ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*แดน*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: แดน, -แดน-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) - อังกฤษ (EN) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
One day, Father Khwan Khao brought Khwan Khao to leave with Grandpa.วันหนึ่งคุณพ่อของขวัญข้าวพาขวัญข้าวมาฝากไว้กับคุณปู่ เพราะคุณพ่อต้องไปขับรถส่งผู้โดยสารที่กรุงเทพมหานคร วันนี้คุณปู่พาขวัญข้าว มาดูข้าวที่คุณปู่ได้ปลูกไว้ จนถึงเย็นฝนก็ตกลงมา ขวัญข้าวจึงพูดว่าคุณปู่ตะรีบเข้าบ้านเดี๋ยวไม่สบาย คุณปู่จึงพูดว่าฝนไม่ได้ทำให้ไม่สบายหรอก แต่ต้องไปอาบน้ำ ตอนกลางคืนฝนก็ตกหนักมาก จนขวัญข้าวนอนไม่หลับ ขวัญข้าวตื่นมาให้คุณปู่เล่านิทานให้ฟังปู่เล่านิทานให้ฟังก็ได้ปู่ตอบ มีอยู่วันหนึ่งในดินเเดนแห้งเเร้งทุกคนไม่มีน้ำดื่ม จนกระทั่งวันหนึ่งมีจอบตกลงมาจากบนท้องฟ้า ทุกคนจึงหยิบจอบมาเพื่อขุด แต่ในดินแดนก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ทุกคนจึงเลิกขุด เเต่มีเด็กผู้ชายคนหนึ่งขุดไปเรื่อยๆจากที่ขุด1ไร่กลายเป็น2ไร่จากที่ขุด2ไร่กลายเป็น4ไร่ จนเด็กผู้ชายคนนั้นก็ล้มลง จากนั้นฝนก็ได้ตกลงมา ทุกคนจึงมีชีวิตอยู่ พอคูณปู่เล่าเสร็จคุณปู่หันไปไหว้รูปในหลวงรัชกาลที่่9 วันต่อมาโรงเรียนของขวัญข้าวมีกิจกรรมขายของ ขวัญข้าวจึงทำวุ้นมะพร้าวจากสีธรรมชาติ จอมขายมะม่วงกวน วันต่อมาคุณพ่อของขวัญข้าวมาหาขวัญข้าว แล้วทุกคนจึงเปิดโครงการ"ของขวัญจากดิน" เพราะทุกอย่างที่นำมาขายล้วนแต่ปลูกมาจากดbo
หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน (รด.), หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง, กรมการรักษาดินแดน(n, org, uniq) Territorial Defense Command, Army Reserve Command, Territorial Defence Department
เสรีภาพแห่งการพอเพียง[พอเพียงเพื่อเสรีภาพ] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, pron, phrase, colloq, abbrev, name, org, uniq) เสรีภาพกระผมอย่างยกตัวอย่างที่ในหลวงร9และร10พยายามทำอยู่และส่งเสริมอย่างยิ่งมันคือสิ่งที่เป็นพื้นฐานแห่งชีวิตของทุกคนไม่ว่าคุณจะอดอยากประเทศยากจนในดินแดนต่างๆทั่วโลกไทยคือครัวโลกเรายินดีแบ่งปันความรู้เศรฐกิจพอเพียงนี้ด้วยพืชและสูตรการทำอาหารของไทยที่มีมากมายใข่2ฟองก็สามารถสร้างเมนูเพื่อยังชีพได้เกิน10อย่างผัดทอดนึ่งต้ม

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
แดน(n) land, See also: area, border, territory, region, zone, realm, domain, vicinity, boundary, Syn. ดินแดน, อาณาจักร, ขอบเขต, เขตแดน, แคว้น, อาณาจักร, พื้นที่, เนื้อที่, บริเวณ, เขต, ดินแดน, อาณาบริเวณ, Example: เขาล้ำเข้าไปในแดนข้าศึก, Thai Definition: ที่ที่กำหนดไว้โดยตรงหรือโดยหมายรู้กัน
ชายแดน(n) frontier, See also: border, boundary, Example: ชาวสตูลเข้าไปทำงานในมาเลเซียเพราะชายแดนติดต่อกัน การเดินทางไปมาสะดวก, Thai Definition: บริเวณเขตแดน หรือพื้นที่ที่อยู่สุดเขตแดนของประเทศ ซึ่งอาจจะมีพรมแดนติดกับประเทศอื่น
ดินแดน(n) territory, See also: country, land, Syn. อาณาเขต, แคว้น, เขต, Example: ดินแดนทางตอนใต้ของประเทศไทยมีอาณาเขตติดต่อกับมาเลเซีย
พรมแดน(n) frontier, See also: border, boundary line, Syn. เขตแดน, ชายแดน, แนวพรมแดน, แนวเขตแดน, แนวเขต, Example: ทิวเขาที่อำเภอแม่สายจังหวัดเชียงรายเป็นพรมแดนทางธรรมชาติระหว่างไทยกับพม่าเรียกนามว่าทิวเขาแดนลาว, Thai Definition: ขีดขั้นเขตแดน, แดนต่อแดน, Notes: (เขมร)
เขตแดน(n) border, See also: frontier, boundary, Syn. พรมแดน, ชายแดน, แนวพรมแดน, แนวชายแดน, อาณาเขต, Example: เส้นแบ่งแขตแดนระหว่างไทย-ลาวคือแม่น้ำโขง, Count Unit: เขต, Thai Definition: พื้นที่ในขอบเขตที่กำหนด
แดนดิน(n) region, See also: territory, area, Syn. ดินแดน, บริเวณ, Example: ในแดนดินถิ่นปักษ์ใต้มีพระที่มีชื่อเสียงหลายรูป
แดนไตร(n) three boundaries of the three worlds, Syn. โลกทั้ง 3, Thai Definition: โลกทั้ง 3 ได้แก่ กามภพ คือภพของเทวดาลงมา, รูปภพ คือภพของพรหมที่มีรูป, อรูปภพ คือภพของพรหมที่ไม่มีรูป; หรือ สวรรค์ มนุษยโลก และ บาดาล
ข้ามแดน(v) cross the frontier, See also: go over the frontier, Syn. ข้ามเขต, ข้ามถิ่น, Example: ผู้ก่อการร้ายข้ามแดนมาถล่มยิงอย่างไม่เกรงกลัว
จอร์แดน(n) Kingdom of Jordan, See also: Jordan, Example: จอร์แดนได้ตอบรับแผนการประชุมปัญหาสันติภาพตะวันออกกลางเป็นที่เรียบร้อยแล้ว, Thai Definition: ชื่อประเทศที่อยู่ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของเอเซีย
ต่างแดน(adj) exotic, See also: alien, foreign, remote, Syn. เมืองนอก, ต่างบ้านต่างเมือง, ต่างถิ่น, ต่างประเทศ, Example: เขาเริ่มสนใจวรรณกรรมต่างแดนตั้งแต่ยังเด็ก, Thai Definition: ที่เป็นประเทศอื่น, ที่อยู่ถิ่นฐานอื่น
ต่างแดน(n) foreigner, See also: alien, immigrant, non-native, Syn. เมืองนอก, ต่างบ้านต่างเมือง, ต่างถิ่น, ต่างประเทศ, Example: กลางคืนของเชียงใหม่เต็มไปด้วยสีสัน ผู้คนส่วนใหญ่จะเป็นนักท่องเที่ยวจากต่างแดนเป็นส่วนใหญ่, Thai Definition: ประเทศอื่น, ถิ่นฐานอื่น
คนต่างแดน(n) foreigner, See also: alien, Syn. ชาวต่างแดน, คนต่างประเทศ, ชาวต่างประเทศ, Count Unit: คน
คนต่างแดน(n) foreigner, See also: alien, Syn. ชาวต่างแดน, คนต่างประเทศ, ชาวต่างประเทศ, Count Unit: คน
เขตพรมแดน(n) borderland, See also: frontier, Syn. เขตแดน, อาณาเขต, Example: ถึงแม้จะมีการแบ่งเขตพรมแดนตามกฎหมาย แต่ทั้งสองประเทศก็ยังคงมีข้อพิพาทกันเนืองๆ, Thai Definition: พื้นที่ที่กำหนดขีดคั่นไว้, เส้นแบ่งพื้นที่ระหว่าง 2 ประเทศ
แนวพรมแดน(n) boundary, See also: border, borderline, frontier, Syn. แนวเขตแดน, เส้นเขตแดน, เขตแดน, Example: ปลัดบัญชาการทัพบกของปากีสถานออกตรวจแนวพรมแดนและส่งกำลังเสริมไปยังแคชเมียร์
แนวเขตแดน(n) boundary line, See also: border, borderline, frontier, Syn. เส้นเขตแดน, แนวพรมแดน, เขตแดน, Example: แม่น้ำสายนี้เป็นแนวเขตแดนของทั้ง 2 ประเทศ
ไร้พรมแดน(adj) limitless, See also: boundless, Example: สื่อในยุคการสื่อสารไร้พรมแดนต้องทำงานแข่งขันกันชนิดเอาเป็นเอาตาย, Thai Definition: ไม่มีขอบเขต, ไม่มีขีดจำกัด, ไม่มีอาณาเขตกำหนด
ไร้พรมแดน(adj) limitless, See also: boundless, Example: สื่อในยุคการสื่อสารไร้พรมแดนต้องทำงานแข่งขันกันชนิดเอาเป็นเอาตาย, Thai Definition: ไม่มีขอบเขต, ไม่มีขีดจำกัด, ไม่มีอาณาเขตกำหนด
ข้ามพรมแดน(adj) crossing borders, See also: crossing frontiers, Syn. ข้ามแดน, Example: ยุโรปตะวันตกเริ่มเติบโต เมื่อมีการค้าเสรีข้ามพรมแดน, Thai Definition: ผ่านจากแดนหนึ่งไปยังอีกแดนหนี่ง
จุดผ่านแดน(n) border crossing, Example: การเปิดจุดผ่านแดนเพิ่มขึ้นแต่ละจุด รัฐต้องพิจารณาและศึกษาอย่างละเอียดถึงผลที่จะเกิดขึ้นในด้านต่างๆ, Thai Definition: จุดที่เป็นเขตกั้นระหว่างประเทศ
เสียดินแดน(v) lose one's territory, See also: lose one's land, lose one's ground, Syn. เสียเขตดินแดน, Example: ไทยต้องเสียดินแดนบางส่วนให้แก่อังกฤษ
พรมแดนการเมือง(n) political boundary, Example: ผู้นำของประเทศไทยเจรจาเรื่องพรมแดนการเมืองกับผู้นำประเทศอื่นๆ
ส่งผู้ร้ายข้ามแดน(v) extradite a criminal or prisoner, Example: เจ้าหน้าที่ฝ่ายปราบปรามยาเสพติดละเมิดข้อตกลงส่งผู้ร้ายข้ามแดน

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
เขตแดนน. พื้นที่ที่กำหนดขีดคั่นไว้, เส้นแบ่งพื้นที่ระหว่าง ๒ ประเทศ, อาณาเขต.
แดนน. เขต, พื้นที่ที่กำหนดไว้โดยตรงหรือโดยหมายรู้กัน, เช่น ชายแดน ลํ้าแดน, ถิ่นที่มีคน สัตว์ หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งประเภทเดียวกันอยู่เป็นจำนวนมาก เช่น แดนผู้ร้าย แดนเสือโคร่ง แดนกล้วยไข่ แดนโลกีย์, โลก เช่น สตรีใดในพิภพจบแดน ไม่มีใครได้แค้นเหมือนอกข้า ด้วยใฝ่รักให้เกินพักตรา จะมีแต่เวทนาเป็นเนืองนิตย์ (อิเหนา).
แดนไตรน. โลกทั้ง ๓ ทางพระพุทธศาสนาหมายความถึง กามภพ คือภพของผู้ที่ติดอยู่ในกาม ตั้งแต่ ฉกามาพจรลงมาถึงนรกภูมิ, รูปภพ คือภพของพรหมที่มีรูป, อรูปภพ คือภพของพรหมที่ไม่มีรูป, ทางวรรณคดีหมายความถึง สวรรค์ มนุษยโลก และบาดาล.
แดนสนธยาน. แดนที่เสมือนมีบางสิ่งบางอย่างที่ลึกลับและมีปัญหาสลับซับซ้อนแอบแฝงให้น่าสงสัยอยู่มาก.
แดนแห่งกรรมสิทธิ์น. ขอบเขตแห่งกรรมสิทธิ์ เช่น แดนแห่งกรรมสิทธิ์ที่ดิน กินทั้งเหนือพ้นพื้นดินและใต้พื้นดินด้วย.
ปักปันเขตแดนก. กำหนดเขตแดนระหว่างประเทศเมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับพรมแดนเป็นต้น.
เป็นแดนว. เป็นไปเสมอ, เป็นประจำ, เช่น นั่งที่ไหนนินทาเขาเป็นแดน (สุภาษิตสอนหญิง).
พรมแดน(พฺรม-) น. ขีดขั้นเขตแดน, แดนต่อแดน.
กลากลาด(กฺลากฺลาด) ว. มากหลาย, เกลื่อนกล่น, เช่น มากลากลาดกันแดน (ลอ).
กษมา ๑(กะสะ-) น. ความอดกลั้น, ความอดโทษ, เช่น พระกษมาเสมอหล้า สี่แดน (ยวนพ่าย).
กะเหรี่ยงน. ชื่อชนชาวเขาเผ่าหนึ่ง ปรกติอาศัยอยู่ทางพรมแดนทิศตะวันตกของประเทศไทย, โซ่ หรือ ยาง ก็เรียก, (โบ) เรียกว่า กั้ง ก็มี.
กันชนน. เครื่องป้องกันการกระทบกระแทกด้านหน้าและด้านหลังรถยนต์, เรียกประเทศหรือรัฐที่กั้นอยู่ระหว่างดินแดนของ ๒ ประเทศ เพื่อมิให้พิพาทกันในเรื่องดินแดนและผลประโยชน์ ว่า ประเทศกันชน หรือ รัฐกันชน.
กั้นก. กีดขวางหรือทำสิ่งกีดขวางเพื่อบัง คั่น หรือกันไว้ไม่ให้เข้ามา เช่น ภูเขากั้นเขตแดน กั้นถนน.
กูปรี(-ปฺรี) น. ชื่อวัวป่าขนาดใหญ่ชนิด Bos sauveli Urbain ในวงศ์ Bovidae เมื่อโตเต็มที่ตัวผู้สีดำ มีเขาขนาดใหญ่ ส่วนปลายบิดชี้ขึ้นข้างบน ใช้เขาขุดดินและแทงต้นไม้ทำให้ปลายแตกเป็นเส้น ๆ ร่นลงไปมองเห็นเป็นพู่ ตัวเมียสีน้ำตาลอมเทาหรือน้ำตาลเข้ม เขาเล็กกว่า ปลายไม่แตกเป็นพู่ มีถิ่นอาศัยอยู่บริเวณอีสานใต้ตามชายแดนไทย–กัมพูชา ลาว เวียดนาม เป็นสัตว์ป่าสงวนของไทยที่ใกล้จะสูญพันธุ์, โคไพร ก็เรียก.
เกษตรแดน เช่น พุทธเกษตร.
ขนอน ๑(ขะหฺนอน) น. สถานที่ซึ่งตั้งอยู่ในเส้นทางเข้าออกเมืองหรือเขตแดน เพื่อตรวจคนเข้าออก ผู้ลักลอบผ่านด่าน สิ่งของหรือสินค้าต้องห้าม และเรียกเก็บภาษีอากรสินค้า, ที่คอยเหตุและคนแปลกปลอม.
ขอกน. เขต, แดน
ขัณฑสีมาน. เขตแดน, เขตแดนส่วนหนึ่ง ๆ.
เขต(เขด) น. แดนที่กำหนดขีดคั่นไว้ เช่น เขตป่า เขตบ้าน, เวลาที่กำหนดขีดคั่นไว้ เช่น หมดเขตวันที่ ๑๕. (ป. เขตฺต).
เขมร ๑(ขะเหฺมน) น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับไทย ลาว และเวียดนาม มีภาษาพูดอยู่ในตระกูลมอญ–เขมร และมีอักษรของตนเองใช้ เรียกว่า อักษรขอม.
แขวง(แขฺวง) น. เขต, แดน, ส่วน, ฝ่าย, อาณาบริเวณที่กำหนดไว้เพื่อสะดวกในการปฏิบัติราชการอย่างใดอย่างหนึ่ง.
แคว้น(แคฺว้น) น. ดินแดนอันเป็นถิ่นที่อยู่ของมนุษย์
จีน ๑น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออก มีพรมแดนติดต่อกับมองโกเลีย รัสเซีย เวียดนาม ลาว พม่า ภูฏาน เนปาล อินเดีย คีร์กีซ และคาซัคสถาน มีภาษาพูดและอักษรของตนเองใช้.
ฉนวน ๓(ฉะหฺนวน) น. ดินแดนที่มีทางออกทะเลหรือที่ทำให้ดินแดนถูกแยกออกเป็น ๒ ฟาก.
ชนบท(ชนนะบด) น. บ้านนอก, เขตแดนที่พ้นจากเมืองหลวงออกไป.
ชมพูทวีปน. ดินแดนที่เป็นประเทศอินเดีย ปากีสถาน เนปาล และบังกลาเทศในปัจจุบัน
ชักเย่อ(ชักกะ-) น. ชื่อการเล่นอย่างหนึ่ง โดยแบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่าย แต่ละฝ่ายจะมีจำนวนเท่า ๆ กันหรือกำลังพอ ๆ กัน มักใช้เชือกขนาดพอกำรอบ ยาวพอที่จะให้ผู้เล่นทั้ง ๒ ฝ่ายเรียงแถวจับได้ โดยมีที่ว่างระหว่างกลางเหลือไว้ประมาณ ๒ เมตร กลางเชือกคาดด้วยผ้าหรือใช้สีป้ายเป็นเครื่องหมายไว้ วางกึ่งกลางเชือกไว้บนพื้นที่ที่มีเส้นขีดกลางเป็นเส้นแบ่งเขตแดน เมื่อกรรมการให้สัญญาณ ผู้เล่นทั้ง ๒ ฝ่ายต่างก็จะพยายามดึงเชือกให้กึ่งกลางของเชือกเข้ามาในแดนของตน ถ้าฝ่ายใดสามารถดึงกึ่งกลางเชือกเข้ามาในแดนของตนได้ ถือว่าชนะ ตามปรกติจะแข่งกัน ๓ ครั้ง ฝ่ายที่ชนะ ๒ ใน ๓ ครั้งถือว่าชนะเด็ดขาด.
ชาย ๒น. ส่วนริมหรือปลายของสิ่งของบางอย่าง เช่น ชายผ้า ชายจีวร, ส่วนที่สุดเขต, ริม, เช่น ชายป่า ชายแดน ชายทะเล.
ด่านทางผ่าน เช่น ด่านช้าง, ทางผ่านพรมแดนระหว่างประเทศ เช่น ด่านเจดีย์สามองค์ ด่านสิงขร.
ด้าวน. แดน เช่น ปางเสด็จประเวศด้าว ชลาลัย (กาพย์เห่เรือ), ประเทศ เช่น คนต่างด้าว
ตรลบ(ตฺระหฺลบ) ก. ตลบ, เขียนเป็น ตรหลบ หรือ ตระหลบ ก็มี เช่น สองก้ำกึ่งกันทานทบ แผลงศรตรหลบ ตรเลิดพันลึกนิดินบน (อนิรุทธ์), ไพร่พลเมืองนาวนาว นฤนาท แตรตระหลบก้องหล้า ส่งสยง (ยวนพ่าย), เถิดฤๅจะรื้อรบ ตระหลบวิ่งเข้าชิงแดน ฟันเสียให้นับแสน ให้เศียรขาดลงดาดดิน (พากย์นางลอย).
ตะลุยก. เคลื่อนที่เข้าตีหรือบุกดะเข้าไปโดยไม่หยุด เช่น กองทัพตะลุยแดนข้าศึก, ทำอย่างเร่งรีบเพื่อให้ได้มากที่สุด เช่น ตะลุยทำงานให้เสร็จ
ตะวันออกใกล้น. กลุ่มประเทศในคาบสมุทรบอลข่านของทวีปยุโรปและในภูมิภาคตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ได้แก่ กรีซ เซอร์เบีย มอนเตเนโกร โรมาเนีย แอลเบเนีย ตุรกี เลบานอน ซีเรีย อิสราเอล จอร์แดน ซาอุดีอาระเบีย และประเทศอื่น ๆ ในคาบสมุทรอาหรับ บางทีก็หมายรวมถึงอียิปต์และซูดานด้วย.
ตาด ๔น. ชื่อมองโกลเผ่าหนึ่งที่ชอบรบราฆ่าฟันและอพยพเร่ร่อนอยู่เสมอ บางทีก็เรียกว่า ตาดมองโกล, ชื่อภาษาของพวกตาด ใช้พูดกันในดินแดนตั้งแต่ทิวเขาอูราลทางตะวันตกไปจนถึงทิวเขาอัลไตทางตะวันออก.
ถลำ(ถะหฺลำ) ก. ล่วงเข้าไปหรือลงไปโดยพลั้งพลาด เช่น ถลำเข้าไปในแดนข้าศึก ถลำลงคู.
ถิ่นน. ที่, แดน, ที่อยู่, เช่น ถิ่นเสือ ถิ่นผู้ร้าย ถิ่นไทยงาม.
ถีบด่านก. ลาดตระเวนช่องทางเข้าออกที่ชายแดน.
ทรหึงทรหวล(ทอระหึงทอระหวน) ว. เสียงดังปั่นป่วน เช่น พอวายวรวาคยอ้าง โอษฐ์พระ ดานมหาวาตะตื่นฟ้า ทรหึงทรหวลพะ พานพัด หาวแฮ หอบธุมางจางจ้า จรัดด้าวแดนสมร (ตะเลงพ่าย).
ท้างว. ทั้ง, ทั่ว, ตลอด, เช่น อันว่าแผ่นดินกว้างท้างทุกแดน อนนหนาได้หยิบแสนสี่หมื่นโยชนประมาณ (ม. คำหลวง กุมาร).
เทศาภิบาลการปกครองหัวเมืองที่จัดเป็นมณฑล โดยโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ทำหน้าที่ปกครองในแต่ละมณฑล เรียกว่า ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑล เว้นแต่มณฑลชายแดนบางมณฑล เรียกว่า ข้าหลวงต่างพระองค์สำเร็จราชการมณฑล ภายหลังเรียกว่า สมุหเทศาภิบาลมณฑล หรือสมุหเทศาภิบาล.
ไทย ๑(ไท) น. ชื่อประเทศที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับลาว เขมร มาเลเซีย และพม่า
ธรรมเกษตรน. แดนธรรม
ธรรมจักรแดนธรรม
ธรรมายตนะ(ทำมายะตะนะ) น. แดนที่ต่อคือธรรมารมณ์, แดนที่ต่อกับใจ ได้แก่อารมณ์ที่ใจรู้ หรือเรื่องที่ใจรู้.
นรก(นะ-) น. แดนหรือภูมิที่เชื่อกันว่าผู้ทำบาปจะต้องไปเกิดและถูกลงโทษ, โดยปริยายหมายถึงแดนที่มีแต่ความทุกข์ทรมาน.
นิยต, นิยต-(-ยด, -ยะตะ-) ก. กำหนด เช่น พระพเนจรจรหลํ่า ได้หลายคํ่าหลายวัน ถึงแดนอันจะนิยต (ลอ).
บ้านนอกน. เขตแดนที่พ้นจากเมืองหลวงออกไป, เขตที่อยู่นอกตัวเมือง, คนที่เป็นชาวไร่ชาวนาอยู่นอกกรุงหรือเมืองหลวง, บ้านนอกขอกนา หรือ บ้านนอกคอกนา ก็ว่า.
บูรณภาพน. ความครบถ้วนบริบูรณ์ เช่น บูรณภาพแห่งดินแดน บูรณภาพแห่งอาณาเขต.
ประโคน ๑น. เรียกเสาใหญ่ที่ปักหมายเขตแดนระหว่างประเทศหรือเมืองเป็นต้น ว่า เสาประโคน.
ประเทศกันชนน. ประเทศหรือรัฐที่กั้นอยู่ระหว่างดินแดนของ ๒ ประเทศ เพื่อมิให้พิพาทกันในเรื่องดินแดนและผลประโยชน์, รัฐกันชน ก็เรียก.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
laissez-passer (Fr.)๑. ปล่อยให้ผ่านไป (นโยบายเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม)๒. หนังสือผ่านแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
right of discoveryสิทธิเหนือดินแดนที่ค้นพบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
rule relating to territorial extentกฎว่าด้วยขอบเขตแห่งดินแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
requisition๑. การเกณฑ์๒. การขอ, คำขอเบิก (สิ่งที่ต้องการ)๓. การขอให้ส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
requisition๑. การเรียกเกณฑ์๒. การขอ, คำขอเบิก, หนังสือร้องขอ๓. การขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดน, การขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามมลรัฐ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
self-governing territoryดินแดนที่ปกครองตนเอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
self-governing territoryดินแดนที่ปกครองตนเอง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
orogenic beltแดนเทือกเขา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
Arcadiaแดนอาร์เคเดีย [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
annexationการผนวกดินแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
annexation๑. การผนวก๒. การผนวกดินแดน (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
acquisitionการได้มาซึ่งดินแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Anschluss (G.)การผนวกดินแดนโดยใช้อำนาจ, การรวมดินแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Jordan normal formรูปแบบปรกติจอร์แดน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
justice, fugitive fromผู้หลบหนีคดีอาญาข้ามแดน, ผู้ร้ายข้ามแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
jus soli (L.)หลักกฎหมายสัญชาติโดยดินแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
jus soli (L.)กฎหมายที่กำหนดสัญชาติตามดินแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Jordan curveเส้นโค้งจอร์แดน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
Jordan eliminationการกำจัดแบบจอร์แดน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
border trafficการเดินทางข้ามเขตแดน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
birth, citizenship byการได้สัญชาติโดยการเกิดในดินแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
boundary line๑. เส้นพรมแดน (ก. ระหว่างประเทศ)๒. เส้นแบ่งเขต (ก. ที่ดิน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
boundaryแนวพรมแดน, แนวแบ่งเขต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
condominium๑. อำนาจปกครองดินแดนร่วมกัน (ของหลายรัฐ)๒. ดินแดนใต้การปกครองร่วม๓. กรรมสิทธิ์ร่วมในอาคารชุด๔. อาคารชุด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
condominium๑. อำนาจปกครองดินแดนร่วมกัน (ของหลายรัฐ) (ก. ระหว่างประเทศ)๒. กรรมสิทธิ์ร่วมในอาคารชุด (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
citizenship by birthการได้สัญชาติโดยการเกิดในดินแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
conquestการพิชิตดินแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
conquestการพิชิตดินแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
delimitation๑. การกำหนดเขต, การปักปันเขตแดน (ก. ระหว่างประเทศ)๒. การกำหนดขอบเขตอำนาจ (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
domain๑. กรรมสิทธิ์เหนือที่ดิน, ที่ดินในกรรมสิทธิ์ (ก. แพ่ง)๒. แดนแห่งอำนาจ (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
dominion๑. กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ (ก. แพ่ง)๒. การมีอธิปไตยเหนือ (ดินแดนประเทศอื่น) (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
dependent territoryดินแดนในภาวะพึ่งพิง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
danburiteแดนบูไรต์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
discovery, right ofสิทธิเหนือดินแดนที่ค้นพบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
frontierแนวพรมแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
frontierเขตแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
fugitive from justiceผู้หลบหนีคดีอาญาข้ามแดน, ผู้ร้ายข้ามแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
freedom of movement for workersเสรีภาพของคนทำงานที่จะเข้าไปทำงาน [ ในดินแดนของประเทศสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
enclaveดินแดนแทรก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
extraditionการส่งผู้ร้ายข้ามแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
extraditionการส่งผู้ร้ายข้ามแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
exclaveดินแดนส่วนแยก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
extentขอบเขต, แดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
extent of ownershipแดนแห่งกรรมสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
integrity, territorialบูรณภาพแห่งดินแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
irredentismอุดมการณ์เรียกร้องดินแดนของชนชาติเดียวกัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
international transitการผ่านแดนระหว่างประเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
zonula; zonuleแดนเล็ก, เขตเล็ก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
zonule; zonulaแดนเล็ก, เขตเล็ก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
zona๑. แดน, เขต, เขตวงรอบ [ มีความหมายเหมือนกับ zone ]๒. โรคงูสวัด [ มีความหมายเหมือนกับ herpes zoster ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Duty free transitการส่งผ่านแดนโดยปลอดภาษี [เศรษฐศาสตร์]
Tax havenดินแดนปลอดภาษี [เศรษฐศาสตร์]
กะเหรี่ยงชื่อชนชาวเขาเผ่าหนึ่ง ปกติอาศัยอยู่ทางพรมแดนทิศตะวันตกของประเทศไทย, Example: คำที่มักเขียนผิด กระเหรี่ยง [คำที่มักเขียนผิด]
Basel Conventionอนุสัญญาบาเซล, อนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดน, Example: อนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดน( Basel Convention On the Control of Transboundary Movements of Hazardous Wastes and their Disposal) เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศ ซึ่งกำหนดข้อตกลงระหว่างประเทศในการควบคุมการนำเข้า การส่งออก และการนำผ่านของเสียอันตรายข้ามแดนให้มีความปลอดภัย และไม่เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย และสิ่งแวดล้อมจึงเป็นอนุสัญญาที่ช่วยให้มีการควบคุมการขนส่งเคลื่อนย้าย และการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดนอย่างถูกต้อง และปลอดภัย ประเทศไทยได้มีการลงนามให้สัตยาบันเป็นภาคีอนุสัญญาดังกล่าวแล้ว โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2541 ทั้งนี้ กรมโรงงานอุตสาหกรรม รับผิดชอบปฏิบัติงานในฐานะหน่วยงานผู้มีอำนาจ (Competent Authority) และกรมควบคุมมลพิษปฏิบัติงานในฐานะศูนย์ประสานงาน (Focal Point) นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานอื่นๆ รับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้อง [สิ่งแวดล้อม]
Border patrolsตำรวจตระเวนชายแดน [TU Subject Heading]
Border securityความมั่นคงชายแดน [TU Subject Heading]
Border stationsด่านตรวจชายแดน [TU Subject Heading]
Borderlandsพื้นที่ชายแดน [TU Subject Heading]
Boundariesเขตแดน [TU Subject Heading]
Boundary disputesข้อพิพาทเขตแดน [TU Subject Heading]
Chlordanคลอแดน [TU Subject Heading]
Exotic animalsสัตว์ต่างแดน [TU Subject Heading]
Extraditionการส่งผู้ร้ายข้ามแดน [TU Subject Heading]
Jordanจอร์แดน [TU Subject Heading]
Murdanniaเมอร์แดนเนีย [TU Subject Heading]
Ports of entryท่าผ่านแดน [TU Subject Heading]
Tax havensแดนกำบังภาษี [TU Subject Heading]
Territorial questionsปัญหาเขตแดน [TU Subject Heading]
Transboundary pollutionมลพิษข้ามแดน [TU Subject Heading]
Transit, Internationalการขนส่งผ่านเขตแดน [TU Subject Heading]
ASEAN Transport Ministers Meetingการประชุมรัฐมนตรีขนส่งอาเซียน " จัดขึ้นปีละครั้ง เพื่อหารือและกำหนดแนวทางความร่วมมือด้านการ ขนส่งในอาเซียน อาทิ เส้นทาง ประเภท/ขนาดรถยนต์ การประกันภัยรถยนต์ ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ การตรวจทางศุลกากร การขนส่งสินค้าผ่านแดน การขนส่งสินค้าข้ามแดน และการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงอาเซียน" [การทูต]
alternative perimeterแนวเขตที่เสนอเป็นทางเลือกในการเจรจาเขตแดนระหว่างประเทศ [การทูต]
Congress of Viennaเป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต]
continental shelfไหล่ทวีป ไหล่ทวีปของรัฐชายฝั่งประกอบด้วย พื้นดินท้องทะเลและดินใต้ผิวดินของบริเวณใต้ทะเล ซึ่งขยายเลยทะเลอาณาเขตของรัฐตลอดส่วนต่อออกไปตามธรรมชาติของดินแดนทางบกของ ตนจนถึงริมนอกของขอบทวีป หรือจนถึงระยะ 200 ไมล์ทะเลจากเส้นฐานซึ่งใช้วัดความกว้างของทะเลอาณาเขตในกรณีที่ริมนอกของ ขอบทวีปขยายไปไม่ถึงระยะนั้น [การทูต]
CSIเป็นโครงการที่ริเริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2545 โดยสำนักศุลกากรและป้องกันชายแดนสหรัฐอเมริกา ( US Bureau of Customs and Border Protection )ภายใต้กระทรวง Department of Homeland Security มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้แก่สินค้าที่ขนส่งเข้าไปยังสหรัฐ อเมริกา ด้วยการติดตั้งระบบติดตามตู้บรรทุกสินค้าที่มีความเสี่ยงต่อการก่อการร้าย และมีระบบตรวจสอบตู้บรรทุกสินค้าก่อนออกจากประเทศต้นทางไปสู่สหรัฐอเมริกา [การทูต]
delimitationการกำหนดเขตแดน (ทางบก) / การแบ่งเขตแดน (ทางทะเล) การกำหนด หรือการอธิบาย หรือการจำกัดความขอบเขตของดินแดนของประเทศ [การทูต]
demarcationการปักปันเขตแดน " การทำเครื่องหมายแสดงเส้นเขตแดนลงในภูมิประเทศโดยวิธีทาง กายภาพ " [การทูต]
Diplomatic Privilege of Accommodationมาตรา 21 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตบัญญัติไว้ว่า ?1. รัฐผู้ต้อนรับจะต้องอำนวยความสะดวกตามบทกฎหมายของประเทศของตน ในการจัดการให้ได้มาซึ่งดินแดนของตนให้แก่รัฐผู้ส่ง ซึ่งจำเป็นแก่การปฏิบัติภาระหน้าที่ของรัฐนั้น หรือช่วยเหลือให้รัฐผู้ส่งได้รับอาคารที่พำนักด้วยวิธีการหนึ่งใด 2. ในกรณีจำเป็น รัฐผู้รับจะต้องช่วยให้คณะเจ้าหน้าที่ทางการทูต ได้มีสถานที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม?เมื่อตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่ง ตั้งได้เดินทางไปถึงประเทศที่เขาจะเข้าดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ณ ที่นั้นมีคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลของเขาประจำทำงานอยู่แล้ว ตามปกติตัวแทนทูตดังกล่าวจะมีสำนักงานทางการทูตตั้งอยู่แล้วในสถานที่เหมาะ สม มีอุปกรณ์เครื่องใช้ไม้สอยสำหรับการปฏิบัติงานโดยครบครัน และผู้ที่ดำรงตำแหน่งก่อนหน้าเขาหรืออุปทูตชั่วคราวมักจะเตรียมการไว้ก่อน แล้วเกี่ยวกับที่พักอาศัย เรียกว่าทำเนียบ นอกจากว่าจะมีทำเนียบตั้งอยู่ภายในบริเวณตึกสถานเอกอัครราชทูตซึ่งรัฐบาลของ เขาเป็นเจ้าของเองแต่ถ้าหากตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ จะต้องตั้งคณะผู้แทนทางการทูตในประเทศที่เขาเข้าดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรก ก็จะต้องประสบกับปัญหาเรื่องหาสถานที่สำหรับใช้เป็นที่ตั้งสถานเอกอัคร ราชทูตขึ้น ในกรณีเช่นนี้จึงจำเป็นจะต้องอาศัยคำแนะนำและความช่วยเหลือจากกระทรวงการ ต่างประเทศของรัฐผู้รับ กระทรวงการต่างประเทศของบางประเทศจะมีแผนกหนึ่งทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกแก่คณะทูตต่างประเทศโดยเฉพาะ เป็นแผนกหนึ่งในกรมพิธีการทูต ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องทำนองนี้อยู่แล้ว [การทูต]
disguised extraditionการส่งผู้ร้ายข้ามแดนแฝง (หรือการผลักดันออกนอกประเทศ) [การทูต]
double criminalityความผิดตามกฎหมายของทั้ง 2 ประเทศ ใช้ในกรณีส่งผู้ร้ายข้ามแดน [การทูต]
Extraditionการส่งผู้ร้ายข้ามแดน การที่ชาติหนึ่งยอมส่งคนในชาติของตนให้แก่อีกชาติหนึ่ง คือคนในชาติที่ถูกกล่าวหา หรือต้องโทษฐานกระทำความผิดภายนอกเขตแดนของตน และเป็นความผิดที่กระทำขึ้นในเขตอำนาจของอีกชาติหนึ่ง ซึ่งมีความสามารถที่จะตัดสินคดี รวมทั้งลงโทษบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้นข้ออ้างว่า ในกรณีที่ชนชาติหนึ่งซึ่งถูกกล่าวหาว่าประกอบอาชญากรรมแล้วหลบหนีไปยังต่าง ประเทศนั้น รัฐของผู้ที่ประกอบอาชญากรรมมีสิทธิที่จะขอให้ต่างประเทศนั้นส่งตัวผู้กระทำ ผิดกลับคืนมา เพื่อส่งตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาลงโทษได้ แต่หลายคนยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ในข้อนี้ มีไม่น้อยที่สนับสนุนหลักการที่ว่า กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองหน้าที่ที่จะต้องส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ นอกจากสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่มีต่อกันแล้ว กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองสิทธิที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กัน อย่างไรก็ดี ตามสนธิสัญญาที่มีต่อกัน ผู้ร้ายที่หนีความยุติธรรมจะถูกส่งไปให้อีกประเทศหนึ่งตามสนธิสัญญานั้น จักกระทำโดยวิถีทางการทูต ส่วนผู้หลบหนีเจ้าหน้าที่เพราะเหตุผลทางการเมือง จะส่งข้ามแดนอย่างผู้ร้ายไม่ได้ และเมื่อหลบหนีไปยังอีกประเทศหนึ่งได้สำเร็จ ประเทศนั้นๆ มักจะให้อาศัยพักพิงในประเทศของตนเป็นในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง [การทูต]
extraditionการส่งผู้ร้ายข้ามแดน โดยมีสนธิสัญญาหรือความตกลงระหว่างประเทศรองรับ [การทูต]
extraditable offenceความผิดที่ส่งผู้ร้ายข้ามแดนได้ [การทูต]
Freedom of Movement of Diplomatic Agentsเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายและการเดินทางของผู้แทน ทางการทูต โดยปกติ รัฐผู้รับย่อมอนุญาตโดยเสรีแก่ผู้แทนทางการทูต ที่จะเคลื่อนย้ายและเดินทางไปไหนมาไหนได้ทั่วประเทศ แต่ระหว่างสงครามเย็นที่ผ่านมา ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการทูตของกลุ่ม ประเทศคอมมิวนิสต์บางแห่ง ได้แก่ สหภาพโซเวียต บัลแกเรีย เชคโกสโลวาเกีย ฮังการี รูเมเนีย และโปแลนด์ นัยว่าสหรัฐฯ ได้กำหนดเขตแขวงในดินแดนของตน 355 แห่ง หรือประมาณร้อยละ 11 ของพื้นที่ทั้งหมด เป็นเขตห้ามเข้าสำหรับผู้แทนทางการทูตของประเทศเหล่านั้นในทำนองเดียวกัน กลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ดังกล่าวก็ได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการ ทูตของสหรัฐฯ เช่นกัน สำหรับเสรีภาพการเคลื่อนย้ายนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในข้อ 26 ว่า?ภายในบังคับของกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐผู้รับเกี่ยวกับการเข้าไปในเขตหวงห้ามหรือวางระเบียบไว้ โดยเหตุผลของความมั่นคงแห่งชาติ ให้รัฐผู้รับประกันแก่สมาชิกทั้งมวลของคณะเกี่ยวกับเสรีภาพในการเคลื่อนไหว และการเดินทางในอาณาเขตของตน? [การทูต]
General Border Committeeคณะกรรมการชายแดนทั่วไป เป็นกลไกความร่วมมือด้านความมั่นคง ชายแดน ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและประเทศเพื่อนบ้านเป็นประธานร่วม กัน ทำหน้าที่กกำหนดแนวทางและมาตรการที่เหมาะสมเกี่ยวกับการส่งเสริมความร่วมมือ รักษาความสงบเรียบร้อยและเสถียรภาพในพื้นที่บริเวณชายแดน ซึ่งกลไกนี้ไทยมีกับประเทศเพื่อนบ้านที่มีพรมแดนติดต่อกันทั้ง 4 ประเทศ [การทูต]
Geneva Conference on the Problem of Restoring Peace in Indo-Chinaการประชุม ณ นครเจนีวา ว่าด้วยปัญหาการนำสันติภาพกลับคืนสู่อินโดจีน ในการประชุมนี้ มีการทำความตกลงกันเกี่ยวกับการหยุดสู้รบระหว่างกำลังทหารในประเทศเวียดนาม กัมพูชา และลาว กับกำลังทหารฝรั่งเศส ความตกลงดังกล่าวได้กระทำกันในนครเจนีวา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 มีผู้แทนจากประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ฝรั่งเศส ลาว สาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมการประชุมตามข้อตกลงนี้ให้มีการยุติการสู้รบในกัมพูชา ลาว และเวียดนาม และการปฏิบัติให้เป็นไปตามบทบัญญัติในความตกลงดังกล่าว ให้อยู่ใต้ความควบคุมและดูแลระหว่างประเทศ ที่ประชุมเจนีวาได้แสดงความมั่นใจว่า ในการปฏิบัติตามข้อตกลงจะปล่อยให้กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ได้แสดงบทบาทภายใต้ความเป็นเอกราชและอำนาจอธิปไตยของตนอย่างสมบูรณ์ภายใน ประชาคมนานาชาติ สำหรับความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามใด้ห้ามมิให้นำกองทหารและเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหารของต่างชาติ รวมทั้งอาวุธและอุปกรณ์ทางทหารทุกชนิดเข้าไปในประเทศนั้น ที่ประชุมยังได้รับรองว่า วัตถุประสงค์สำคัญยิ่งของความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามคือ ต้องการระงับปัญหาต่าง ๆ ทางทหาร เพื่อยุติการสู้รบ และการปักปันเส้นเขตแดนทางทหารนั้น ให้ถือเป็นการชั่วคราว มิได้หมายความว่าเป็นแนวแบ่งเขตทางการเมืองหรือทางดินแดนแต่ประการใดทั้งสิ้น [การทูต]
Genocideการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หรือฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1946 สมัชชาสหประชาชาติได้ยืนยันเป็นเอกฉันท์ว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์หรือการฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อนนั้นให้ถือเป็นอาชญากรรม ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งโลกที่บรรลุความเจริญแล้วประณามอย่างรุนแรงอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษอาชญากรรมเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นี้ สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติรับรองเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญานี้ได้นิยามคำว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) หมายถึงการประกอบอาชญากรรมบางอย่าง โดยมีเจตนาที่จะทำลายล้างกลุ่มชนชาติ กลุ่มเผ่าพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ หรือกลุ่มศาสนา ในบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม การประกอบกรรมซึ่งถือเป็นการฆ่าล้างชาตินั้นได้แก่ การฆ่า การทำให้เกิดความเสียหายอย่างสาหัส ทั้งต่อร่างกายหรือจิตใจ และการบังคับให้มีสภาวะการครองชีพที่เจตนาจะให้ชีวิตร่ายกายถูกทำลาย ไม่ว่าจะเพียงส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดก็ตาม ตลอดจนออกมาตรการกีดกันมิให้มีลูกและโยกย้ายเด็ก ๆ ไม่เพียงแต่การฆ่าล้างชาติอย่างเดียว หากแต่การคบคิดหรือการยุยงให้มีการฆ่าล้างชาติ รวมทั้งความพยายามที่จะฆ่าล้างชาติและสมรู้ร่วมคิดในอาชญากรรมดังกล่าว ย่อมถูกลงโทษได้ตามนัยแห่งอนุสัญญานี้ บรรดาผู้ที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกลงโทษไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นผู้ ปกครอง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง หรือเอกชนส่วนบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดของตามกฎหมายก็ตามบรรดาประเทศที่ภาคี อนุสัญญานี้จำเป็นต้องออกกฎหมายของตนเพื่อรองรับ และจะต้องตกลงเรื่องส่งผู้ร้ายข้ามแดนในกรณีที่บุคคลนั้นๆ มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติ และบุคคลที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกพิจารณาลงโทษในประเทศที่มีการ ประกอบอาชญากรรมดังกล่าวขึ้น หรือโดยศาลระหว่างประเทศที่มีอำนาจครอบคลุมถึงเจตนารมณ์ของสนธิสัญญานี้ เพื่อต้องการป้องกัน และลงโทษอาชญากรรมฆ่าล้างชาติ ไม่ว่าจะประกอบขึ้นในยามสงครามหรือในยามสงบก็ตามอนุสัญญาดังกล่าวได้เริ่มมี ผลบังคับเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นเวลา 90 วันหลังจากที่ 20 ประเทศได้ให้สัตยาบัน หรือให้ภาคยานุวัติตามที่ระบุอยู่ในอนุสัญญา อนุสัญญานี้จะมีผลบังคับเป็นเวลา 10 ปี และมีการต่ออายุสัญญาทุก 5 ปี สำหรับประเทศที่มิได้บอกเลิกสัญญา หากประเทศที่ยังเป็นภาคีอนุสัญญามีจำนวนเหลือไม่ถึง 16 ประเทศ อนุสัญญานี้จะเลิกมีผลบังคับทันที [การทูต]
goods in transitสินค้าที่ส่งผ่านแดน หมายถึง สินค้าที่มีการส่งจากรัฐหนึ่งผ่านรัฐหนึ่งรัฐใด หรือหลายรัฐไปยังอีกรัฐหนึ่ง โดยมีการขนถ่ายสินค้าที่ต้นทางและปลายทางเท่านั้น ซึ่งเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของความร่วมมือด้านการขนส่งของอาเซียน [การทูต]
Gorbachev doctrineนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต]
Government in Exileรัฐบาลพลัดถิ่น คือระหว่างที่สงครามยังดำเนินอยู่ ประเทศคู่สงครามหนึ่งอาจถูกกองทัพของประเทศฝ่ายศัตรูเข้ายึดครอง ในสถานการณ์เช่นนั้น ตัวหัวหน้าของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีของประเทศที่ถูกยึดครองอำนาจอาจไปตั้ง รรัฐบาลขึ้นชั่วคราวในดินแดนของประเทศพันธมิตรหนึ่ง ซึ่งยินยอมให้ทำเช่นนั้น รัฐบาลที่ตั้งขึ้นเป็นการชั่วคราวดังกล่าวเรียกว่า รัฐบาลพลัดถิ่น ตราบใดที่รัฐบาลพลัดถิ่นได้รับการรับรองฐานะเป็นตัวแทนของประเทศตน ย่อมดำเนินกิจการหน้าที่ของประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเทศอื่นๆ ได้ รัฐบาลพลัดถิ่นจะยังคงสถานภาพของตนไว้ตราบเท่าที่ยังไม่มีความพยายามต่อไป ที่จะยึดเอาดินแดนของตนที่ข้าศึกครองอยู่กลับคืนมาให้ได้ ตัวอย่างของรัฐบาลพลัดถิ่นที่เคยมีมาแล้วคือ รัฐบาลของประเทศโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ กรีซ และยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ไปตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ เมื่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตอนที่ดินแดนของประเทศเหล่านี้ได้ถูกกองทัพของเยอรมนีเข้ายึดครอง [การทูต]
Indigent Nationalsคนในชาติที่ต้องประสบความยากจนข้นแค้นในต่างแดน ในเรื่องนี้ มีหลายประเทศได้อนุญาตให้ผู้แทนทางการทูตและทางกงสุลของตนอำนวยความช่วย เหลือเท่าที่จำเป็นแก่คนชาติของตนที่ประสบความยากจนข้นแค้นในต่างประเทศรวม ทั้งค่าส่งตัวกลับประเทศด้วย มีหลายรายที่กำหนดให้คนชาติที่ต้องทุกข์นั้น แจ้งถึงสาเหตุที่ต้องประสบความยากจนข้นแค้น และสัญญาว่าเงินที่ได้รับนี้จะต้องชดใช้คืนภายหลัง ตามปกติ ผู้แทนทางการทูตหรือกงสุลจะต้องปรึกษากับกระทรวงการต่างประเทศของตน ก่อนที่จะนำเงินให้คนชาติของตนกู้ยืมหรือไปรับรองบุคคลเหล่านั้น หรือไปรับผิดชอบทางการเงินใดๆ [การทูต]
International Civil Aviation Organizationเรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ [การทูต]
Joint Commissionคณะกรรมาธิการร่วม " เป็นกลไกความร่วมมือในระดับทวิภาคีระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก JC มีบทบาทในการดูแลและส่งเสริมความสัมพันธ์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการเมือง เศรษฐกิจ การค้า การลงทุน วัฒนธรรม และสังคม โดยแต่ละฝ่ายจะสลับกันเป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุม ซึ่งอาจมีขึ้นปีละครั้งหรือ 2-3 ปีต่อครั้ง ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและความสะดวกของทั้งสองฝ่าย JC อาจมีกลไกย่อยหรือคณะกรรมการภายใต้ JC เพื่อกำกับดูแลเฉพาะเรื่องหรือมีคณะกรรมการในระดับส่วน ภูมิภาค เช่น ไทยกับมาเลเซียมีคณะกรรมการชายแดนทั่วไป (General Border Committee - GBC) มีบทบาทในการดูแลความร่วมมือด้านการทหารและความมั่นคงบริเวณชายแดน และมีคณะกรรมการจัดทำหลักเขตแดนทางบก (Land Boundary Committee - LBC) เพื่อดูแลการจัดทำหลักเขตแดนระหว่างประเทศทั้งสอง นอกจากนั้น ยังมีคณะกรรมการร่วมทางการค้า (Joint Trade Committee - JTC) ระหว่างไทยกับบางประเทศ เป็นกลไกเพื่อส่งเสริมการค้าและขจัดอุปสรรคทางการค้าระหว่างกัน " [การทูต]
Joint Development Areaพื้นที่พัฒนาร่วม " หมายถึง พื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยกับมาเลเซีย อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการแก้ไขปัญหาเขตแดนทางทะเลระหว่างทั้งสองประเทศ ทั้งนี้ ทั้งสองฝ่ายได้ตกลงที่จะแปรปัญหาเขตทับซ้อนในไหล่ทวีป ซึ่งมีพื้นที่ 7,250 ตารางกิโลเมตร ให้เป็นพื้นที่พัฒนาร่วม โดยการแสวงหาและนำเอาทรัพยากรปิโตรเลียมในพื้นที่ดังกล่าวมาใช้และแบ่งปันผล ประโยชน์ บนพื้นฐานของความเท่าเทียมกันในลักษณะ 50 : 50 ซึ่งนับว่าเป็น ตัวอย่างที่ดีในการแก้ไขกรณีพิพาทเกี่ยวกับเขตทับซ้อนทางทะเลสำหรับประเทศ อื่น ๆ " [การทูต]
Thailand-Malaysia Committee on Joint Development Strategy for border areasคณะกรรมการว่าด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาร่วมสำหรับ พื้นที่ ชายแดนไทย-มาเลเซีย [การทูต]
jus soli (ภาษาลาติน)กฎหมายที่กำหนดสัญชาติตามหลักดินแดน [การทูต]
Marshall Planแผนการมาร์แชล ในโอกาสวันประสาทปริญญาของนักศึกษามหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ดในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ยอร์ช ซี.มาร์แชล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ สมัยนั้น ได้กล่าวอยู่ตอนหนึ่งในสุนทรพจน์ว่า?สหรัฐอเมริกาควรจะทำทุกอย่างเท่าที่จะ สามารถกระทำได้ เพื่อช่วยให้ดินแดนต่าง ๆ ในโลกได้กลับคืนสู่ภาวะปกติทางเศรษฐกิจ เพราะหากปราศจากภาวะดังกล่าว โลกก็จะไม่มีเสถียรภาพที่สถาพร นโยบายของสหรัฐฯ มิได้มุ่งจะเป็นปฏิปักษ์ต่อประเทศใดหรือลัทธิใด หากมุ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อความหิวโหย ความยากจน ความสิ้นหวัง และความยุ่งเหยิง การที่จะให้สหรัฐอเมริการับภาระในการจัดวางโครงการแต่ฝ่ายเดียว เพื่อช่วยให้ทวีปยุโรปสามารถช่วยตนเองทางเศรษฐกิจขึ้นใหม่ นับว่ายังไม่เหมาะสมและถูกต้องนัก ควรจะให้เป็นภาระหน้าที่ของชนชาวยุโรปทั้งหลายเอง บทบาทของสหรัฐฯ ควรจะเป็นเพียงผู้เสนอให้ความความช่วยเหลือฉันมิตร ในการร่างโครงการช่วยเหลือทวีปยุโรป และให้ความสนับสนุนแก่โครงการนั้น ตราบที่โอกาสจะเอื้ออำนวยต่อการกระทำเช่นนั้นได้?จากสุนทรพจน์ข้างต้น พอจะเข้าใจจุดประสงค์สำคัญของสหรัฐอเมริกาได้ไม่ยากว่า ไม่ต้องการให้ทวีปยุโรป ซึ่งกำลังอ่อนแอโดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจหลังจากเสร็จสงครามใหม่ ๆ ต้องตกไปอยู่ใต้อำนาจครอบงำของฝ่ายคอมมิวนิสต์นั่นเอง [การทูต]
Neutralization, Neutrality หรือ Neutralismคำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต]
PAPalestinian Authority หรือ Palestinian National Authority (PNA) เป็นองค์การบริหารดินแดนยึดครอง (Occupied Territories) ในเขต Gazza และเขต West Bank ได้รับการจัดตั้งเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ.2537 ซึ่งเป็นผลจากความตกลงออสโล (Oslo Accords) ระหว่างอิสราเอลกับ Palestinian Liberation Organization (PLO) เพื่อเป็นองค์กรบริหารดินแดนยึดครองก่อนที่การเจรจา Final Statua จะประสบความสำเร็จ [การทูต]
Pacific Charterคือกฎบัตรแปซิฟิค ซึ่งประกาศ ณ กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ในโอกาสที่มีการตกลงกันทำสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia Defense Treaty-SEATO ) ประเทศที่ลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญา คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาสาระสำคัญในสนธิสัญญาดังกล่าว หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า SEATO (ซีโต้) นั้นคือ ทุกประเทศภาคีจะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้พลเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมาตรฐานการครอง ชีพสูงขึ้น มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมีสวัสดิภาพสังคมที่ดี แต่จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคามสนธิสัญญาคือ บรรดาประเทศภาคีตกลงที่จะป้องกันหรือตอบโต้ความพยายามใด ๆ ที่จะล้มล้างเสรีภาพที่มีอยู่ในเขตสนธิสัญญา หรือทำลายอธิปไตยหรือบูรณภาพแห่งเขตแดนของประเทศภาคี พูดอย่างสั้น ๆ ก็คือฝ่ายโลกเสรีอันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ต้องการกีดกันมิให้ประเทศฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไปมีอำนาจครอบงำดินแดนเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างสงครามเย็น (Cold War ) โดยวิธีรุกรานหรือวิธีอื่นใดก็ตาม [การทูต]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
อำเภอชายแดน[amphoē chāidaēn] (n, exp) FR: ville frontalière [ f ]
ชายแดน[chāidaēn] (n) EN: border ; frontier ; boundary ; borderland  FR: frontière [ f ]
แดน[daēn] (n) EN: country ; land ; territory  FR: pays [ m ] ; contrée [ f ] ; territoire [ m ]
แดนลับแล[daēn laplaē] (x) EN: legendary town which can be found by chance
แดนนรก[daēn narok] (n, exp) EN: hell
แดนประหาร[daēn prahān] (n, exp) EN: gallows
แดนสุขาวดี[daēn sukhāwadī] (n, exp) EN: paradise
แดนธรรม[daēn tham] (n, exp) EN: land of justice
แดนไตร[daēntrai] (n) EN: three boundaries of the three worlds
ดินแดน[dindaēn] (n) EN: territory ; country ; land  FR: territoire [ m ] ; pays [ m ]
ดินแดนโพ้นทะเล[dindaēn phōnthalē] (n, exp) FR: territoire d'outre-mer (TOM) [ m ]
จังหวัดชายแดน[jangwat chāidaēn] (n, exp) EN: border province  FR: province frontalière [ f ]
จอร์แดน[Jødaēn] (n, prop) EN: Kingdom of Jordan ; Jordan  FR: Jordanie [ f ]
จุดผ่านแดน[jut phān daēn] (n, exp) EN: border crossing
การได้ดินแดน[kān dāi dindaēn] (n, exp) EN: acquisition
การส่งผู้ร้ายข้ามแดน[kān song phūrāi khām daēn] (n, exp) EN: extradition  FR: extradition [ f ]
ข้ามแดน[khām daēn] (v, exp) EN: cross the frontier  FR: passer la frontière ; traverser la frontière
ขโมยข้ามพรมแดน[khamōi khām phromdaēn] (xp) EN: cross the border illegally  FR: franchir la frontière illégalement
ข้ามพรมแดน[khām phromdaēn] (adj) EN: crossing borders
คำร้องขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดน[khamrøngkhø hai song phūrāi khām daēn] (n, exp) EN: extradition request
เขตแดน[khētdaēn] (n) EN: frontier ; border ; boundary  FR: frontière [ f ]
เขตแดนประเทศ[khētdaēn prathēt] (n, exp) FR: limites territoriales [ f ]
เขตพรมแดน[khēt phromdaēn] (n, exp) EN: borderland ; frontier  FR: zone frontalière [ f ]
คนต่างแดน[khon tāngdaēn] (n, exp) EN: foreigner  FR: étranger [ m ] ; étrangère [ f ]
ข้อตกลงส่งผู้ร้ายข้ามแดน[khøtoklong song phūrāi khām daēn] (n, exp) EN: extradition treaty  FR: traité d'extradition [ m ]
กฎหมายที่กำหนดสัญชาติตามดินแดน[kotmāi thī kamnot sanchāt tām dindaēn] (n, exp) EN: jus soli
หมู่บ้านชายแดน[mūbān chāidaēn] (n, exp) EN: border village  FR: village frontalier [ m ]
ณ ดินแดน[na dindaēn] (xp) FR: dans le pays de
แนวชายแดน[naēo chāidaēn] (n, exp) EN: border  FR: ligne de frontière [ f ]
แนวเขตแดน[naēo khētdaēn] (n, exp) EN: boundary line
แนวพรมแดน[naēo phromdaēn] (n, exp) EN: boundary  FR: ligne frontière [ f ]
องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน[Ongkøn Nakkhāo Rai Phromdaēn] (org) EN: Reporters Without Borders (RWB)  FR: Reporters sans frontières (RSF)
พรมแดน[phromdaēn] (n) EN: border ; boundary line  FR: frontière [ f ] ; limite territoriale [ f ]
ปิดพรมแดน[pit phromdaēn] (v, exp) EN: close the border  FR: fermer la frontière
ประเทศจอร์แดน[Prathēt Jødaēn] (n, prop) EN: Jordan  FR: Jordanie [ f ]
ไร้พรมแดน[rai phromdaēn] (x) EN: without borders  FR: sans frontières
ส่งผู้ร้ายข้ามแดน[song phūrāi khām daēn] (v, exp) EN: extradite ; extradite a criminal  FR: extrader
สนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดน[sonthisanyā song phūrāi khām daēn] (n, exp) EN: extradition treaty  FR: traité d'extradition [ m ]
ตลาดชายแดน[talāt chāidaēn] (n, exp) EN: border market  FR: marché frontalier [ m ]
ตำรวจตระเวนชายแดน[tamrūat trawēn chāidēn] (n, exp) FR: police des frontières [ f ]
ต่างแดน[tāngdaēn] (n) EN: foreigner
ต่างแดน[tāngdaēn] (adj) EN: exotic
ต่างถิ่นต่างแดน[tāngthin-tāngdaēn] (n) EN: foreign country

English-Thai: Longdo Dictionary
ice cap(n) ดินแดนที่ปกคลุมด้วยน้ำแข็งต่ำกว่า 50, 000 ตารางกิโลเมตร เช่น บริเวณขั้วโลก
punt(vi) เตะกินแดน (ใช้ในอเมริกันฟุตบอล)

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
abroad(adv) ในต่างประเทศ, See also: ในต่างชาติ, ในต่างแดน, ที่อยู่ในเมืองนอก
across(prep) ข้าม, See also: ข้ามพรมแดน, Syn. over
adjoin(vi) มีเขตแดนติดกัน, Syn. beside, be adjacent to
adjoin(vt) มีเขตแดนติดกับ
border(n) เขตแดน, See also: พรมแดน, ชายแดน, Syn. frontier
borderland(n) พรมแดน
borderline(n) เส้นแบ่งขอบเขต, See also: เส้นเขตแดน, เส้นแสดงเขต, Syn. borders
borderline(adj) ตามชายแดน, See also: ก้ำกึ่ง
bound(n) เส้นแบ่งเขตแดน, See also: เส้นแบ่งเขต, Syn. boundary
bound(n) เส้นขอบเขต, See also: ขอบเขต, เส้นแบ่งเขตแดน
boundaries(n) เขตแดน, See also: กั้นเขตแดน, เส้นแบ่งเขต
boundary(n) ขอบเขต, See also: เขตแดน, อาณาเขต, Syn. border
breadbasket(n) ดินแดนส่วนที่ผิดอาหารจำนวนมากให้ประเทศ
bridgehead(n) ที่มั่นของกองทัพที่อยู่ในดินแดนข้าศึก
brownfield(adj) ซึ่งเป็นดินแดน
celestial sphere(n) สวรรค์, See also: ดินแดนในจิตนาการที่อยู่บนท้องฟ้า, Syn. empyrean, heavens
center(n) ผู้เล่นในแดนกลาง
centre(n) ผู้เล่นในแดนกลาง
Chinatown(n) ชุมชนคนจีนในต่างแดน
extradite from(phrv) ส่งผู้ร้ายหรือคนไม่ดีจาก, See also: ส่งข้ามแดนจาก
define(vt) เป็นเครื่องหมายแสดง, See also: บอกขอบเขต, กำหนดเขตแดน, Syn. restrict, limit, delimit
demarcate(vt) ปักเขต, See also: กำหนดเขต, กั้นเขตแดน, Syn. fence off, delimit
district(vt) กำหนดอาณาเขต, See also: แบ่งอาณาเขต, แบ่งเขตแดน
district(n) เขต, See also: เขตแดน, บริเวณ, อาณาบริเวณ, แขวง, ตำบล, Syn. locality, territory neighborhood
domain(n) อาณาเขต, See also: อาณาจักร, เขตแดน, Syn. estate, land, territory
dominion(n) อาณาจักรปกครอง, See also: ดินแดนที่ครอบครอง, Syn. possession, empire, kingdom
dreamland(n) ดินแดนในฝัน
Elysium(n) ดินแดนสวรรค์ในเทพปกรนัมของกรีก, Syn. heaven, Elysian Fields, paradise
enclave(n) ประเทศหรือดินแดนเล็กๆ ที่มีวัฒนธรรมและเชื้อชาติแตกต่างจากดินแดนอื่นที่ล้อมรอบอยู่
Etruria(n) ดินแดนทางชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของแหลมอิตาลี
exotic(adj) มาจากต่างประเทศ, See also: มาจากดินแดนอื่น, มาจากภูมิภาคอื่น, Syn. foreign
extradite(vt) ส่งผู้ร้ายข้ามแดน, See also: ส่งอาชญากรข้ามแดน
faerie(n) ดินแดนในเทพนิยาย, See also: ดินแดนเนรมิตในนิทาน, Syn. fairyland, faery, wonderland
fairyland(n) แดนสวรรค์, See also: ดินแดนหรรษา
frontier(n) ชายแดน, See also: พรมแดน, เขตแดน, แนวพรมแดน, แนวเขตแดน, Syn. border, borderline, boundary
get abroad(phrv) ไปต่างประเทศ, See also: ไปเมืองนอก, ไปต่างแดน, Syn. go abroad, take abroad
Hittite(n) ชนชาติหนึ่งในเอเชียสมัยโบราณที่ปกครองดินแดนในเอเชียไมเนอร์และทางเหนือของซีเรีย
illimitable(adj) ไร้พรมแดน (คำทางการ), See also: ไร้เขตแดน, ไร้ขอบเขต, Syn. boundless, limitless, Ant. limitable
independency(n) รัฐอิสระ, See also: ดินแดนอิสระ, ดินแดนที่เป็นเอกราช
inland(adv) เข้าในประเทศ, See also: ภายในดินแดน, Ant. seawards
inviolable(adj) ซึ่งไม่อาจรุกล้ำได้ (เขตแดน), See also: ซึ่งไม่สามารถล่วงละเมิดได้
irredentism(n) ลัทธิสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืน (ในอิตาลีปีค.ศ.1878)
Jordan(n) จอร์แดน, See also: ประเทศจอร์แดน
Jordan(n) ประเทศจอร์แดน
kingdom(n) ราชอาณาจักร, See also: อาณาจักร, ดินแดน, ประเทศที่ปกครองโดยพระราชาหรือพระราชินี, Syn. realm
land(n) อาณาจักร, See also: ขอบเขตปกครอง, ดินแดน, เขต, Syn. realm, domain
latitude(n) พื้นที่ใกล้เส้นรุ้ง (ใช้ในรูปพหูพจน์), See also: ดินแดน, แถบ
line(n) เส้นแบ่งเขต, See also: เส้นเขต, ขอบเขต, เขตแดน, Syn. limit, border
march(n) แนวเขตแดน, See also: ชายแดน, Syn. border
marginal(adj) ซึ่งอยู่ในขอบของหน้ากระดาษ, See also: เกี่ยวกับขอบ, เกี่ยวกับขอบเขต, เกี่ยวกับพรมแดน, Syn. limited, peripheral

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
abuttal(อะบัท' ทัล) เขตแดน., Syn. abuttals
acaridan(อะแคร' ริแดน) adj. เกี่ยวกับแมลงจำพวกเห็บหรือหมัด (family Acarina)
andante(แอนแดน' ที) adj. ค่อนข้างช้าและแรียบ (เสมอ) . จังหวะช้า ๆ (walking)
andantino(แอนแดนที' โน) n., adj. adv. จังหวะที่ค่อนข้างเร็วกว่า andante, ค่อนข้างเร็วกว่า andante
azerbijan(อาเซอะไบแจน') n. ชื้อดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย, ชื่อจังหวัดในอิหร่าน., Syn. Azerbaidzhan
border(บอร์'เดอะ) { bordered, bordering, borders } n. ชายแดน, ขอบ, ริม, เนิน -v. มีเขตแดนติดต่อกับ, คล้ายกับ, ใกล้เคียง, เหมือน, Syn. brink
border linen. เส้นพรมแดน, เส้นเขตแดน
borderlandn. พรมแดน, ภาวะที่ไม่แน่นอน, เขตแดนที่คลุมเครือ, ความก้ำกึ่ง, Syn. border
borderlineadj. ตามพรมแดนตามชายแดน, ก้ำกึ่ง, Syn. indeterminate
bound(เบาดฺ) { bounded, bounding, bounds } adj. ถูกผูกมัด, เหนียวแน่น, แน่นอน, จักต้อง, ตัดสินใจ, เข้าเล่ม, ท้องผูก vi. กระโดด, เด้งกลับ, จดกับ, ประชิดกับ vt. จำกัด, กลายเป็นขอบเขต, พูดถึงขอบเขต -n. การกระโดด, การเด้งกลับ, ขอบเขต, ชายแดน adj. กำลังจะ, ไปทาง, พร้อมที่จะ
boundary(เบา'ดะรี) n. เขตแดน, เส้นแบ่งเขต
cadastraladj. แสดงขอบเขตหรือเส้นพรมแดนหรือที่ดินหรือภูมิภาค
cameroons(แคมมะรูนซฺ') n. ชื่อดินแดนในอาณัติของเยอร มันสมัยก่อน
cloudlandn. แดนในฝัน, แดนที่ไม่เป็นความจริง
cockaigne(โคเคน') n. แดนสุขาวดีในฝัน
cockayne(โคเคน') n. แดนสุขาวดีในฝัน
commandant(คอม'มันดานทฺ, -แดนทฺ) n. ผู้บังคับบัญชา, ผู้บัญชาการ
confidant(คอนฟิแดนทฺ') n. คนที่ไว้วางใจ, คู่คิด, คนสนิท, Syn. intimate -Conf. confident
confidante(คอนฟิแดนทฺ') n. confidant (ดู) ที่เป็นผู้หญิง, Syn. female confidant
conterminousadj. มีพรมแดนร่วมกัน, ซึ่งบรรจบกันตรงปลาย., See also: conterminousness n. ด
continent(คอน'ทะเนินทฺ) n. ทวีป, ผืนแผ่นดินใหญ่ (ซึ่งต่างจากเกาะหรือคาบสมุทร) , ส่วนที่ต่อเนื่องกัน, สิ่งที่เป็นที่บรรจุหรือพรมแดน -Phr. (the Continent ผืนแผ่นดินใหญ่ของยุโรป (ซึ่งต่างจากเกาะอังกฤษ) , adj. ซึ่งควบคุมตัวเอง, Syn. abstinent, Ant. le
dandelion(แดน'ดะไลออน) n. ต้นไม้จำพวกหนึ่งมีใบหยิก ดอกสีเหลือง
dandruff(แดน'ดรัฟ) n. ขี้รังแค, See also: dandruffy adj. ดูdandruff dandriffy adj. ดูdandruff, Syn. dandriff
dandy(แดน'ดี) n. ผู้ชายที่สำรวย, คนขี้โอ่, คนเจ้าชู้, สิ่งหรือคนที่มีคุณภาพดีเป็นพิเศษ adj. สำรวย, ชอบแต่งตัวเกินไป, ชั้นหนึ่ง, ดีเยี่ยม, See also: dandily adv. ดูdandy dandyish adj. ดูdandy dandiacal adj. ดูdandy dandyism n. ดูdandy
daren't(แดนทฺ) ดูdarenot
demarcate(ดิมา'เคท) vt. กำหนดเขตแดน, แบ่งเขต, ปักเขต
demarcation(ดิมาร์เค'เชิน) n. การกำหนดเขตแดน, การแบ่งเขต, การปักเขต, เส้นปันเขต.
demarkation(ดิมาร์เค'เชิน) n. การกำหนดเขตแดน, การแบ่งเขต, การปักเขต, เส้นปันเขต.
disneyland(ดิส'นีแลนดฺ) n. แดนเนรมิตหรือสวนสนุก
dreamland(ดรีม'แลนด์) n. แดนแห่งความฝัน, โลกแห่งความฝัน
duchy(ดัช'ชี) n. ดินแดนในความปกครองของท่านดยุคหรือภรรยาท่านดยุค -pl. duchies
eden(อี'เดิน) n. แดนสวรรค์, สวนอีเดน -Edenic adj. ดูEden
edge(เอดจฺ) n. ขอบ, ริม, ข้าง, เขตแดน, สัน, ด้านคมของใบมีด, ความคม, เหลี่ยม, เนินเขา, หน้าผา, ข้อได้เปรียบ, ตำแหน่งที่ดีกว่า vt. ทำให้คม, ใส่ขอบให้, เคลื่อนไปทางข้าง, ค่อย ๆ เคลื่อนไปทางข้าง. vi. เคลื่อนไปข้างหน้า -Phr. (edge out เอาชนะทีละนิด, เล็ม) คำที่มีความหมายเหมือ
elysium fieldsแดนสุขาวดี
enclave(เอน'เคลฟว) n. ประเทศที่มีดินแดนทั้งหมดหรือส่วนใหญ่ที่ถูกล้อมรอบไปด้วยดินแดนของประเทศอื่น
extradite(เอคซฺทระไดทฺ') vt. ส่ง (ผู้ร้าย) ข้ามแดน
extradition(เอคซฺทระดิช'เชิน) n. การส่งผู้ร้ายข้ามแดน
fairylandn. แดนสวรรค์, แดนสุขาวดี, แดนที่สวยงามมาก
free-soiladj. เกี่ยวกับดินแดนที่ไร้ทาส
frontier(ฟรันเทียร์') n., adj. ชายแดน, พรมแดน, แนวใหม่, Syn. boundary
gaul(กอล) n. เขตดินแดนในยุโรปตะวันตกสมัยโบราณ
god's countryดินแดนที่พระเจ้าชอบ
grassland(กราส'แลนดฺ) n. ทุ่งหญ้า, ดินแดนที่มีทุ่งหญ้ามาก, Syn. pasture land
heartland(ฮาร์ท'แลนด์) n. ดินแดนส่วนกลางที่ยากแก่การถูกโจมตีมักมีความมั่นคงทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง
hedge(เฮดจฺ) n. แนวพุ่มไม้, ขอบแดน, สิ่งกีดขวาง, เครื่องล้อม, การวางเดิมพัน, คำพูดสองนัย. v. ล้อมรั้ว, กั้นรั้ว, กั้น, วางเดิมพันเพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเสีย. vi. วางทางหนีที่ไล่, See also: hedger n., Syn. fence
heterochronousadj. ซึ่งมาจากต่างแดน
hot pursuitการไล่ติดตามอาชญากรหรือข้าศึกอย่างกระชั้นชิด เช่นการข้ามพรมแดน
inland(อิน'เลินดฺ) adj. ภายในประเทศ, ภายในดินแดน, ท้องถิ่น. adv. ภายในประเทศ, เข้าไปในประเทศ. n. (อิน'แลนดฺ) บริเวณภายในประเทศ, Syn. domestic, internal
jim-dandy(จิม'แดน'ดี) adj. ดีกว่า, ดีเลิศ
land(แลนดฺ) { landed, landing, lands } n. ที่ดิน, พื้นดิน, แผ่นดิน, ประเทศ, เขต, ดินแดนของประเทศ vt. ตั้งรกราก, นำไปสู่, ยึด, จับ, จับจอง, นำขึ้นบก. vi. ขึ้นบก, ขึ้นฝั่ง, สู่ -Phr. (the land ที่ดินเกษตรชนบทอาชีพการเกษตรและการปศุสัตว์), Syn. soil, g

English-Thai: Nontri Dictionary
border(n) ริม, ขอบ, เขตแดน, ชายแดน, พรมแดน, อาณาเขต
borderland(n) เขตแดน, ชายแดน, พรมแดน
borderline(n) เส้นเขตแดน, เส้นพรมแดน, เส้นแบ่งเขต, เส้นกั้นอาณาเขต
bound(n) ขอบเขต, บริเวณ, เขตแดน, อาณาเขต, ขอบข่าย
boundary(n) ขอบเขต, เขตแดน, บริเวณ, อาณาเขต
coast(n) ชายฝั่ง, ฝั่งทะเล, เขตแดน, พรมแดน
colony(n) อาณานิคม, ดินแดน, ประเทศอาณานิคม, หมู่คณะ
demarcation(n) การกำหนดเขต, การปักปันเขต, เส้นเขตแดน, การแบ่งเขต, การแบ่งแยก
dreamland(n) ดินแดนในความฝัน, โลกแห่งความฝัน
extradite(vt) คืนเชลยศึก, ส่งผู้ร้ายข้ามแดน
extradition(n) การคืนเชลยศึก, การส่งผู้ร้ายข้ามแดน
fairyland(n) สวรรค์, ชั้นฟ้า, เมืองสวรรค์, แดนสวรรค์, แดนสุขาวดี
frontier(n) พรมแดน, ชายแดน, เขตแดน, ขอบเขต
frontiersman(n) คนที่อยู่ตามชายแดน
heaven(n) สวรรค์, ท้องฟ้า, วิมาน, แดนสุขาวดี
hedge(n) รั้ว, แนวพุ่มไม้, สิ่งกีดขวาง, เครื่องล้อม, ขอบแดน
paradise(n) สวรรค์, แดนสุขาวดี
peregrine(adj) แปลก, ต่างแดน, ต่างถิ่น, ต่างด้าว, ต่างประเทศ
realm(n) แผ่นดิน, อาณาจักร, ขอบเขต, ปริมณฑล, ดินแดน, บริเวณ
region(n) บริเวณ, ขอบเขต, แถบ, ภาค, แคว้น, ดินแดน
secede(vi) แบ่งแยกดินแดน, ปลีกตัวออก, แยกตัวออก
secession(n) การแบ่งแยกดินแดน, การปลีกตัวออก, การแยกตัวออก
stranger(n) คนแปลกหน้า, คนต่างแดน, คนต่างถิ่น, ชาวต่างประเทศ
territorial(adj) เกี่ยวกับดินแดน, เกี่ยวกับภาคพื้นดิน
territory(n) ดินแดน, ขอบข่าย, อาณาเขต, แนวความคิด, แนวทางปฎิบัติ
utopia(n) แดนสุขารมณ์, โลกพระศรีอาริย์, โลกในอุดมคติ
utopian(adj) เหมือนแดนสุขารมณ์, เหมือนโลกพระศรีอาริย, เหมือนกับโลกในอุดมคติ

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
cross-border(adj) เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ข้ามพรมแดนระหว่าง 2 ประเทศ, ระหว่างประเทศ, ที่ข้ามประเทศ, ที่ข้ามพรมแดน (ใช้นำหน้านามเท่านั้น)
Deputy Governorรองข้าหลวง เป็นตำแหน่งข้าราชการพลเรือนฝ่ายปกครองในดินแดนของสหราชอาณาจักร ตำแหน่งนี้ปรากฎเฉพาะอาณานิคมในทวีปอเมริกาเหนือ เทียบได้ตำแหน่งผู้ช่วยข้าหลวง (Lieutenant-Governor) ในอาณานิคมอื่นๆ
frontier post(n) ที่ทำการพรมแดน
Governor-general(n) ข้าหลวงต่างพระองค์ในดินแดนของอังกฤษ
hitum(n, adj, malasia) สีดำ เช่นแถบชายแดนไทยมาเลเซีย (ด่านนอก/จังโหลน) มีภูเขาชื่อ ถูเขาไม้สีดา bukit kayu hitam
LANNA(n) ล้านนา คือดินแดนที่มีจำนวนที่นานับล้าน เป็นอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ได้แก่จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ พะเยา น่าน ลำพูน และ ลำปาง โดยมีเมืองเชียงใหม่ เป็นราชธานี มีภาษาที่เรียกว่า คำเมือง หรือภาษาเหนือ ตัวหนังสือ ตัวเมือง วัฒนธรรม และ ประเพณี เป็นของตนเอง ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการปกครอง เป็นระบอบมณฑลเทศาภิบาล ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมี พระเจ้าอินทวิชยานนท์, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 เป็นพระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในฐานะราชอาณาจักรพระองค์สุดท้าย และ เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เป็นเจ้าผู้ปกครองนครองค์สุดท้าย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือและเชื้อสาย "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)" อยู่ในราชตระกูล ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง และ ณ น่าน
Lieutenant-Governorผู้แทนข้าหลวง เป็นตำแหน่งข้าราชการพลเรือนฝ่ายปกครองในดินแดนของสหราชอาณาจักร
non-refoulement(n) หลักการไม่ส่งผู้ลี้ภัยกลับไปยังดินแดนหรือถิ่นที่ชีวิตและเสรีภาพของพวกเขาจะถูกคุกคาม Non-refoulement is a principle in international law, specifically, refugee law, which protects refugees from being returned to places where their lives and freedoms would be threatened.[ Google ] Art.33(1) of the 1951 UN Convention on the Status of Refugees, and its 1967 protocol.
promised land(n) ดินแดนแห่งความหวัง
reserved officers' training corpsร.ด., รักษาดินแดน, นักศึกษาวิชาทหาร
Territory Integrity(n) บูรณภาพแห่งดินแดน
War Ensignธงชัยสมรภูมิ เป็นธงที่ถูกชักไว้บนเรือรบเพื่อแสดงสัญชาติของเรือรบ อาจมีการชักธงนี้ไว้บนบกในดินแดนที่กองทัพเจ้าของธงยึดครองอยู่ อาทิ เมื่อเยอรมนีเข้ายึดกรุงปารีสในปี ค.ศ. 1940 มีการชักธงชัยสมรภูมิเยอรมันไว้บนยอดหอไอเฟลเพื่อสื่อว่า ประเทศฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่อยู่ภายใต้การยึดครองของกองทัพเยอรมัน
ชมพูทวีป(n) แดนแห่งต้นหว้า, Syn. ชมภูทวีป

Japanese-Thai: Longdo Dictionary
天国[てんごく, tengoku] (n) สวรรค์, แดนสุขาวดี, Syn. 極楽, Ant. 地獄

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
軍事訓練[ぐんじくんれん, gunjikunren] (n) วิชารักษาดินแดน, ร.ด.
境界[きょうかい, kyoukai] (n) เขตแดน

Japanese-Thai-English: Saikam Dictionary
領事館[りょうじかん, ryoujikan] TH: สถานกงศุลที่ทำหน้าที่ดูแลเรื่องของประเทศตนในต่างแดน  EN: consulate
領土[りょうど, ryoudo] TH: ดินแดนที่อยู่ในอาณัติการปกครอง  EN: dominion

German-Thai: Longdo Dictionary
untervermieten(vt) |vermietete unter, hat untervermietet| ให้เช่าบ้านหรือห้องต่อ (โดยที่ชื่อผู้เช่าในสัญญาเช่ายังคงเดิม เป็นการรักษาห้องเช่านั้นไว้จะได้ไม่ต้องไปหาใหม่เวลาที่ต้องไปต่างเมืองหรือต่างแดนเป็นเวลานาน), See also: mieten
ausländisch(adj, adv) ต่างประเทศ, ต่างแดน เช่น ausländische Firmen บริษัทของต่างประเทศ
ohne(prep) ปราศจาก, ไร้ เช่น Kannst du es ohne mich schaffen? เธอทำได้ไหมโดยไม่มีฉัน, Ärzte ohne Grenze แพทย์ไร้พรมแดน

German-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Landesherrลันเดสแฮร์ เป็นตำแหน่งเจ้าศักดินาในยุคกลาง มีอำนาจเฉกเช่นเจ้าแผ่นดินเหนือดินแดนหนึ่ง ดินแดนนั้นอาจมีสถานะเป็นรัฐอิสระ หรือรัฐบริวารของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็ได้

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top