“Demure” : The word redefines elegance and confidence in 2024 (เรียนภาษาอังกฤษ in English) “Demure” เป็นคำศัพท์ที่ได้รับความสนใจจากโซเชียลมีเดียโดยเฉพาะ Tiktok ซึ่งสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่หันมาให้ความสำคัญกับความเรียบง่าย ความมั่นใจ และความใส่ใจในรายละเอียดทั้งในรูปลักษณ์และพฤติกรรม โดยคำนี้ได้รับการนิยามใหม่จากความหมายดั้งเดิมที่เกี่ยวกับความสุภาพถ่อมตัวและความสงวนท่าที ให้กลายเป็นสัญลักษณ์ของความสง่างามที่มาพร้อมความมั่นใจอย่างมีชั้นเชิงในโลกที่เต็มไปด้วยความโดดเด่นฉูดฉาด การเปลี่ยนแปลงนี้ซึ่งได้รับอิทธิพลอย่างมากจากเทรนด์ในโซเชียลมีเดียและทัศนคติของสังคมที่พัฒนาไป ชี้ให้เห็นถึงการยอมรับในรูปแบบการแสดงตัวตนที่แฝงด้วยความลึกซึ้งและงดงามในปัจจุบัน The word “demure” was selected as Dictionary.com’s 2024 Word of...
ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

-ช ๑-

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -ช ๑-, *ช ๑*
(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา -ช ๑- มีน้อย ระบบได้ทดลองค้นหาใหม่โดยใส่ดอกจันทน์ (wild-card) ให้โดยอัตโนมัติ: *ช ๑*)
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ช ๑พยัญชนะตัวที่ ๑๐ เรียกว่า ชอ ช้าง เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น ราช คช กริช แซนด์วิช.
กัมพุช ๑, กัมพุช-(กำพุด, กำพุดชะ-) น. แคว้นเขมร, (โบ) ชื่อแคว้นหนึ่งทางตอนเหนือของอินเดีย, กัมโพช ก็ใช้.
นาคราช ๑(นากคะ-) น. พญางู
นาคราช ๑ชื่อเพลงไทย อัตราชั้นเดียว เรียกว่า ไส้เดือนฉกจวัก, เมื่อแต่งขยายขึ้นเป็นอัตรา ๒ ชั้น เรียกว่า นาคราช ๒ ชั้นหรือนาคราชแผ่พังพาน เมื่อแต่งขยายขึ้นเป็นอัตรา ๓ ชั้น เรียกว่า นาคราชแผลงฤทธิ์หรือไส้พระจันทร์ เมื่อนำมาทำเป็นเพลงเถา เรียกว่า ไส้พระจันทร์ เถา หรือนาคราชแผลงฤทธิ์ เถา.
นาคราช ๑ดูใน นาค ๑, นาค- ๑.
บวช ๑ก. ถือเพศเป็นภิกษุสามเณรหรือนักพรตอื่น ๆ.
ภุช ๑, ภุช-(พุด, พุชะ-) น. แขน
ภุช ๑, ภุช-งวงช้าง.
รัช ๑น. ธุลี, ฝุ่น, ผง, ละออง.
ราช ๑, ราช-(ราด, ราดชะ-) น. พระเจ้าแผ่นดิน, พญา (ใช้แก่สัตว์) เช่น นาคราช คือ พญานาค สีหราช คือ พญาราชสีห์, คำนี้มักใช้ประกอบกับคำอื่น, ถ้าคำเดียวมักใช้ว่า ราชา.
วัช ๑น. วชะ, คอกสัตว์.
วิรัช ๑ว. ปราศจากธุลี, ไม่มีมลทิน, บริสุทธิ์, สะอาด.
จัตวาศกน. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๔ เช่น ปีจอ จัตวาศก จุลศักราช ๑๓๔๔.
จุลศักราชน. ศักราชน้อย เริ่มตั้งภายหลังพุทธศักราช ๑๑๘๑ ปี (พุทธศักราชลบด้วย ๑๑๘๑ เท่ากับจุลศักราช).
ฉศก(ฉอสก) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๖ เช่น ปีชวด ฉศก จุลศักราช ๑๓๔๖.
ตรีศกน. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๓ เช่น ปีระกาตรีศก จุลศักราช ๑๓๔๓.
โทศกน. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๒ เช่น ปีวอกโทศก จุลศักราช ๑๓๔๒.
นพศก(นบพะ-) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๙ เช่น ปีเถาะนพศก จุลศักราช ๑๓๔๙.
นาคราชแผ่พังพานดู นาคราช ๑.
นาคราชแผลงฤทธิ์ ๒ดู นาคราช ๑.
เบญจศกน. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๕ เช่น ปีกุน เบญจศก จุลศักราช ๑๓๔๕.
ภุชคะ, ภุชงค์, ภุชงคมะดู ภุช ๑, ภุช-.
ภุชงคประยาตดู ภุช ๑, ภุช-.
ภุชาดู ภุช ๑, ภุช-.
ราชาธิปไตยดู ราช ๑, ราช-.
ราชาธิราชดู ราช ๑, ราช-.
ราชาภิเษกดู ราช ๑, ราช-.
ราชูปถัมภ์, ราโชปถัมภ์ดู ราช ๑, ราช-.
ราชูปโภค, ราโชปโภคดู ราช ๑, ราช-.
ราเชนทร์ดู ราช ๑, ราช-.
ราโชงการดู ราช ๑, ราช-.
ราโชวาทดู ราช ๑, ราช-.
ราไชศวรรย์ดู ราช ๑, ราช-.
ศักราช(สักกะหฺราด) น. อายุเวลาซึ่งกำหนดตั้งขึ้นเป็นทางการ เริ่มแต่จุดใดจุดหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นที่หมายเหตุการณ์สำคัญ เรียงลำดับกันเป็นปี ๆ ไป เช่น พุทธศักราช ๑, ๒, ๓, ... จุลศักราช ๑, ๒, ๓, ... (ตามความนิยมที่ใช้เป็นธรรมเนียมกันมา คำ ศักราช ในคำเช่น พุทธศักราช คริสต์ศักราช จะใช้ว่า ศก เป็น พุทธศก คริสต์ศก ก็ได้ แต่คำเช่น มหาศักราช จุลศักราช ไม่นิยมใช้ว่า มหาศก จุลศก ส่วนคำว่า รัตนโกสินทรศก ไม่นิยมใช้ว่า รัตนโกสินทรศักราช), (ปาก) โดยปริยายหมายความว่า ช่วงใดช่วงหนึ่งซึ่งเริ่มต้นเหตุการณ์สำคัญในชีวิตบุคคล เช่น เริ่มศักราชแห่งชีวิตใหม่ พอเรียนหนังสือจบก็เริ่มศักราชของการทำงาน.
สัปตศกน. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๗ เช่น ปีฉลูสัปตศก จุลศักราช ๑๓๔๗.
สัมฤทธิศก(สำริดทิสก) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๐ เช่น ปีมะโรงสัมฤทธิศก จุลศักราช ๑๓๕๐, ปีสำเร็จ (ครบรอบ คือ ปีที่ ๑๐ ของรอบ ๑๐ ปีของจุลศักราช) ซึ่งตั้งต้นด้วยเอกศก โทศก เป็นลำดับไปจน นพศก แล้วสัมฤทธิศก เป็นครบรอบแล้วตั้งต้นใหม่.
ไส้เดือนฉกจวักดู นาคราช ๑.
อัญชนะศักราชน. ศักราชที่เริ่มตั้งก่อนพุทธศักราช ๑๔๗ ปี (อัญชนะศักราชลบด้วย ๑๔๗ เท่ากับพุทธศักราช).
อัฐศกน. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๘ เช่น ปีขาล อัฐศก จุลศักราช ๑๓๔๘.
เอกศก(เอกกะ-) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๑ เช่น ปีมะแมเอกศก จุลศักราช ๑๓๔๑.

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
กัมพุช ๑, กัมพุช-(กำพุด, กำพุดชะ-) น. แคว้นเขมร, (โบ) ชื่อแคว้นหนึ่งทางตอนเหนือของอินเดีย, กัมโพช ก็ใช้.
ช ๑พยัญชนะตัวที่ ๑๐ เรียกว่า ชอ ช้าง เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น ราช คช กริช แซนด์วิช.
นาคราช ๑(นากคะ-) น. พญางู
นาคราช ๑ชื่อเพลงไทย อัตราชั้นเดียว เรียกว่า ไส้เดือนฉกจวัก, เมื่อแต่งขยายขึ้นเป็นอัตรา ๒ ชั้น เรียกว่า นาคราช ๒ ชั้นหรือนาคราชแผ่พังพาน เมื่อแต่งขยายขึ้นเป็นอัตรา ๓ ชั้น เรียกว่า นาคราชแผลงฤทธิ์หรือไส้พระจันทร์ เมื่อนำมาทำเป็นเพลงเถา เรียกว่า ไส้พระจันทร์ เถา หรือนาคราชแผลงฤทธิ์ เถา.
นาคราช ๑ดูใน นาค ๑, นาค- ๑.
บวช ๑ก. ถือเพศเป็นภิกษุสามเณรหรือนักพรตอื่น ๆ.
ภุช ๑, ภุช-(พุด, พุชะ-) น. แขน
ภุช ๑, ภุช-งวงช้าง.
รัช ๑น. ธุลี, ฝุ่น, ผง, ละออง.
ราช ๑, ราช-(ราด, ราดชะ-) น. พระเจ้าแผ่นดิน, พญา (ใช้แก่สัตว์) เช่น นาคราช คือ พญานาค สีหราช คือ พญาราชสีห์, คำนี้มักใช้ประกอบกับคำอื่น, ถ้าคำเดียวมักใช้ว่า ราชา.
วัช ๑น. วชะ, คอกสัตว์.
วิรัช ๑ว. ปราศจากธุลี, ไม่มีมลทิน, บริสุทธิ์, สะอาด.
จัตวาศกน. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๔ เช่น ปีจอ จัตวาศก จุลศักราช ๑๓๔๔.
จุลศักราชน. ศักราชน้อย เริ่มตั้งภายหลังพุทธศักราช ๑๑๘๑ ปี (พุทธศักราชลบด้วย ๑๑๘๑ เท่ากับจุลศักราช).
ฉศก(ฉอสก) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๖ เช่น ปีชวด ฉศก จุลศักราช ๑๓๔๖.
ตรีศกน. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๓ เช่น ปีระกาตรีศก จุลศักราช ๑๓๔๓.
โทศกน. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๒ เช่น ปีวอกโทศก จุลศักราช ๑๓๔๒.
นพศก(นบพะ-) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๙ เช่น ปีเถาะนพศก จุลศักราช ๑๓๔๙.
นาคราชแผ่พังพานดู นาคราช ๑.
นาคราชแผลงฤทธิ์ ๒ดู นาคราช ๑.
เบญจศกน. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๕ เช่น ปีกุน เบญจศก จุลศักราช ๑๓๔๕.
ภุชคะ, ภุชงค์, ภุชงคมะดู ภุช ๑, ภุช-.
ภุชงคประยาตดู ภุช ๑, ภุช-.
ภุชาดู ภุช ๑, ภุช-.
ราชาธิปไตยดู ราช ๑, ราช-.
ราชาธิราชดู ราช ๑, ราช-.
ราชาภิเษกดู ราช ๑, ราช-.
ราชูปถัมภ์, ราโชปถัมภ์ดู ราช ๑, ราช-.
ราชูปโภค, ราโชปโภคดู ราช ๑, ราช-.
ราเชนทร์ดู ราช ๑, ราช-.
ราโชงการดู ราช ๑, ราช-.
ราโชวาทดู ราช ๑, ราช-.
ราไชศวรรย์ดู ราช ๑, ราช-.
ศักราช(สักกะหฺราด) น. อายุเวลาซึ่งกำหนดตั้งขึ้นเป็นทางการ เริ่มแต่จุดใดจุดหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นที่หมายเหตุการณ์สำคัญ เรียงลำดับกันเป็นปี ๆ ไป เช่น พุทธศักราช ๑, ๒, ๓, ... จุลศักราช ๑, ๒, ๓, ... (ตามความนิยมที่ใช้เป็นธรรมเนียมกันมา คำ ศักราช ในคำเช่น พุทธศักราช คริสต์ศักราช จะใช้ว่า ศก เป็น พุทธศก คริสต์ศก ก็ได้ แต่คำเช่น มหาศักราช จุลศักราช ไม่นิยมใช้ว่า มหาศก จุลศก ส่วนคำว่า รัตนโกสินทรศก ไม่นิยมใช้ว่า รัตนโกสินทรศักราช), (ปาก) โดยปริยายหมายความว่า ช่วงใดช่วงหนึ่งซึ่งเริ่มต้นเหตุการณ์สำคัญในชีวิตบุคคล เช่น เริ่มศักราชแห่งชีวิตใหม่ พอเรียนหนังสือจบก็เริ่มศักราชของการทำงาน.
สัปตศกน. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๗ เช่น ปีฉลูสัปตศก จุลศักราช ๑๓๔๗.
สัมฤทธิศก(สำริดทิสก) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๐ เช่น ปีมะโรงสัมฤทธิศก จุลศักราช ๑๓๕๐, ปีสำเร็จ (ครบรอบ คือ ปีที่ ๑๐ ของรอบ ๑๐ ปีของจุลศักราช) ซึ่งตั้งต้นด้วยเอกศก โทศก เป็นลำดับไปจน นพศก แล้วสัมฤทธิศก เป็นครบรอบแล้วตั้งต้นใหม่.
ไส้เดือนฉกจวักดู นาคราช ๑.
อัญชนะศักราชน. ศักราชที่เริ่มตั้งก่อนพุทธศักราช ๑๔๗ ปี (อัญชนะศักราชลบด้วย ๑๔๗ เท่ากับพุทธศักราช).
อัฐศกน. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๘ เช่น ปีขาล อัฐศก จุลศักราช ๑๓๔๘.
เอกศก(เอกกะ-) น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๑ เช่น ปีมะแมเอกศก จุลศักราช ๑๓๔๑.

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top