮想空間[かそうくうかん, kasoukuukan] virtual space (e.g. in computer graphics) [Add to Longdo]
関連図[かんれんず, kanrenzu] graphic display [Add to Longdo]
幾何学図形要素[きかがくずけいようそ, kikagakuzukeiyouso] geometric graphics element [Add to Longdo]
[こう, kou] term, item, clause, paragraph, head (pref), main [Add to Longdo]

Japanese-German: JDDICT Dictionary
伝記[でんき, denki] Biographie, Lebensbeschreibung [Add to Longdo]
図表[ずひょう, zuhyou] Diagramm, Tafel, graphische Darstellung [Add to Longdo]
地理[ちり, chiri] Geographie [Add to Longdo]
地誌[ちし, chishi] Topographie [Add to Longdo]
春画[しゅんが, shunga] obszoenes_Bild, Pornographie [Add to Longdo]
書誌学[しょしがく, shoshigaku] Bibliographie, Buecherkunde [Add to Longdo]
書道[しょどう, shodou] Kalligraphie [Add to Longdo]
[じょう, jou] ARTIKEL, PARAGRAPH, LINIE, STRICH [Add to Longdo]
箇条[かじょう, kajou] Artikel, Paragraph, -Punkt [Add to Longdo]
[ふし, fushi] JAHRESZEIT, GELEGENHEIT, GRUNDSATZ, PARAGRAPH, STROPHE [Add to Longdo]
[けい, kei] GEOGRAPHISCHE_LAENGE, VERLAUF [Add to Longdo]
習字[しゅうじ, shuuji] Schoenschreiben, Kalligraphie [Add to Longdo]
肉筆[にくひつ, nikuhitsu] eigenhaendig_geschrieben, Autograph [Add to Longdo]
能筆[のうひつ, nouhitsu] Kalligraphie, Schoenschreiben [Add to Longdo]
自叙伝[じじょでん, jijoden] Autobiographie [Add to Longdo]
色紙[しきし, shikishi] japan.Kalligraphie, japan.Zeichenpapier [Add to Longdo]
草書[そうしょ, sousho] kalligraphisch_verkuerzte, Form_der_Kanji [Add to Longdo]
謄写版[とうしゃばん, toushaban] Mimeograph, Vervielfaeltigungsapparat [Add to Longdo]
速記[そっき, sokki] Kurzschrift, Stenographie [Add to Longdo]
[こう, kou] PUNKT, ARTIKEL, ABSCHNITT, PARAGRAPH [Add to Longdo]
風土[ふうど, fuudo] geographische Eigenart, Klima [Add to Longdo]
黒鉛[こくえん, kokuen] Graphit [Add to Longdo]

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top