ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: แดน, -แดน- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ One day, Father Khwan Khao brought Khwan Khao to leave with Grandpa. | วันหนึ่งคุณพ่อของขวัญข้าวพาขวัญข้าวมาฝากไว้กับคุณปู่ เพราะคุณพ่อต้องไปขับรถส่งผู้โดยสารที่กรุงเทพมหานคร วันนี้คุณปู่พาขวัญข้าว มาดูข้าวที่คุณปู่ได้ปลูกไว้ จนถึงเย็นฝนก็ตกลงมา ขวัญข้าวจึงพูดว่าคุณปู่ตะรีบเข้าบ้านเดี๋ยวไม่สบาย คุณปู่จึงพูดว่าฝนไม่ได้ทำให้ไม่สบายหรอก แต่ต้องไปอาบน้ำ ตอนกลางคืนฝนก็ตกหนักมาก จนขวัญข้าวนอนไม่หลับ ขวัญข้าวตื่นมาให้คุณปู่เล่านิทานให้ฟังปู่เล่านิทานให้ฟังก็ได้ปู่ตอบ มีอยู่วันหนึ่งในดินเเดนแห้งเเร้งทุกคนไม่มีน้ำดื่ม จนกระทั่งวันหนึ่งมีจอบตกลงมาจากบนท้องฟ้า ทุกคนจึงหยิบจอบมาเพื่อขุด แต่ในดินแดนก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ทุกคนจึงเลิกขุด เเต่มีเด็กผู้ชายคนหนึ่งขุดไปเรื่อยๆจากที่ขุด1ไร่กลายเป็น2ไร่จากที่ขุด2ไร่กลายเป็น4ไร่ จนเด็กผู้ชายคนนั้นก็ล้มลง จากนั้นฝนก็ได้ตกลงมา ทุกคนจึงมีชีวิตอยู่ พอคูณปู่เล่าเสร็จคุณปู่หันไปไหว้รูปในหลวงรัชกาลที่่9 วันต่อมาโรงเรียนของขวัญข้าวมีกิจกรรมขายของ ขวัญข้าวจึงทำวุ้นมะพร้าวจากสีธรรมชาติ จอมขายมะม่วงกวน วันต่อมาคุณพ่อของขวัญข้าวมาหาขวัญข้าว แล้วทุกคนจึงเปิดโครงการ"ของขวัญจากดิน" เพราะทุกอย่างที่นำมาขายล้วนแต่ปลูกมาจากดbo | หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน (รด.), หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง, กรมการรักษาดินแดน | (n, org, uniq) Territorial Defense Command, Army Reserve Command, Territorial Defence Department | เสรีภาพแห่งการพอเพียง | [พอเพียงเพื่อเสรีภาพ] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, pron, phrase, colloq, abbrev, name, org, uniq) เสรีภาพกระผมอย่างยกตัวอย่างที่ในหลวงร9และร10พยายามทำอยู่และส่งเสริมอย่างยิ่งมันคือสิ่งที่เป็นพื้นฐานแห่งชีวิตของทุกคนไม่ว่าคุณจะอดอยากประเทศยากจนในดินแดนต่างๆทั่วโลกไทยคือครัวโลกเรายินดีแบ่งปันความรู้เศรฐกิจพอเพียงนี้ด้วยพืชและสูตรการทำอาหารของไทยที่มีมากมายใข่2ฟองก็สามารถสร้างเมนูเพื่อยังชีพได้เกิน10อย่างผัดทอดนึ่งต้ม |
| แดน | (n) land, See also: area, border, territory, region, zone, realm, domain, vicinity, boundary, Syn. ดินแดน, อาณาจักร, ขอบเขต, เขตแดน, แคว้น, อาณาจักร, พื้นที่, เนื้อที่, บริเวณ, เขต, ดินแดน, อาณาบริเวณ, Example: เขาล้ำเข้าไปในแดนข้าศึก, Thai Definition: ที่ที่กำหนดไว้โดยตรงหรือโดยหมายรู้กัน | ชายแดน | (n) frontier, See also: border, boundary, Example: ชาวสตูลเข้าไปทำงานในมาเลเซียเพราะชายแดนติดต่อกัน การเดินทางไปมาสะดวก, Thai Definition: บริเวณเขตแดน หรือพื้นที่ที่อยู่สุดเขตแดนของประเทศ ซึ่งอาจจะมีพรมแดนติดกับประเทศอื่น | ดินแดน | (n) territory, See also: country, land, Syn. อาณาเขต, แคว้น, เขต, Example: ดินแดนทางตอนใต้ของประเทศไทยมีอาณาเขตติดต่อกับมาเลเซีย | พรมแดน | (n) frontier, See also: border, boundary line, Syn. เขตแดน, ชายแดน, แนวพรมแดน, แนวเขตแดน, แนวเขต, Example: ทิวเขาที่อำเภอแม่สายจังหวัดเชียงรายเป็นพรมแดนทางธรรมชาติระหว่างไทยกับพม่าเรียกนามว่าทิวเขาแดนลาว, Thai Definition: ขีดขั้นเขตแดน, แดนต่อแดน, Notes: (เขมร) | เขตแดน | (n) border, See also: frontier, boundary, Syn. พรมแดน, ชายแดน, แนวพรมแดน, แนวชายแดน, อาณาเขต, Example: เส้นแบ่งแขตแดนระหว่างไทย-ลาวคือแม่น้ำโขง, Count Unit: เขต, Thai Definition: พื้นที่ในขอบเขตที่กำหนด | แดนดิน | (n) region, See also: territory, area, Syn. ดินแดน, บริเวณ, Example: ในแดนดินถิ่นปักษ์ใต้มีพระที่มีชื่อเสียงหลายรูป | แดนไตร | (n) three boundaries of the three worlds, Syn. โลกทั้ง 3, Thai Definition: โลกทั้ง 3 ได้แก่ กามภพ คือภพของเทวดาลงมา, รูปภพ คือภพของพรหมที่มีรูป, อรูปภพ คือภพของพรหมที่ไม่มีรูป; หรือ สวรรค์ มนุษยโลก และ บาดาล | ข้ามแดน | (v) cross the frontier, See also: go over the frontier, Syn. ข้ามเขต, ข้ามถิ่น, Example: ผู้ก่อการร้ายข้ามแดนมาถล่มยิงอย่างไม่เกรงกลัว | จอร์แดน | (n) Kingdom of Jordan, See also: Jordan, Example: จอร์แดนได้ตอบรับแผนการประชุมปัญหาสันติภาพตะวันออกกลางเป็นที่เรียบร้อยแล้ว, Thai Definition: ชื่อประเทศที่อยู่ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของเอเซีย | ต่างแดน | (adj) exotic, See also: alien, foreign, remote, Syn. เมืองนอก, ต่างบ้านต่างเมือง, ต่างถิ่น, ต่างประเทศ, Example: เขาเริ่มสนใจวรรณกรรมต่างแดนตั้งแต่ยังเด็ก, Thai Definition: ที่เป็นประเทศอื่น, ที่อยู่ถิ่นฐานอื่น | ต่างแดน | (n) foreigner, See also: alien, immigrant, non-native, Syn. เมืองนอก, ต่างบ้านต่างเมือง, ต่างถิ่น, ต่างประเทศ, Example: กลางคืนของเชียงใหม่เต็มไปด้วยสีสัน ผู้คนส่วนใหญ่จะเป็นนักท่องเที่ยวจากต่างแดนเป็นส่วนใหญ่, Thai Definition: ประเทศอื่น, ถิ่นฐานอื่น | คนต่างแดน | (n) foreigner, See also: alien, Syn. ชาวต่างแดน, คนต่างประเทศ, ชาวต่างประเทศ, Count Unit: คน | คนต่างแดน | (n) foreigner, See also: alien, Syn. ชาวต่างแดน, คนต่างประเทศ, ชาวต่างประเทศ, Count Unit: คน | เขตพรมแดน | (n) borderland, See also: frontier, Syn. เขตแดน, อาณาเขต, Example: ถึงแม้จะมีการแบ่งเขตพรมแดนตามกฎหมาย แต่ทั้งสองประเทศก็ยังคงมีข้อพิพาทกันเนืองๆ, Thai Definition: พื้นที่ที่กำหนดขีดคั่นไว้, เส้นแบ่งพื้นที่ระหว่าง 2 ประเทศ | แนวพรมแดน | (n) boundary, See also: border, borderline, frontier, Syn. แนวเขตแดน, เส้นเขตแดน, เขตแดน, Example: ปลัดบัญชาการทัพบกของปากีสถานออกตรวจแนวพรมแดนและส่งกำลังเสริมไปยังแคชเมียร์ | แนวเขตแดน | (n) boundary line, See also: border, borderline, frontier, Syn. เส้นเขตแดน, แนวพรมแดน, เขตแดน, Example: แม่น้ำสายนี้เป็นแนวเขตแดนของทั้ง 2 ประเทศ | ไร้พรมแดน | (adj) limitless, See also: boundless, Example: สื่อในยุคการสื่อสารไร้พรมแดนต้องทำงานแข่งขันกันชนิดเอาเป็นเอาตาย, Thai Definition: ไม่มีขอบเขต, ไม่มีขีดจำกัด, ไม่มีอาณาเขตกำหนด | ไร้พรมแดน | (adj) limitless, See also: boundless, Example: สื่อในยุคการสื่อสารไร้พรมแดนต้องทำงานแข่งขันกันชนิดเอาเป็นเอาตาย, Thai Definition: ไม่มีขอบเขต, ไม่มีขีดจำกัด, ไม่มีอาณาเขตกำหนด | ข้ามพรมแดน | (adj) crossing borders, See also: crossing frontiers, Syn. ข้ามแดน, Example: ยุโรปตะวันตกเริ่มเติบโต เมื่อมีการค้าเสรีข้ามพรมแดน, Thai Definition: ผ่านจากแดนหนึ่งไปยังอีกแดนหนี่ง | จุดผ่านแดน | (n) border crossing, Example: การเปิดจุดผ่านแดนเพิ่มขึ้นแต่ละจุด รัฐต้องพิจารณาและศึกษาอย่างละเอียดถึงผลที่จะเกิดขึ้นในด้านต่างๆ, Thai Definition: จุดที่เป็นเขตกั้นระหว่างประเทศ | เสียดินแดน | (v) lose one's territory, See also: lose one's land, lose one's ground, Syn. เสียเขตดินแดน, Example: ไทยต้องเสียดินแดนบางส่วนให้แก่อังกฤษ | พรมแดนการเมือง | (n) political boundary, Example: ผู้นำของประเทศไทยเจรจาเรื่องพรมแดนการเมืองกับผู้นำประเทศอื่นๆ | ส่งผู้ร้ายข้ามแดน | (v) extradite a criminal or prisoner, Example: เจ้าหน้าที่ฝ่ายปราบปรามยาเสพติดละเมิดข้อตกลงส่งผู้ร้ายข้ามแดน |
|
| เขตแดน | น. พื้นที่ที่กำหนดขีดคั่นไว้, เส้นแบ่งพื้นที่ระหว่าง ๒ ประเทศ, อาณาเขต. | แดน | น. เขต, พื้นที่ที่กำหนดไว้โดยตรงหรือโดยหมายรู้กัน, เช่น ชายแดน ลํ้าแดน, ถิ่นที่มีคน สัตว์ หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งประเภทเดียวกันอยู่เป็นจำนวนมาก เช่น แดนผู้ร้าย แดนเสือโคร่ง แดนกล้วยไข่ แดนโลกีย์, โลก เช่น สตรีใดในพิภพจบแดน ไม่มีใครได้แค้นเหมือนอกข้า ด้วยใฝ่รักให้เกินพักตรา จะมีแต่เวทนาเป็นเนืองนิตย์ (อิเหนา). | แดนไตร | น. โลกทั้ง ๓ ทางพระพุทธศาสนาหมายความถึง กามภพ คือภพของผู้ที่ติดอยู่ในกาม ตั้งแต่ ฉกามาพจรลงมาถึงนรกภูมิ, รูปภพ คือภพของพรหมที่มีรูป, อรูปภพ คือภพของพรหมที่ไม่มีรูป, ทางวรรณคดีหมายความถึง สวรรค์ มนุษยโลก และบาดาล. | แดนสนธยา | น. แดนที่เสมือนมีบางสิ่งบางอย่างที่ลึกลับและมีปัญหาสลับซับซ้อนแอบแฝงให้น่าสงสัยอยู่มาก. | แดนแห่งกรรมสิทธิ์ | น. ขอบเขตแห่งกรรมสิทธิ์ เช่น แดนแห่งกรรมสิทธิ์ที่ดิน กินทั้งเหนือพ้นพื้นดินและใต้พื้นดินด้วย. | ปักปันเขตแดน | ก. กำหนดเขตแดนระหว่างประเทศเมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับพรมแดนเป็นต้น. | เป็นแดน | ว. เป็นไปเสมอ, เป็นประจำ, เช่น นั่งที่ไหนนินทาเขาเป็นแดน (สุภาษิตสอนหญิง). | พรมแดน | (พฺรม-) น. ขีดขั้นเขตแดน, แดนต่อแดน. | กลากลาด | (กฺลากฺลาด) ว. มากหลาย, เกลื่อนกล่น, เช่น มากลากลาดกันแดน (ลอ). | กษมา ๑ | (กะสะ-) น. ความอดกลั้น, ความอดโทษ, เช่น พระกษมาเสมอหล้า สี่แดน (ยวนพ่าย). | กะเหรี่ยง | น. ชื่อชนชาวเขาเผ่าหนึ่ง ปรกติอาศัยอยู่ทางพรมแดนทิศตะวันตกของประเทศไทย, โซ่ หรือ ยาง ก็เรียก, (โบ) เรียกว่า กั้ง ก็มี. | กันชน | น. เครื่องป้องกันการกระทบกระแทกด้านหน้าและด้านหลังรถยนต์, เรียกประเทศหรือรัฐที่กั้นอยู่ระหว่างดินแดนของ ๒ ประเทศ เพื่อมิให้พิพาทกันในเรื่องดินแดนและผลประโยชน์ ว่า ประเทศกันชน หรือ รัฐกันชน. | กั้น | ก. กีดขวางหรือทำสิ่งกีดขวางเพื่อบัง คั่น หรือกันไว้ไม่ให้เข้ามา เช่น ภูเขากั้นเขตแดน กั้นถนน. | กูปรี | (-ปฺรี) น. ชื่อวัวป่าขนาดใหญ่ชนิด Bos sauveli Urbain ในวงศ์ Bovidae เมื่อโตเต็มที่ตัวผู้สีดำ มีเขาขนาดใหญ่ ส่วนปลายบิดชี้ขึ้นข้างบน ใช้เขาขุดดินและแทงต้นไม้ทำให้ปลายแตกเป็นเส้น ๆ ร่นลงไปมองเห็นเป็นพู่ ตัวเมียสีน้ำตาลอมเทาหรือน้ำตาลเข้ม เขาเล็กกว่า ปลายไม่แตกเป็นพู่ มีถิ่นอาศัยอยู่บริเวณอีสานใต้ตามชายแดนไทย–กัมพูชา ลาว เวียดนาม เป็นสัตว์ป่าสงวนของไทยที่ใกล้จะสูญพันธุ์, โคไพร ก็เรียก. | เกษตร | แดน เช่น พุทธเกษตร. | ขนอน ๑ | (ขะหฺนอน) น. สถานที่ซึ่งตั้งอยู่ในเส้นทางเข้าออกเมืองหรือเขตแดน เพื่อตรวจคนเข้าออก ผู้ลักลอบผ่านด่าน สิ่งของหรือสินค้าต้องห้าม และเรียกเก็บภาษีอากรสินค้า, ที่คอยเหตุและคนแปลกปลอม. | ขอก | น. เขต, แดน | ขัณฑสีมา | น. เขตแดน, เขตแดนส่วนหนึ่ง ๆ. | เขต | (เขด) น. แดนที่กำหนดขีดคั่นไว้ เช่น เขตป่า เขตบ้าน, เวลาที่กำหนดขีดคั่นไว้ เช่น หมดเขตวันที่ ๑๕. (ป. เขตฺต). | เขมร ๑ | (ขะเหฺมน) น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับไทย ลาว และเวียดนาม มีภาษาพูดอยู่ในตระกูลมอญ–เขมร และมีอักษรของตนเองใช้ เรียกว่า อักษรขอม. | แขวง | (แขฺวง) น. เขต, แดน, ส่วน, ฝ่าย, อาณาบริเวณที่กำหนดไว้เพื่อสะดวกในการปฏิบัติราชการอย่างใดอย่างหนึ่ง. | แคว้น | (แคฺว้น) น. ดินแดนอันเป็นถิ่นที่อยู่ของมนุษย์ | จีน ๑ | น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออก มีพรมแดนติดต่อกับมองโกเลีย รัสเซีย เวียดนาม ลาว พม่า ภูฏาน เนปาล อินเดีย คีร์กีซ และคาซัคสถาน มีภาษาพูดและอักษรของตนเองใช้. | ฉนวน ๓ | (ฉะหฺนวน) น. ดินแดนที่มีทางออกทะเลหรือที่ทำให้ดินแดนถูกแยกออกเป็น ๒ ฟาก. | ชนบท | (ชนนะบด) น. บ้านนอก, เขตแดนที่พ้นจากเมืองหลวงออกไป. | ชมพูทวีป | น. ดินแดนที่เป็นประเทศอินเดีย ปากีสถาน เนปาล และบังกลาเทศในปัจจุบัน | ชักเย่อ | (ชักกะ-) น. ชื่อการเล่นอย่างหนึ่ง โดยแบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่าย แต่ละฝ่ายจะมีจำนวนเท่า ๆ กันหรือกำลังพอ ๆ กัน มักใช้เชือกขนาดพอกำรอบ ยาวพอที่จะให้ผู้เล่นทั้ง ๒ ฝ่ายเรียงแถวจับได้ โดยมีที่ว่างระหว่างกลางเหลือไว้ประมาณ ๒ เมตร กลางเชือกคาดด้วยผ้าหรือใช้สีป้ายเป็นเครื่องหมายไว้ วางกึ่งกลางเชือกไว้บนพื้นที่ที่มีเส้นขีดกลางเป็นเส้นแบ่งเขตแดน เมื่อกรรมการให้สัญญาณ ผู้เล่นทั้ง ๒ ฝ่ายต่างก็จะพยายามดึงเชือกให้กึ่งกลางของเชือกเข้ามาในแดนของตน ถ้าฝ่ายใดสามารถดึงกึ่งกลางเชือกเข้ามาในแดนของตนได้ ถือว่าชนะ ตามปรกติจะแข่งกัน ๓ ครั้ง ฝ่ายที่ชนะ ๒ ใน ๓ ครั้งถือว่าชนะเด็ดขาด. | ชาย ๒ | น. ส่วนริมหรือปลายของสิ่งของบางอย่าง เช่น ชายผ้า ชายจีวร, ส่วนที่สุดเขต, ริม, เช่น ชายป่า ชายแดน ชายทะเล. | ด่าน | ทางผ่าน เช่น ด่านช้าง, ทางผ่านพรมแดนระหว่างประเทศ เช่น ด่านเจดีย์สามองค์ ด่านสิงขร. | ด้าว | น. แดน เช่น ปางเสด็จประเวศด้าว ชลาลัย (กาพย์เห่เรือ), ประเทศ เช่น คนต่างด้าว | ตรลบ | (ตฺระหฺลบ) ก. ตลบ, เขียนเป็น ตรหลบ หรือ ตระหลบ ก็มี เช่น สองก้ำกึ่งกันทานทบ แผลงศรตรหลบ ตรเลิดพันลึกนิดินบน (อนิรุทธ์), ไพร่พลเมืองนาวนาว นฤนาท แตรตระหลบก้องหล้า ส่งสยง (ยวนพ่าย), เถิดฤๅจะรื้อรบ ตระหลบวิ่งเข้าชิงแดน ฟันเสียให้นับแสน ให้เศียรขาดลงดาดดิน (พากย์นางลอย). | ตะลุย | ก. เคลื่อนที่เข้าตีหรือบุกดะเข้าไปโดยไม่หยุด เช่น กองทัพตะลุยแดนข้าศึก, ทำอย่างเร่งรีบเพื่อให้ได้มากที่สุด เช่น ตะลุยทำงานให้เสร็จ | ตะวันออกใกล้ | น. กลุ่มประเทศในคาบสมุทรบอลข่านของทวีปยุโรปและในภูมิภาคตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ได้แก่ กรีซ เซอร์เบีย มอนเตเนโกร โรมาเนีย แอลเบเนีย ตุรกี เลบานอน ซีเรีย อิสราเอล จอร์แดน ซาอุดีอาระเบีย และประเทศอื่น ๆ ในคาบสมุทรอาหรับ บางทีก็หมายรวมถึงอียิปต์และซูดานด้วย. | ตาด ๔ | น. ชื่อมองโกลเผ่าหนึ่งที่ชอบรบราฆ่าฟันและอพยพเร่ร่อนอยู่เสมอ บางทีก็เรียกว่า ตาดมองโกล, ชื่อภาษาของพวกตาด ใช้พูดกันในดินแดนตั้งแต่ทิวเขาอูราลทางตะวันตกไปจนถึงทิวเขาอัลไตทางตะวันออก. | ถลำ | (ถะหฺลำ) ก. ล่วงเข้าไปหรือลงไปโดยพลั้งพลาด เช่น ถลำเข้าไปในแดนข้าศึก ถลำลงคู. | ถิ่น | น. ที่, แดน, ที่อยู่, เช่น ถิ่นเสือ ถิ่นผู้ร้าย ถิ่นไทยงาม. | ถีบด่าน | ก. ลาดตระเวนช่องทางเข้าออกที่ชายแดน. | ทรหึงทรหวล | (ทอระหึงทอระหวน) ว. เสียงดังปั่นป่วน เช่น พอวายวรวาคยอ้าง โอษฐ์พระ ดานมหาวาตะตื่นฟ้า ทรหึงทรหวลพะ พานพัด หาวแฮ หอบธุมางจางจ้า จรัดด้าวแดนสมร (ตะเลงพ่าย). | ท้าง | ว. ทั้ง, ทั่ว, ตลอด, เช่น อันว่าแผ่นดินกว้างท้างทุกแดน อนนหนาได้หยิบแสนสี่หมื่นโยชนประมาณ (ม. คำหลวง กุมาร). | เทศาภิบาล | การปกครองหัวเมืองที่จัดเป็นมณฑล โดยโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ทำหน้าที่ปกครองในแต่ละมณฑล เรียกว่า ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑล เว้นแต่มณฑลชายแดนบางมณฑล เรียกว่า ข้าหลวงต่างพระองค์สำเร็จราชการมณฑล ภายหลังเรียกว่า สมุหเทศาภิบาลมณฑล หรือสมุหเทศาภิบาล. | ไทย ๑ | (ไท) น. ชื่อประเทศที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับลาว เขมร มาเลเซีย และพม่า | ธรรมเกษตร | น. แดนธรรม | ธรรมจักร | แดนธรรม | ธรรมายตนะ | (ทำมายะตะนะ) น. แดนที่ต่อคือธรรมารมณ์, แดนที่ต่อกับใจ ได้แก่อารมณ์ที่ใจรู้ หรือเรื่องที่ใจรู้. | นรก | (นะ-) น. แดนหรือภูมิที่เชื่อกันว่าผู้ทำบาปจะต้องไปเกิดและถูกลงโทษ, โดยปริยายหมายถึงแดนที่มีแต่ความทุกข์ทรมาน. | นิยต, นิยต- | (-ยด, -ยะตะ-) ก. กำหนด เช่น พระพเนจรจรหลํ่า ได้หลายคํ่าหลายวัน ถึงแดนอันจะนิยต (ลอ). | บ้านนอก | น. เขตแดนที่พ้นจากเมืองหลวงออกไป, เขตที่อยู่นอกตัวเมือง, คนที่เป็นชาวไร่ชาวนาอยู่นอกกรุงหรือเมืองหลวง, บ้านนอกขอกนา หรือ บ้านนอกคอกนา ก็ว่า. | บูรณภาพ | น. ความครบถ้วนบริบูรณ์ เช่น บูรณภาพแห่งดินแดน บูรณภาพแห่งอาณาเขต. | ประโคน ๑ | น. เรียกเสาใหญ่ที่ปักหมายเขตแดนระหว่างประเทศหรือเมืองเป็นต้น ว่า เสาประโคน. | ประเทศกันชน | น. ประเทศหรือรัฐที่กั้นอยู่ระหว่างดินแดนของ ๒ ประเทศ เพื่อมิให้พิพาทกันในเรื่องดินแดนและผลประโยชน์, รัฐกันชน ก็เรียก. |
| laissez-passer (Fr.) | ๑. ปล่อยให้ผ่านไป (นโยบายเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม)๒. หนังสือผ่านแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | right of discovery | สิทธิเหนือดินแดนที่ค้นพบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule relating to territorial extent | กฎว่าด้วยขอบเขตแห่งดินแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | requisition | ๑. การเกณฑ์๒. การขอ, คำขอเบิก (สิ่งที่ต้องการ)๓. การขอให้ส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | requisition | ๑. การเรียกเกณฑ์๒. การขอ, คำขอเบิก, หนังสือร้องขอ๓. การขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดน, การขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามมลรัฐ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | self-governing territory | ดินแดนที่ปกครองตนเอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | self-governing territory | ดินแดนที่ปกครองตนเอง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | orogenic belt | แดนเทือกเขา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | Arcadia | แดนอาร์เคเดีย [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | annexation | การผนวกดินแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | annexation | ๑. การผนวก๒. การผนวกดินแดน (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | acquisition | การได้มาซึ่งดินแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Anschluss (G.) | การผนวกดินแดนโดยใช้อำนาจ, การรวมดินแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Jordan normal form | รูปแบบปรกติจอร์แดน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | justice, fugitive from | ผู้หลบหนีคดีอาญาข้ามแดน, ผู้ร้ายข้ามแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | jus soli (L.) | หลักกฎหมายสัญชาติโดยดินแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | jus soli (L.) | กฎหมายที่กำหนดสัญชาติตามดินแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Jordan curve | เส้นโค้งจอร์แดน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | Jordan elimination | การกำจัดแบบจอร์แดน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | border traffic | การเดินทางข้ามเขตแดน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | birth, citizenship by | การได้สัญชาติโดยการเกิดในดินแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | boundary line | ๑. เส้นพรมแดน (ก. ระหว่างประเทศ)๒. เส้นแบ่งเขต (ก. ที่ดิน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | boundary | แนวพรมแดน, แนวแบ่งเขต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | condominium | ๑. อำนาจปกครองดินแดนร่วมกัน (ของหลายรัฐ)๒. ดินแดนใต้การปกครองร่วม๓. กรรมสิทธิ์ร่วมในอาคารชุด๔. อาคารชุด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | condominium | ๑. อำนาจปกครองดินแดนร่วมกัน (ของหลายรัฐ) (ก. ระหว่างประเทศ)๒. กรรมสิทธิ์ร่วมในอาคารชุด (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | citizenship by birth | การได้สัญชาติโดยการเกิดในดินแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | conquest | การพิชิตดินแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | conquest | การพิชิตดินแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | delimitation | ๑. การกำหนดเขต, การปักปันเขตแดน (ก. ระหว่างประเทศ)๒. การกำหนดขอบเขตอำนาจ (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | domain | ๑. กรรมสิทธิ์เหนือที่ดิน, ที่ดินในกรรมสิทธิ์ (ก. แพ่ง)๒. แดนแห่งอำนาจ (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | dominion | ๑. กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ (ก. แพ่ง)๒. การมีอธิปไตยเหนือ (ดินแดนประเทศอื่น) (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | dependent territory | ดินแดนในภาวะพึ่งพิง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | danburite | แดนบูไรต์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | discovery, right of | สิทธิเหนือดินแดนที่ค้นพบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | frontier | แนวพรมแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | frontier | เขตแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | fugitive from justice | ผู้หลบหนีคดีอาญาข้ามแดน, ผู้ร้ายข้ามแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | freedom of movement for workers | เสรีภาพของคนทำงานที่จะเข้าไปทำงาน [ ในดินแดนของประเทศสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | enclave | ดินแดนแทรก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | exclave | ดินแดนส่วนแยก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | extent | ขอบเขต, แดน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | extent of ownership | แดนแห่งกรรมสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | integrity, territorial | บูรณภาพแห่งดินแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | irredentism | อุดมการณ์เรียกร้องดินแดนของชนชาติเดียวกัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | international transit | การผ่านแดนระหว่างประเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | zonula; zonule | แดนเล็ก, เขตเล็ก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | zonule; zonula | แดนเล็ก, เขตเล็ก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | zona | ๑. แดน, เขต, เขตวงรอบ [ มีความหมายเหมือนกับ zone ]๒. โรคงูสวัด [ มีความหมายเหมือนกับ herpes zoster ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Duty free transit | การส่งผ่านแดนโดยปลอดภาษี [เศรษฐศาสตร์] | Tax haven | ดินแดนปลอดภาษี [เศรษฐศาสตร์] | กะเหรี่ยง | ชื่อชนชาวเขาเผ่าหนึ่ง ปกติอาศัยอยู่ทางพรมแดนทิศตะวันตกของประเทศไทย, Example: คำที่มักเขียนผิด กระเหรี่ยง [คำที่มักเขียนผิด] | Basel Convention | อนุสัญญาบาเซล, อนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดน, Example: อนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดน( Basel Convention On the Control of Transboundary Movements of Hazardous Wastes and their Disposal) เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศ ซึ่งกำหนดข้อตกลงระหว่างประเทศในการควบคุมการนำเข้า การส่งออก และการนำผ่านของเสียอันตรายข้ามแดนให้มีความปลอดภัย และไม่เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย และสิ่งแวดล้อมจึงเป็นอนุสัญญาที่ช่วยให้มีการควบคุมการขนส่งเคลื่อนย้าย และการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดนอย่างถูกต้อง และปลอดภัย ประเทศไทยได้มีการลงนามให้สัตยาบันเป็นภาคีอนุสัญญาดังกล่าวแล้ว โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2541 ทั้งนี้ กรมโรงงานอุตสาหกรรม รับผิดชอบปฏิบัติงานในฐานะหน่วยงานผู้มีอำนาจ (Competent Authority) และกรมควบคุมมลพิษปฏิบัติงานในฐานะศูนย์ประสานงาน (Focal Point) นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานอื่นๆ รับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้อง [สิ่งแวดล้อม] | Border patrols | ตำรวจตระเวนชายแดน [TU Subject Heading] | Border security | ความมั่นคงชายแดน [TU Subject Heading] | Border stations | ด่านตรวจชายแดน [TU Subject Heading] | Borderlands | พื้นที่ชายแดน [TU Subject Heading] | Boundaries | เขตแดน [TU Subject Heading] | Boundary disputes | ข้อพิพาทเขตแดน [TU Subject Heading] | Chlordan | คลอแดน [TU Subject Heading] | Exotic animals | สัตว์ต่างแดน [TU Subject Heading] | Extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน [TU Subject Heading] | Jordan | จอร์แดน [TU Subject Heading] | Murdannia | เมอร์แดนเนีย [TU Subject Heading] | Ports of entry | ท่าผ่านแดน [TU Subject Heading] | Tax havens | แดนกำบังภาษี [TU Subject Heading] | Territorial questions | ปัญหาเขตแดน [TU Subject Heading] | Transboundary pollution | มลพิษข้ามแดน [TU Subject Heading] | Transit, International | การขนส่งผ่านเขตแดน [TU Subject Heading] | ASEAN Transport Ministers Meeting | การประชุมรัฐมนตรีขนส่งอาเซียน " จัดขึ้นปีละครั้ง เพื่อหารือและกำหนดแนวทางความร่วมมือด้านการ ขนส่งในอาเซียน อาทิ เส้นทาง ประเภท/ขนาดรถยนต์ การประกันภัยรถยนต์ ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ การตรวจทางศุลกากร การขนส่งสินค้าผ่านแดน การขนส่งสินค้าข้ามแดน และการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงอาเซียน" [การทูต] | alternative perimeter | แนวเขตที่เสนอเป็นทางเลือกในการเจรจาเขตแดนระหว่างประเทศ [การทูต] | Congress of Vienna | เป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต] | continental shelf | ไหล่ทวีป ไหล่ทวีปของรัฐชายฝั่งประกอบด้วย พื้นดินท้องทะเลและดินใต้ผิวดินของบริเวณใต้ทะเล ซึ่งขยายเลยทะเลอาณาเขตของรัฐตลอดส่วนต่อออกไปตามธรรมชาติของดินแดนทางบกของ ตนจนถึงริมนอกของขอบทวีป หรือจนถึงระยะ 200 ไมล์ทะเลจากเส้นฐานซึ่งใช้วัดความกว้างของทะเลอาณาเขตในกรณีที่ริมนอกของ ขอบทวีปขยายไปไม่ถึงระยะนั้น [การทูต] | CSI | เป็นโครงการที่ริเริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2545 โดยสำนักศุลกากรและป้องกันชายแดนสหรัฐอเมริกา ( US Bureau of Customs and Border Protection )ภายใต้กระทรวง Department of Homeland Security มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้แก่สินค้าที่ขนส่งเข้าไปยังสหรัฐ อเมริกา ด้วยการติดตั้งระบบติดตามตู้บรรทุกสินค้าที่มีความเสี่ยงต่อการก่อการร้าย และมีระบบตรวจสอบตู้บรรทุกสินค้าก่อนออกจากประเทศต้นทางไปสู่สหรัฐอเมริกา [การทูต] | delimitation | การกำหนดเขตแดน (ทางบก) / การแบ่งเขตแดน (ทางทะเล) การกำหนด หรือการอธิบาย หรือการจำกัดความขอบเขตของดินแดนของประเทศ [การทูต] | demarcation | การปักปันเขตแดน " การทำเครื่องหมายแสดงเส้นเขตแดนลงในภูมิประเทศโดยวิธีทาง กายภาพ " [การทูต] | Diplomatic Privilege of Accommodation | มาตรา 21 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตบัญญัติไว้ว่า ?1. รัฐผู้ต้อนรับจะต้องอำนวยความสะดวกตามบทกฎหมายของประเทศของตน ในการจัดการให้ได้มาซึ่งดินแดนของตนให้แก่รัฐผู้ส่ง ซึ่งจำเป็นแก่การปฏิบัติภาระหน้าที่ของรัฐนั้น หรือช่วยเหลือให้รัฐผู้ส่งได้รับอาคารที่พำนักด้วยวิธีการหนึ่งใด 2. ในกรณีจำเป็น รัฐผู้รับจะต้องช่วยให้คณะเจ้าหน้าที่ทางการทูต ได้มีสถานที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม?เมื่อตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่ง ตั้งได้เดินทางไปถึงประเทศที่เขาจะเข้าดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ณ ที่นั้นมีคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลของเขาประจำทำงานอยู่แล้ว ตามปกติตัวแทนทูตดังกล่าวจะมีสำนักงานทางการทูตตั้งอยู่แล้วในสถานที่เหมาะ สม มีอุปกรณ์เครื่องใช้ไม้สอยสำหรับการปฏิบัติงานโดยครบครัน และผู้ที่ดำรงตำแหน่งก่อนหน้าเขาหรืออุปทูตชั่วคราวมักจะเตรียมการไว้ก่อน แล้วเกี่ยวกับที่พักอาศัย เรียกว่าทำเนียบ นอกจากว่าจะมีทำเนียบตั้งอยู่ภายในบริเวณตึกสถานเอกอัครราชทูตซึ่งรัฐบาลของ เขาเป็นเจ้าของเองแต่ถ้าหากตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ จะต้องตั้งคณะผู้แทนทางการทูตในประเทศที่เขาเข้าดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรก ก็จะต้องประสบกับปัญหาเรื่องหาสถานที่สำหรับใช้เป็นที่ตั้งสถานเอกอัคร ราชทูตขึ้น ในกรณีเช่นนี้จึงจำเป็นจะต้องอาศัยคำแนะนำและความช่วยเหลือจากกระทรวงการ ต่างประเทศของรัฐผู้รับ กระทรวงการต่างประเทศของบางประเทศจะมีแผนกหนึ่งทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกแก่คณะทูตต่างประเทศโดยเฉพาะ เป็นแผนกหนึ่งในกรมพิธีการทูต ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องทำนองนี้อยู่แล้ว [การทูต] | disguised extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดนแฝง (หรือการผลักดันออกนอกประเทศ) [การทูต] | double criminality | ความผิดตามกฎหมายของทั้ง 2 ประเทศ ใช้ในกรณีส่งผู้ร้ายข้ามแดน [การทูต] | Extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน การที่ชาติหนึ่งยอมส่งคนในชาติของตนให้แก่อีกชาติหนึ่ง คือคนในชาติที่ถูกกล่าวหา หรือต้องโทษฐานกระทำความผิดภายนอกเขตแดนของตน และเป็นความผิดที่กระทำขึ้นในเขตอำนาจของอีกชาติหนึ่ง ซึ่งมีความสามารถที่จะตัดสินคดี รวมทั้งลงโทษบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้นข้ออ้างว่า ในกรณีที่ชนชาติหนึ่งซึ่งถูกกล่าวหาว่าประกอบอาชญากรรมแล้วหลบหนีไปยังต่าง ประเทศนั้น รัฐของผู้ที่ประกอบอาชญากรรมมีสิทธิที่จะขอให้ต่างประเทศนั้นส่งตัวผู้กระทำ ผิดกลับคืนมา เพื่อส่งตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาลงโทษได้ แต่หลายคนยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ในข้อนี้ มีไม่น้อยที่สนับสนุนหลักการที่ว่า กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองหน้าที่ที่จะต้องส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ นอกจากสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่มีต่อกันแล้ว กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองสิทธิที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กัน อย่างไรก็ดี ตามสนธิสัญญาที่มีต่อกัน ผู้ร้ายที่หนีความยุติธรรมจะถูกส่งไปให้อีกประเทศหนึ่งตามสนธิสัญญานั้น จักกระทำโดยวิถีทางการทูต ส่วนผู้หลบหนีเจ้าหน้าที่เพราะเหตุผลทางการเมือง จะส่งข้ามแดนอย่างผู้ร้ายไม่ได้ และเมื่อหลบหนีไปยังอีกประเทศหนึ่งได้สำเร็จ ประเทศนั้นๆ มักจะให้อาศัยพักพิงในประเทศของตนเป็นในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง [การทูต] | extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน โดยมีสนธิสัญญาหรือความตกลงระหว่างประเทศรองรับ [การทูต] | extraditable offence | ความผิดที่ส่งผู้ร้ายข้ามแดนได้ [การทูต] | Freedom of Movement of Diplomatic Agents | เสรีภาพในการเคลื่อนย้ายและการเดินทางของผู้แทน ทางการทูต โดยปกติ รัฐผู้รับย่อมอนุญาตโดยเสรีแก่ผู้แทนทางการทูต ที่จะเคลื่อนย้ายและเดินทางไปไหนมาไหนได้ทั่วประเทศ แต่ระหว่างสงครามเย็นที่ผ่านมา ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการทูตของกลุ่ม ประเทศคอมมิวนิสต์บางแห่ง ได้แก่ สหภาพโซเวียต บัลแกเรีย เชคโกสโลวาเกีย ฮังการี รูเมเนีย และโปแลนด์ นัยว่าสหรัฐฯ ได้กำหนดเขตแขวงในดินแดนของตน 355 แห่ง หรือประมาณร้อยละ 11 ของพื้นที่ทั้งหมด เป็นเขตห้ามเข้าสำหรับผู้แทนทางการทูตของประเทศเหล่านั้นในทำนองเดียวกัน กลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ดังกล่าวก็ได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการ ทูตของสหรัฐฯ เช่นกัน สำหรับเสรีภาพการเคลื่อนย้ายนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในข้อ 26 ว่า?ภายในบังคับของกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐผู้รับเกี่ยวกับการเข้าไปในเขตหวงห้ามหรือวางระเบียบไว้ โดยเหตุผลของความมั่นคงแห่งชาติ ให้รัฐผู้รับประกันแก่สมาชิกทั้งมวลของคณะเกี่ยวกับเสรีภาพในการเคลื่อนไหว และการเดินทางในอาณาเขตของตน? [การทูต] | General Border Committee | คณะกรรมการชายแดนทั่วไป เป็นกลไกความร่วมมือด้านความมั่นคง ชายแดน ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและประเทศเพื่อนบ้านเป็นประธานร่วม กัน ทำหน้าที่กกำหนดแนวทางและมาตรการที่เหมาะสมเกี่ยวกับการส่งเสริมความร่วมมือ รักษาความสงบเรียบร้อยและเสถียรภาพในพื้นที่บริเวณชายแดน ซึ่งกลไกนี้ไทยมีกับประเทศเพื่อนบ้านที่มีพรมแดนติดต่อกันทั้ง 4 ประเทศ [การทูต] | Geneva Conference on the Problem of Restoring Peace in Indo-China | การประชุม ณ นครเจนีวา ว่าด้วยปัญหาการนำสันติภาพกลับคืนสู่อินโดจีน ในการประชุมนี้ มีการทำความตกลงกันเกี่ยวกับการหยุดสู้รบระหว่างกำลังทหารในประเทศเวียดนาม กัมพูชา และลาว กับกำลังทหารฝรั่งเศส ความตกลงดังกล่าวได้กระทำกันในนครเจนีวา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 มีผู้แทนจากประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ฝรั่งเศส ลาว สาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมการประชุมตามข้อตกลงนี้ให้มีการยุติการสู้รบในกัมพูชา ลาว และเวียดนาม และการปฏิบัติให้เป็นไปตามบทบัญญัติในความตกลงดังกล่าว ให้อยู่ใต้ความควบคุมและดูแลระหว่างประเทศ ที่ประชุมเจนีวาได้แสดงความมั่นใจว่า ในการปฏิบัติตามข้อตกลงจะปล่อยให้กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ได้แสดงบทบาทภายใต้ความเป็นเอกราชและอำนาจอธิปไตยของตนอย่างสมบูรณ์ภายใน ประชาคมนานาชาติ สำหรับความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามใด้ห้ามมิให้นำกองทหารและเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหารของต่างชาติ รวมทั้งอาวุธและอุปกรณ์ทางทหารทุกชนิดเข้าไปในประเทศนั้น ที่ประชุมยังได้รับรองว่า วัตถุประสงค์สำคัญยิ่งของความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามคือ ต้องการระงับปัญหาต่าง ๆ ทางทหาร เพื่อยุติการสู้รบ และการปักปันเส้นเขตแดนทางทหารนั้น ให้ถือเป็นการชั่วคราว มิได้หมายความว่าเป็นแนวแบ่งเขตทางการเมืองหรือทางดินแดนแต่ประการใดทั้งสิ้น [การทูต] | Genocide | การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หรือฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1946 สมัชชาสหประชาชาติได้ยืนยันเป็นเอกฉันท์ว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์หรือการฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อนนั้นให้ถือเป็นอาชญากรรม ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งโลกที่บรรลุความเจริญแล้วประณามอย่างรุนแรงอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษอาชญากรรมเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นี้ สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติรับรองเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญานี้ได้นิยามคำว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) หมายถึงการประกอบอาชญากรรมบางอย่าง โดยมีเจตนาที่จะทำลายล้างกลุ่มชนชาติ กลุ่มเผ่าพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ หรือกลุ่มศาสนา ในบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม การประกอบกรรมซึ่งถือเป็นการฆ่าล้างชาตินั้นได้แก่ การฆ่า การทำให้เกิดความเสียหายอย่างสาหัส ทั้งต่อร่างกายหรือจิตใจ และการบังคับให้มีสภาวะการครองชีพที่เจตนาจะให้ชีวิตร่ายกายถูกทำลาย ไม่ว่าจะเพียงส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดก็ตาม ตลอดจนออกมาตรการกีดกันมิให้มีลูกและโยกย้ายเด็ก ๆ ไม่เพียงแต่การฆ่าล้างชาติอย่างเดียว หากแต่การคบคิดหรือการยุยงให้มีการฆ่าล้างชาติ รวมทั้งความพยายามที่จะฆ่าล้างชาติและสมรู้ร่วมคิดในอาชญากรรมดังกล่าว ย่อมถูกลงโทษได้ตามนัยแห่งอนุสัญญานี้ บรรดาผู้ที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกลงโทษไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นผู้ ปกครอง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง หรือเอกชนส่วนบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดของตามกฎหมายก็ตามบรรดาประเทศที่ภาคี อนุสัญญานี้จำเป็นต้องออกกฎหมายของตนเพื่อรองรับ และจะต้องตกลงเรื่องส่งผู้ร้ายข้ามแดนในกรณีที่บุคคลนั้นๆ มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติ และบุคคลที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกพิจารณาลงโทษในประเทศที่มีการ ประกอบอาชญากรรมดังกล่าวขึ้น หรือโดยศาลระหว่างประเทศที่มีอำนาจครอบคลุมถึงเจตนารมณ์ของสนธิสัญญานี้ เพื่อต้องการป้องกัน และลงโทษอาชญากรรมฆ่าล้างชาติ ไม่ว่าจะประกอบขึ้นในยามสงครามหรือในยามสงบก็ตามอนุสัญญาดังกล่าวได้เริ่มมี ผลบังคับเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นเวลา 90 วันหลังจากที่ 20 ประเทศได้ให้สัตยาบัน หรือให้ภาคยานุวัติตามที่ระบุอยู่ในอนุสัญญา อนุสัญญานี้จะมีผลบังคับเป็นเวลา 10 ปี และมีการต่ออายุสัญญาทุก 5 ปี สำหรับประเทศที่มิได้บอกเลิกสัญญา หากประเทศที่ยังเป็นภาคีอนุสัญญามีจำนวนเหลือไม่ถึง 16 ประเทศ อนุสัญญานี้จะเลิกมีผลบังคับทันที [การทูต] | goods in transit | สินค้าที่ส่งผ่านแดน หมายถึง สินค้าที่มีการส่งจากรัฐหนึ่งผ่านรัฐหนึ่งรัฐใด หรือหลายรัฐไปยังอีกรัฐหนึ่ง โดยมีการขนถ่ายสินค้าที่ต้นทางและปลายทางเท่านั้น ซึ่งเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของความร่วมมือด้านการขนส่งของอาเซียน [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Government in Exile | รัฐบาลพลัดถิ่น คือระหว่างที่สงครามยังดำเนินอยู่ ประเทศคู่สงครามหนึ่งอาจถูกกองทัพของประเทศฝ่ายศัตรูเข้ายึดครอง ในสถานการณ์เช่นนั้น ตัวหัวหน้าของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีของประเทศที่ถูกยึดครองอำนาจอาจไปตั้ง รรัฐบาลขึ้นชั่วคราวในดินแดนของประเทศพันธมิตรหนึ่ง ซึ่งยินยอมให้ทำเช่นนั้น รัฐบาลที่ตั้งขึ้นเป็นการชั่วคราวดังกล่าวเรียกว่า รัฐบาลพลัดถิ่น ตราบใดที่รัฐบาลพลัดถิ่นได้รับการรับรองฐานะเป็นตัวแทนของประเทศตน ย่อมดำเนินกิจการหน้าที่ของประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเทศอื่นๆ ได้ รัฐบาลพลัดถิ่นจะยังคงสถานภาพของตนไว้ตราบเท่าที่ยังไม่มีความพยายามต่อไป ที่จะยึดเอาดินแดนของตนที่ข้าศึกครองอยู่กลับคืนมาให้ได้ ตัวอย่างของรัฐบาลพลัดถิ่นที่เคยมีมาแล้วคือ รัฐบาลของประเทศโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ กรีซ และยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ไปตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ เมื่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตอนที่ดินแดนของประเทศเหล่านี้ได้ถูกกองทัพของเยอรมนีเข้ายึดครอง [การทูต] | Indigent Nationals | คนในชาติที่ต้องประสบความยากจนข้นแค้นในต่างแดน ในเรื่องนี้ มีหลายประเทศได้อนุญาตให้ผู้แทนทางการทูตและทางกงสุลของตนอำนวยความช่วย เหลือเท่าที่จำเป็นแก่คนชาติของตนที่ประสบความยากจนข้นแค้นในต่างประเทศรวม ทั้งค่าส่งตัวกลับประเทศด้วย มีหลายรายที่กำหนดให้คนชาติที่ต้องทุกข์นั้น แจ้งถึงสาเหตุที่ต้องประสบความยากจนข้นแค้น และสัญญาว่าเงินที่ได้รับนี้จะต้องชดใช้คืนภายหลัง ตามปกติ ผู้แทนทางการทูตหรือกงสุลจะต้องปรึกษากับกระทรวงการต่างประเทศของตน ก่อนที่จะนำเงินให้คนชาติของตนกู้ยืมหรือไปรับรองบุคคลเหล่านั้น หรือไปรับผิดชอบทางการเงินใดๆ [การทูต] | International Civil Aviation Organization | เรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ [การทูต] | Joint Commission | คณะกรรมาธิการร่วม " เป็นกลไกความร่วมมือในระดับทวิภาคีระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก JC มีบทบาทในการดูแลและส่งเสริมความสัมพันธ์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการเมือง เศรษฐกิจ การค้า การลงทุน วัฒนธรรม และสังคม โดยแต่ละฝ่ายจะสลับกันเป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุม ซึ่งอาจมีขึ้นปีละครั้งหรือ 2-3 ปีต่อครั้ง ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและความสะดวกของทั้งสองฝ่าย JC อาจมีกลไกย่อยหรือคณะกรรมการภายใต้ JC เพื่อกำกับดูแลเฉพาะเรื่องหรือมีคณะกรรมการในระดับส่วน ภูมิภาค เช่น ไทยกับมาเลเซียมีคณะกรรมการชายแดนทั่วไป (General Border Committee - GBC) มีบทบาทในการดูแลความร่วมมือด้านการทหารและความมั่นคงบริเวณชายแดน และมีคณะกรรมการจัดทำหลักเขตแดนทางบก (Land Boundary Committee - LBC) เพื่อดูแลการจัดทำหลักเขตแดนระหว่างประเทศทั้งสอง นอกจากนั้น ยังมีคณะกรรมการร่วมทางการค้า (Joint Trade Committee - JTC) ระหว่างไทยกับบางประเทศ เป็นกลไกเพื่อส่งเสริมการค้าและขจัดอุปสรรคทางการค้าระหว่างกัน " [การทูต] | Joint Development Area | พื้นที่พัฒนาร่วม " หมายถึง พื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยกับมาเลเซีย อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการแก้ไขปัญหาเขตแดนทางทะเลระหว่างทั้งสองประเทศ ทั้งนี้ ทั้งสองฝ่ายได้ตกลงที่จะแปรปัญหาเขตทับซ้อนในไหล่ทวีป ซึ่งมีพื้นที่ 7,250 ตารางกิโลเมตร ให้เป็นพื้นที่พัฒนาร่วม โดยการแสวงหาและนำเอาทรัพยากรปิโตรเลียมในพื้นที่ดังกล่าวมาใช้และแบ่งปันผล ประโยชน์ บนพื้นฐานของความเท่าเทียมกันในลักษณะ 50 : 50 ซึ่งนับว่าเป็น ตัวอย่างที่ดีในการแก้ไขกรณีพิพาทเกี่ยวกับเขตทับซ้อนทางทะเลสำหรับประเทศ อื่น ๆ " [การทูต] | Thailand-Malaysia Committee on Joint Development Strategy for border areas | คณะกรรมการว่าด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาร่วมสำหรับ พื้นที่ ชายแดนไทย-มาเลเซีย [การทูต] | jus soli (ภาษาลาติน) | กฎหมายที่กำหนดสัญชาติตามหลักดินแดน [การทูต] | Marshall Plan | แผนการมาร์แชล ในโอกาสวันประสาทปริญญาของนักศึกษามหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ดในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ยอร์ช ซี.มาร์แชล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ สมัยนั้น ได้กล่าวอยู่ตอนหนึ่งในสุนทรพจน์ว่า?สหรัฐอเมริกาควรจะทำทุกอย่างเท่าที่จะ สามารถกระทำได้ เพื่อช่วยให้ดินแดนต่าง ๆ ในโลกได้กลับคืนสู่ภาวะปกติทางเศรษฐกิจ เพราะหากปราศจากภาวะดังกล่าว โลกก็จะไม่มีเสถียรภาพที่สถาพร นโยบายของสหรัฐฯ มิได้มุ่งจะเป็นปฏิปักษ์ต่อประเทศใดหรือลัทธิใด หากมุ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อความหิวโหย ความยากจน ความสิ้นหวัง และความยุ่งเหยิง การที่จะให้สหรัฐอเมริการับภาระในการจัดวางโครงการแต่ฝ่ายเดียว เพื่อช่วยให้ทวีปยุโรปสามารถช่วยตนเองทางเศรษฐกิจขึ้นใหม่ นับว่ายังไม่เหมาะสมและถูกต้องนัก ควรจะให้เป็นภาระหน้าที่ของชนชาวยุโรปทั้งหลายเอง บทบาทของสหรัฐฯ ควรจะเป็นเพียงผู้เสนอให้ความความช่วยเหลือฉันมิตร ในการร่างโครงการช่วยเหลือทวีปยุโรป และให้ความสนับสนุนแก่โครงการนั้น ตราบที่โอกาสจะเอื้ออำนวยต่อการกระทำเช่นนั้นได้?จากสุนทรพจน์ข้างต้น พอจะเข้าใจจุดประสงค์สำคัญของสหรัฐอเมริกาได้ไม่ยากว่า ไม่ต้องการให้ทวีปยุโรป ซึ่งกำลังอ่อนแอโดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจหลังจากเสร็จสงครามใหม่ ๆ ต้องตกไปอยู่ใต้อำนาจครอบงำของฝ่ายคอมมิวนิสต์นั่นเอง [การทูต] | Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] | PA | Palestinian Authority หรือ Palestinian National Authority (PNA) เป็นองค์การบริหารดินแดนยึดครอง (Occupied Territories) ในเขต Gazza และเขต West Bank ได้รับการจัดตั้งเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ.2537 ซึ่งเป็นผลจากความตกลงออสโล (Oslo Accords) ระหว่างอิสราเอลกับ Palestinian Liberation Organization (PLO) เพื่อเป็นองค์กรบริหารดินแดนยึดครองก่อนที่การเจรจา Final Statua จะประสบความสำเร็จ [การทูต] | Pacific Charter | คือกฎบัตรแปซิฟิค ซึ่งประกาศ ณ กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ในโอกาสที่มีการตกลงกันทำสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia Defense Treaty-SEATO ) ประเทศที่ลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญา คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาสาระสำคัญในสนธิสัญญาดังกล่าว หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า SEATO (ซีโต้) นั้นคือ ทุกประเทศภาคีจะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้พลเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมาตรฐานการครอง ชีพสูงขึ้น มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมีสวัสดิภาพสังคมที่ดี แต่จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคามสนธิสัญญาคือ บรรดาประเทศภาคีตกลงที่จะป้องกันหรือตอบโต้ความพยายามใด ๆ ที่จะล้มล้างเสรีภาพที่มีอยู่ในเขตสนธิสัญญา หรือทำลายอธิปไตยหรือบูรณภาพแห่งเขตแดนของประเทศภาคี พูดอย่างสั้น ๆ ก็คือฝ่ายโลกเสรีอันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ต้องการกีดกันมิให้ประเทศฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไปมีอำนาจครอบงำดินแดนเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างสงครามเย็น (Cold War ) โดยวิธีรุกรานหรือวิธีอื่นใดก็ตาม [การทูต] |
| Danny! | แดนนี่! The Fast and the Furious: Tokyo Drift (2006) | What about Dan? | แล้วแดนล่ะ The Lost Boy (2009) | Danny! | แดนนี่! Mai Ka Wa Kahiko (2012) | It's barbaric, but hey--it's home! | มันเป็นเดินแดนอันโหดร้าย, แต่มันคือบ้าน! Aladdin (1992) | Welcome to Agrabah, City of mystery, of enchantment, and the finest merchandise this side of the river Jordan, on sale today, come on down! | ยินดีต้อนรับสู่อุคกราบาห์ นครแห่งความลี้ลับ แห่งความเคลิบเคลิ้ม และสินค้าค้าขายที่ดีที่สุดในแถบ แม่น้ำจอร์แดน เริ่มขายแล้ววันนี้ มาเลย! ดูนี่สิ! Aladdin (1992) | Your majesty, I have journeyed from afar to seek your daughter's hand. | ฝ่าบาท ข้าเดินทางมาจากแดนไกล เพื่อมือของลูกสาวท่าน Aladdin (1992) | I'm like a shooting star, | มาจากแดนไกล Aladdin (1992) | Perhaps you've been soldiering and seen some service abroad. | คงไปรับราชการเป็นทหาร และออกเดินทางไปรบต่างแดน มากระมัง Wuthering Heights (1992) | I've just sighted the shore of one of its continents. | ราวกับกำลังจะพบชายฝั่งของดินแดนใหม่ The Lawnmower Man (1992) | Utopia, Doctor. | ดินแดนในอุดมคติ ด็อกเตอร์ The Lawnmower Man (1992) | The utopia that men have dreamed of for a thousand years... and I'll be the conduit. | ดินแดนที่มนุษย์เฝ้าฝันถึงมานับร้อยปี และผมคือทางผ่านสู่มัน The Lawnmower Man (1992) | This technology has peeled back a layer... to reveal another universe. | เทคโนโลยีนี้ จะพาเราไปสู่ดินแดนใหม่ ในอีกห้วงจักรวาลหนึ่ง The Lawnmower Man (1992) | Tommo, get their trousers down. I fucking warned you, Danny. | Tommo รับกางเกงของพวกเขาลง ฉันร่วมเพศเตือนคุณ, แดนนี่ In the Name of the Father (1993) | - Shut up, Danny! | - - หุบปาก, แดนนี่! In the Name of the Father (1993) | And, Danny, it's the last time. | และแดนนี่ก็เป็นครั้งสุดท้าย In the Name of the Father (1993) | "'but it comes from afar and carries with it all my good intentions." | "แต่มันมาจากแดนไกล "และหอบเอาความปรารถณาดีของแม่มาด้วย" The Joy Luck Club (1993) | Mrs. Jordan, you sound as if Ted and I are getting married. | คุณนายจอร์แดนคะ คุณพูดอย่างกับว่า ฉันกับเท็ดกำลังจะแต่งงานกันเลย มันยังแทบจะไม่เป็นแบบนั้นเลยด้วยซ้ำ The Joy Luck Club (1993) | I will tell them this feather may look worthless, but it comes from afar and carries with it all my good intentions. | ฉันจะบอกพวกเขาว่า ขนหงส์นี้อาจดูไร้ค่า แต่มันมาจากแดนไกล และอัดแน่นไปด้วยความตั้งใจที่ดีของฉัน The Joy Luck Club (1993) | Ah, little Harry and Jordan. Won't they be surprised? | เอ่อ แฮร์รี่น้อย และ จอร์แดน พวกเขาจะไม่ประหลาดใจงั้นเหรอ? The Nightmare Before Christmas (1993) | - [ Announcer #2 ] Well, Dan, that had to be the bloodiest, hands down, the most brutal fight this city's ever seen. | - [ ประกาศ # 2 ] ดีแดนที่จะต้องชุ่ม, มือลง, การต่อสู้ที่โหดร้ายมากที่สุดของเมืองนี้ที่เคยเห็น Pulp Fiction (1994) | Inhabited by numerous warring clans | พวกยุโรปพบแดนกันดารที่ไร้ต้นไม้ เป็นที่อยู่ของเผ่านักรบหลายตระกูล Rapa Nui (1994) | Right on the border. | ขวาบนชายแดน The Shawshank Redemption (1994) | I hope I can make it across the border. | ฉันหวังว่าฉันสามารถทำให้มันข้ามพรมแดน The Shawshank Redemption (1994) | He's now at peace. | ตอนนี้... ...เขาอยู่ในแดนสุขาวดี Ace Ventura: When Nature Calls (1995) | This land holds great beauty! | ดินแดนนี้สวยงามจับใจ Ace Ventura: When Nature Calls (1995) | Well, if this isn't a mountain, then Anson might just as well redraw the border and put us all in England, God forbid. | คือถ้าที่นี่ไม่ใช่ภูเขา แอนสันก็อาจจะขีดเส้นพรมแดนใหม่ และเอาเรารวมไปกับอังกฤษ The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | If we're lucky, it's exotic. We can trace the sale. | ถ้ามาจากต่างแดนตามรอยซื้อขาย Heat (1995) | I'm Don Breedan. | ดอน บรีแดน Heat (1995) | 60, 000 men are on the border. | 000 นาย เตรียมพร้อมที่ชายแดน The Great Dictator (1940) | Our troops, tanks and guns will be hidden along the border. | ทหารของเรา รถถังและปืนใหญ่ ได้ซุ่มอยู่ที่ชายแดนครับ The Great Dictator (1940) | Now about the border. | เกี่ยวกับชายแดน ตอนนี้ The Great Dictator (1940) | - So... the border question. | - ดังนั้น... ขอถามเรื่องชายแดน The Great Dictator (1940) | We sign, then I remove my troops from the border. | เราจะทำสัญญา เราจะเคลือนกองทัพออกจากชายแดน The Great Dictator (1940) | What would my people think, signing such a treaty when your soldiers are on the border? | อะไรที่ทำให้คุณคิดว่าผมจะลงนามในสัญญา ในขณะที่กองทัพคุณยังอยู่ที่ชายแดน The Great Dictator (1940) | No, the open. The border's that way. | ไม่ มันน่าสงสัย เราจะไปที่ชายแดน The Great Dictator (1940) | Did you say Danvers? | - คุณพูดว่าแดนเวอร์สเหรอ Rebecca (1940) | Mrs. Danvers' orders, sir. | - คำสั่งของคุณนายแดนเวอร์สครับท่าน Rebecca (1940) | You don't have to worry about the house at all. Mrs. Danvers is the housekeeper. | คุณไม่จำเป็นต้องห่วงเรื่องบ้านเลย คุณนาย แดนเวอร์สเป็นแม่บ้าน ปล่อยเป็นหน้าที่ของหล่อน Rebecca (1940) | Mrs. Danvers, I do hope we'll be friends. | คุณนายแดนเวอร์สคะ ฉันหวังว่าเราจะเป็นเพื่อนกันได้ Rebecca (1940) | Oh, yes, of course. Thank you, Mrs. Danvers. | อ๋อ ใช่สินะ ขอบคุณคะ คุณนายแดนเวอร์ส Rebecca (1940) | I wonder how she likes it now, being ordered about by an ex-chorus girl. | อยากรู้จริงว่า ทีนี้แดนเวอร์สจะทำยังไง เมื่อต้องมารับคำสั่งจากอดีตนักร้อง Rebecca (1940) | It appears that Mrs. Danvers has accused Robert of stealing a valuable ornament from the morning room. | คุณนายแดนเวอร์สกล่าวหาว่าโรเบิร์ต ขโมยของประดับมีค่าในห้องนั่งเล่นเช้า Rebecca (1940) | Well, tell Mrs. Danvers to get to the bottom of it somehow. - Tell her I'm sure it wasn't Robert. | ไปบอกคุณนายแดนเวอร์สให้สืบให้รู้ว่าเป็นใคร ฉันเชื่อว่าไม่ใช่ฝีมือโรเบิร์ต Rebecca (1940) | It's all a mistake, Mrs. Danvers. Apparently, Mrs. De Winter broke the cupid herself and forgot to say anything about it. | เป็นเรื่องเข้าใจผิดน่ะ คุณนายแดนเวอร์ส คุณผู้หญิงเป็นคนทำตุ๊กตาแตกแต่ลืมบอกไป Rebecca (1940) | Well, it looks as though Mrs. De Winter was afraid you were going to put her in prison, doesn't it, Mrs. Danvers? | ดูเหมือนคุณผู้หญิงจะกลัวคุณจับเข้าคุกนะ คุณนายแดนเวอร์ส Rebecca (1940) | I've been asked to tea, Danny, and I've a good mind to accept. | ผมได้รับคําเชิญ ก็ต้องตอบตกลงสินะ แดนนี่ Rebecca (1940) | "Come on, Danny. Hair drill, " she would say. | ท่านจะพูดว่า "มา แดนนี่ มาม้วนผมให้ที" Rebecca (1940) | And then she would say, "Good night, Danny, " | เสร็จเเล้วท่านก็จะพูดว่า "ราตรีสวัสดิ์แดนนี่" Rebecca (1940) | Mrs. Danvers, I intend to say nothing to Mr. De Winter about Mr. Favell's visit. | คุณนายแดนเวอร์สคะ ฉันจะไม่เล่าให้ คุณเดอ วินเทอร์ฟังเรื่องที่คุณฟาเวลแวะมา Rebecca (1940) | That's the one privilege I claim as the host. What will you be? Alice in Wonderland, with that ribbon around your hair? | เจ้าภาพก็มีอภิสิทธิ์แบบนี้ล่ะ แล้วคุณจะเป็นอะไร เป็นอลิซในแดนมหัศจรรย์มีโบว์ผูกผมดีมั้ย Rebecca (1940) |
| อำเภอชายแดน | [amphoē chāidaēn] (n, exp) FR: ville frontalière [ f ] | ชายแดน | [chāidaēn] (n) EN: border ; frontier ; boundary ; borderland FR: frontière [ f ] | แดน | [daēn] (n) EN: country ; land ; territory FR: pays [ m ] ; contrée [ f ] ; territoire [ m ] | แดนลับแล | [daēn laplaē] (x) EN: legendary town which can be found by chance | แดนนรก | [daēn narok] (n, exp) EN: hell | แดนประหาร | [daēn prahān] (n, exp) EN: gallows | แดนสุขาวดี | [daēn sukhāwadī] (n, exp) EN: paradise | แดนธรรม | [daēn tham] (n, exp) EN: land of justice | แดนไตร | [daēntrai] (n) EN: three boundaries of the three worlds | ดินแดน | [dindaēn] (n) EN: territory ; country ; land FR: territoire [ m ] ; pays [ m ] | ดินแดนโพ้นทะเล | [dindaēn phōnthalē] (n, exp) FR: territoire d'outre-mer (TOM) [ m ] | จังหวัดชายแดน | [jangwat chāidaēn] (n, exp) EN: border province FR: province frontalière [ f ] | จอร์แดน | [Jødaēn] (n, prop) EN: Kingdom of Jordan ; Jordan FR: Jordanie [ f ] | จุดผ่านแดน | [jut phān daēn] (n, exp) EN: border crossing | การได้ดินแดน | [kān dāi dindaēn] (n, exp) EN: acquisition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน | [kān song phūrāi khām daēn] (n, exp) EN: extradition FR: extradition [ f ] | ข้ามแดน | [khām daēn] (v, exp) EN: cross the frontier FR: passer la frontière ; traverser la frontière | ขโมยข้ามพรมแดน | [khamōi khām phromdaēn] (xp) EN: cross the border illegally FR: franchir la frontière illégalement | ข้ามพรมแดน | [khām phromdaēn] (adj) EN: crossing borders | คำร้องขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดน | [khamrøngkhø hai song phūrāi khām daēn] (n, exp) EN: extradition request | เขตแดน | [khētdaēn] (n) EN: frontier ; border ; boundary FR: frontière [ f ] | เขตแดนประเทศ | [khētdaēn prathēt] (n, exp) FR: limites territoriales [ f ] | เขตพรมแดน | [khēt phromdaēn] (n, exp) EN: borderland ; frontier FR: zone frontalière [ f ] | คนต่างแดน | [khon tāngdaēn] (n, exp) EN: foreigner FR: étranger [ m ] ; étrangère [ f ] | ข้อตกลงส่งผู้ร้ายข้ามแดน | [khøtoklong song phūrāi khām daēn] (n, exp) EN: extradition treaty FR: traité d'extradition [ m ] | กฎหมายที่กำหนดสัญชาติตามดินแดน | [kotmāi thī kamnot sanchāt tām dindaēn] (n, exp) EN: jus soli | หมู่บ้านชายแดน | [mūbān chāidaēn] (n, exp) EN: border village FR: village frontalier [ m ] | ณ ดินแดน | [na dindaēn] (xp) FR: dans le pays de | แนวชายแดน | [naēo chāidaēn] (n, exp) EN: border FR: ligne de frontière [ f ] | แนวเขตแดน | [naēo khētdaēn] (n, exp) EN: boundary line | แนวพรมแดน | [naēo phromdaēn] (n, exp) EN: boundary FR: ligne frontière [ f ] | องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน | [Ongkøn Nakkhāo Rai Phromdaēn] (org) EN: Reporters Without Borders (RWB) FR: Reporters sans frontières (RSF) | พรมแดน | [phromdaēn] (n) EN: border ; boundary line FR: frontière [ f ] ; limite territoriale [ f ] | ปิดพรมแดน | [pit phromdaēn] (v, exp) EN: close the border FR: fermer la frontière | ประเทศจอร์แดน | [Prathēt Jødaēn] (n, prop) EN: Jordan FR: Jordanie [ f ] | ไร้พรมแดน | [rai phromdaēn] (x) EN: without borders FR: sans frontières | ส่งผู้ร้ายข้ามแดน | [song phūrāi khām daēn] (v, exp) EN: extradite ; extradite a criminal FR: extrader | สนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดน | [sonthisanyā song phūrāi khām daēn] (n, exp) EN: extradition treaty FR: traité d'extradition [ m ] | ตลาดชายแดน | [talāt chāidaēn] (n, exp) EN: border market FR: marché frontalier [ m ] | ตำรวจตระเวนชายแดน | [tamrūat trawēn chāidēn] (n, exp) FR: police des frontières [ f ] | ต่างแดน | [tāngdaēn] (n) EN: foreigner | ต่างแดน | [tāngdaēn] (adj) EN: exotic | ต่างถิ่นต่างแดน | [tāngthin-tāngdaēn] (n) EN: foreign country |
| ice cap | (n) ดินแดนที่ปกคลุมด้วยน้ำแข็งต่ำกว่า 50, 000 ตารางกิโลเมตร เช่น บริเวณขั้วโลก | punt | (vi) เตะกินแดน (ใช้ในอเมริกันฟุตบอล) |
| abroad | (adv) ในต่างประเทศ, See also: ในต่างชาติ, ในต่างแดน, ที่อยู่ในเมืองนอก | across | (prep) ข้าม, See also: ข้ามพรมแดน, Syn. over | adjoin | (vi) มีเขตแดนติดกัน, Syn. beside, be adjacent to | adjoin | (vt) มีเขตแดนติดกับ | border | (n) เขตแดน, See also: พรมแดน, ชายแดน, Syn. frontier | borderland | (n) พรมแดน | borderline | (n) เส้นแบ่งขอบเขต, See also: เส้นเขตแดน, เส้นแสดงเขต, Syn. borders | borderline | (adj) ตามชายแดน, See also: ก้ำกึ่ง | bound | (n) เส้นแบ่งเขตแดน, See also: เส้นแบ่งเขต, Syn. boundary | bound | (n) เส้นขอบเขต, See also: ขอบเขต, เส้นแบ่งเขตแดน | boundaries | (n) เขตแดน, See also: กั้นเขตแดน, เส้นแบ่งเขต | boundary | (n) ขอบเขต, See also: เขตแดน, อาณาเขต, Syn. border | breadbasket | (n) ดินแดนส่วนที่ผิดอาหารจำนวนมากให้ประเทศ | bridgehead | (n) ที่มั่นของกองทัพที่อยู่ในดินแดนข้าศึก | brownfield | (adj) ซึ่งเป็นดินแดน | celestial sphere | (n) สวรรค์, See also: ดินแดนในจิตนาการที่อยู่บนท้องฟ้า, Syn. empyrean, heavens | center | (n) ผู้เล่นในแดนกลาง | centre | (n) ผู้เล่นในแดนกลาง | Chinatown | (n) ชุมชนคนจีนในต่างแดน | extradite from | (phrv) ส่งผู้ร้ายหรือคนไม่ดีจาก, See also: ส่งข้ามแดนจาก | define | (vt) เป็นเครื่องหมายแสดง, See also: บอกขอบเขต, กำหนดเขตแดน, Syn. restrict, limit, delimit | demarcate | (vt) ปักเขต, See also: กำหนดเขต, กั้นเขตแดน, Syn. fence off, delimit | district | (vt) กำหนดอาณาเขต, See also: แบ่งอาณาเขต, แบ่งเขตแดน | district | (n) เขต, See also: เขตแดน, บริเวณ, อาณาบริเวณ, แขวง, ตำบล, Syn. locality, territory neighborhood | domain | (n) อาณาเขต, See also: อาณาจักร, เขตแดน, Syn. estate, land, territory | dominion | (n) อาณาจักรปกครอง, See also: ดินแดนที่ครอบครอง, Syn. possession, empire, kingdom | dreamland | (n) ดินแดนในฝัน | Elysium | (n) ดินแดนสวรรค์ในเทพปกรนัมของกรีก, Syn. heaven, Elysian Fields, paradise | enclave | (n) ประเทศหรือดินแดนเล็กๆ ที่มีวัฒนธรรมและเชื้อชาติแตกต่างจากดินแดนอื่นที่ล้อมรอบอยู่ | Etruria | (n) ดินแดนทางชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของแหลมอิตาลี | exotic | (adj) มาจากต่างประเทศ, See also: มาจากดินแดนอื่น, มาจากภูมิภาคอื่น, Syn. foreign | extradite | (vt) ส่งผู้ร้ายข้ามแดน, See also: ส่งอาชญากรข้ามแดน | faerie | (n) ดินแดนในเทพนิยาย, See also: ดินแดนเนรมิตในนิทาน, Syn. fairyland, faery, wonderland | fairyland | (n) แดนสวรรค์, See also: ดินแดนหรรษา | frontier | (n) ชายแดน, See also: พรมแดน, เขตแดน, แนวพรมแดน, แนวเขตแดน, Syn. border, borderline, boundary | get abroad | (phrv) ไปต่างประเทศ, See also: ไปเมืองนอก, ไปต่างแดน, Syn. go abroad, take abroad | Hittite | (n) ชนชาติหนึ่งในเอเชียสมัยโบราณที่ปกครองดินแดนในเอเชียไมเนอร์และทางเหนือของซีเรีย | illimitable | (adj) ไร้พรมแดน (คำทางการ), See also: ไร้เขตแดน, ไร้ขอบเขต, Syn. boundless, limitless, Ant. limitable | independency | (n) รัฐอิสระ, See also: ดินแดนอิสระ, ดินแดนที่เป็นเอกราช | inland | (adv) เข้าในประเทศ, See also: ภายในดินแดน, Ant. seawards | inviolable | (adj) ซึ่งไม่อาจรุกล้ำได้ (เขตแดน), See also: ซึ่งไม่สามารถล่วงละเมิดได้ | irredentism | (n) ลัทธิสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืน (ในอิตาลีปีค.ศ.1878) | Jordan | (n) จอร์แดน, See also: ประเทศจอร์แดน | Jordan | (n) ประเทศจอร์แดน | kingdom | (n) ราชอาณาจักร, See also: อาณาจักร, ดินแดน, ประเทศที่ปกครองโดยพระราชาหรือพระราชินี, Syn. realm | land | (n) อาณาจักร, See also: ขอบเขตปกครอง, ดินแดน, เขต, Syn. realm, domain | latitude | (n) พื้นที่ใกล้เส้นรุ้ง (ใช้ในรูปพหูพจน์), See also: ดินแดน, แถบ | line | (n) เส้นแบ่งเขต, See also: เส้นเขต, ขอบเขต, เขตแดน, Syn. limit, border | march | (n) แนวเขตแดน, See also: ชายแดน, Syn. border | marginal | (adj) ซึ่งอยู่ในขอบของหน้ากระดาษ, See also: เกี่ยวกับขอบ, เกี่ยวกับขอบเขต, เกี่ยวกับพรมแดน, Syn. limited, peripheral |
| abuttal | (อะบัท' ทัล) เขตแดน., Syn. abuttals | acaridan | (อะแคร' ริแดน) adj. เกี่ยวกับแมลงจำพวกเห็บหรือหมัด (family Acarina) | andante | (แอนแดน' ที) adj. ค่อนข้างช้าและแรียบ (เสมอ) . จังหวะช้า ๆ (walking) | andantino | (แอนแดนที' โน) n., adj. adv. จังหวะที่ค่อนข้างเร็วกว่า andante, ค่อนข้างเร็วกว่า andante | azerbijan | (อาเซอะไบแจน') n. ชื้อดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย, ชื่อจังหวัดในอิหร่าน., Syn. Azerbaidzhan | border | (บอร์'เดอะ) { bordered, bordering, borders } n. ชายแดน, ขอบ, ริม, เนิน -v. มีเขตแดนติดต่อกับ, คล้ายกับ, ใกล้เคียง, เหมือน, Syn. brink | border line | n. เส้นพรมแดน, เส้นเขตแดน | borderland | n. พรมแดน, ภาวะที่ไม่แน่นอน, เขตแดนที่คลุมเครือ, ความก้ำกึ่ง, Syn. border | borderline | adj. ตามพรมแดนตามชายแดน, ก้ำกึ่ง, Syn. indeterminate | bound | (เบาดฺ) { bounded, bounding, bounds } adj. ถูกผูกมัด, เหนียวแน่น, แน่นอน, จักต้อง, ตัดสินใจ, เข้าเล่ม, ท้องผูก vi. กระโดด, เด้งกลับ, จดกับ, ประชิดกับ vt. จำกัด, กลายเป็นขอบเขต, พูดถึงขอบเขต -n. การกระโดด, การเด้งกลับ, ขอบเขต, ชายแดน adj. กำลังจะ, ไปทาง, พร้อมที่จะ | boundary | (เบา'ดะรี) n. เขตแดน, เส้นแบ่งเขต | cadastral | adj. แสดงขอบเขตหรือเส้นพรมแดนหรือที่ดินหรือภูมิภาค | cameroons | (แคมมะรูนซฺ') n. ชื่อดินแดนในอาณัติของเยอร มันสมัยก่อน | cloudland | n. แดนในฝัน, แดนที่ไม่เป็นความจริง | cockaigne | (โคเคน') n. แดนสุขาวดีในฝัน | cockayne | (โคเคน') n. แดนสุขาวดีในฝัน | commandant | (คอม'มันดานทฺ, -แดนทฺ) n. ผู้บังคับบัญชา, ผู้บัญชาการ | confidant | (คอนฟิแดนทฺ') n. คนที่ไว้วางใจ, คู่คิด, คนสนิท, Syn. intimate -Conf. confident | confidante | (คอนฟิแดนทฺ') n. confidant (ดู) ที่เป็นผู้หญิง, Syn. female confidant | conterminous | adj. มีพรมแดนร่วมกัน, ซึ่งบรรจบกันตรงปลาย., See also: conterminousness n. ด | continent | (คอน'ทะเนินทฺ) n. ทวีป, ผืนแผ่นดินใหญ่ (ซึ่งต่างจากเกาะหรือคาบสมุทร) , ส่วนที่ต่อเนื่องกัน, สิ่งที่เป็นที่บรรจุหรือพรมแดน -Phr. (the Continent ผืนแผ่นดินใหญ่ของยุโรป (ซึ่งต่างจากเกาะอังกฤษ) , adj. ซึ่งควบคุมตัวเอง, Syn. abstinent, Ant. le | dandelion | (แดน'ดะไลออน) n. ต้นไม้จำพวกหนึ่งมีใบหยิก ดอกสีเหลือง | dandruff | (แดน'ดรัฟ) n. ขี้รังแค, See also: dandruffy adj. ดูdandruff dandriffy adj. ดูdandruff, Syn. dandriff | dandy | (แดน'ดี) n. ผู้ชายที่สำรวย, คนขี้โอ่, คนเจ้าชู้, สิ่งหรือคนที่มีคุณภาพดีเป็นพิเศษ adj. สำรวย, ชอบแต่งตัวเกินไป, ชั้นหนึ่ง, ดีเยี่ยม, See also: dandily adv. ดูdandy dandyish adj. ดูdandy dandiacal adj. ดูdandy dandyism n. ดูdandy | daren't | (แดนทฺ) ดูdarenot | demarcate | (ดิมา'เคท) vt. กำหนดเขตแดน, แบ่งเขต, ปักเขต | demarcation | (ดิมาร์เค'เชิน) n. การกำหนดเขตแดน, การแบ่งเขต, การปักเขต, เส้นปันเขต. | demarkation | (ดิมาร์เค'เชิน) n. การกำหนดเขตแดน, การแบ่งเขต, การปักเขต, เส้นปันเขต. | disneyland | (ดิส'นีแลนดฺ) n. แดนเนรมิตหรือสวนสนุก | dreamland | (ดรีม'แลนด์) n. แดนแห่งความฝัน, โลกแห่งความฝัน | duchy | (ดัช'ชี) n. ดินแดนในความปกครองของท่านดยุคหรือภรรยาท่านดยุค -pl. duchies | eden | (อี'เดิน) n. แดนสวรรค์, สวนอีเดน -Edenic adj. ดูEden | edge | (เอดจฺ) n. ขอบ, ริม, ข้าง, เขตแดน, สัน, ด้านคมของใบมีด, ความคม, เหลี่ยม, เนินเขา, หน้าผา, ข้อได้เปรียบ, ตำแหน่งที่ดีกว่า vt. ทำให้คม, ใส่ขอบให้, เคลื่อนไปทางข้าง, ค่อย ๆ เคลื่อนไปทางข้าง. vi. เคลื่อนไปข้างหน้า -Phr. (edge out เอาชนะทีละนิด, เล็ม) คำที่มีความหมายเหมือ | elysium fields | แดนสุขาวดี | enclave | (เอน'เคลฟว) n. ประเทศที่มีดินแดนทั้งหมดหรือส่วนใหญ่ที่ถูกล้อมรอบไปด้วยดินแดนของประเทศอื่น | extradite | (เอคซฺทระไดทฺ') vt. ส่ง (ผู้ร้าย) ข้ามแดน | extradition | (เอคซฺทระดิช'เชิน) n. การส่งผู้ร้ายข้ามแดน | fairyland | n. แดนสวรรค์, แดนสุขาวดี, แดนที่สวยงามมาก | free-soil | adj. เกี่ยวกับดินแดนที่ไร้ทาส | frontier | (ฟรันเทียร์') n., adj. ชายแดน, พรมแดน, แนวใหม่, Syn. boundary | gaul | (กอล) n. เขตดินแดนในยุโรปตะวันตกสมัยโบราณ | god's country | ดินแดนที่พระเจ้าชอบ | grassland | (กราส'แลนดฺ) n. ทุ่งหญ้า, ดินแดนที่มีทุ่งหญ้ามาก, Syn. pasture land | heartland | (ฮาร์ท'แลนด์) n. ดินแดนส่วนกลางที่ยากแก่การถูกโจมตีมักมีความมั่นคงทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง | hedge | (เฮดจฺ) n. แนวพุ่มไม้, ขอบแดน, สิ่งกีดขวาง, เครื่องล้อม, การวางเดิมพัน, คำพูดสองนัย. v. ล้อมรั้ว, กั้นรั้ว, กั้น, วางเดิมพันเพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเสีย. vi. วางทางหนีที่ไล่, See also: hedger n., Syn. fence | heterochronous | adj. ซึ่งมาจากต่างแดน | hot pursuit | การไล่ติดตามอาชญากรหรือข้าศึกอย่างกระชั้นชิด เช่นการข้ามพรมแดน | inland | (อิน'เลินดฺ) adj. ภายในประเทศ, ภายในดินแดน, ท้องถิ่น. adv. ภายในประเทศ, เข้าไปในประเทศ. n. (อิน'แลนดฺ) บริเวณภายในประเทศ, Syn. domestic, internal | jim-dandy | (จิม'แดน'ดี) adj. ดีกว่า, ดีเลิศ | land | (แลนดฺ) { landed, landing, lands } n. ที่ดิน, พื้นดิน, แผ่นดิน, ประเทศ, เขต, ดินแดนของประเทศ vt. ตั้งรกราก, นำไปสู่, ยึด, จับ, จับจอง, นำขึ้นบก. vi. ขึ้นบก, ขึ้นฝั่ง, สู่ -Phr. (the land ที่ดินเกษตรชนบทอาชีพการเกษตรและการปศุสัตว์), Syn. soil, g |
| border | (n) ริม, ขอบ, เขตแดน, ชายแดน, พรมแดน, อาณาเขต | borderland | (n) เขตแดน, ชายแดน, พรมแดน | borderline | (n) เส้นเขตแดน, เส้นพรมแดน, เส้นแบ่งเขต, เส้นกั้นอาณาเขต | bound | (n) ขอบเขต, บริเวณ, เขตแดน, อาณาเขต, ขอบข่าย | boundary | (n) ขอบเขต, เขตแดน, บริเวณ, อาณาเขต | coast | (n) ชายฝั่ง, ฝั่งทะเล, เขตแดน, พรมแดน | colony | (n) อาณานิคม, ดินแดน, ประเทศอาณานิคม, หมู่คณะ | demarcation | (n) การกำหนดเขต, การปักปันเขต, เส้นเขตแดน, การแบ่งเขต, การแบ่งแยก | dreamland | (n) ดินแดนในความฝัน, โลกแห่งความฝัน | extradite | (vt) คืนเชลยศึก, ส่งผู้ร้ายข้ามแดน | extradition | (n) การคืนเชลยศึก, การส่งผู้ร้ายข้ามแดน | fairyland | (n) สวรรค์, ชั้นฟ้า, เมืองสวรรค์, แดนสวรรค์, แดนสุขาวดี | frontier | (n) พรมแดน, ชายแดน, เขตแดน, ขอบเขต | frontiersman | (n) คนที่อยู่ตามชายแดน | heaven | (n) สวรรค์, ท้องฟ้า, วิมาน, แดนสุขาวดี | hedge | (n) รั้ว, แนวพุ่มไม้, สิ่งกีดขวาง, เครื่องล้อม, ขอบแดน | paradise | (n) สวรรค์, แดนสุขาวดี | peregrine | (adj) แปลก, ต่างแดน, ต่างถิ่น, ต่างด้าว, ต่างประเทศ | realm | (n) แผ่นดิน, อาณาจักร, ขอบเขต, ปริมณฑล, ดินแดน, บริเวณ | region | (n) บริเวณ, ขอบเขต, แถบ, ภาค, แคว้น, ดินแดน | secede | (vi) แบ่งแยกดินแดน, ปลีกตัวออก, แยกตัวออก | secession | (n) การแบ่งแยกดินแดน, การปลีกตัวออก, การแยกตัวออก | stranger | (n) คนแปลกหน้า, คนต่างแดน, คนต่างถิ่น, ชาวต่างประเทศ | territorial | (adj) เกี่ยวกับดินแดน, เกี่ยวกับภาคพื้นดิน | territory | (n) ดินแดน, ขอบข่าย, อาณาเขต, แนวความคิด, แนวทางปฎิบัติ | utopia | (n) แดนสุขารมณ์, โลกพระศรีอาริย์, โลกในอุดมคติ | utopian | (adj) เหมือนแดนสุขารมณ์, เหมือนโลกพระศรีอาริย, เหมือนกับโลกในอุดมคติ |
| cross-border | (adj) เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ข้ามพรมแดนระหว่าง 2 ประเทศ, ระหว่างประเทศ, ที่ข้ามประเทศ, ที่ข้ามพรมแดน (ใช้นำหน้านามเท่านั้น) | Deputy Governor | รองข้าหลวง เป็นตำแหน่งข้าราชการพลเรือนฝ่ายปกครองในดินแดนของสหราชอาณาจักร ตำแหน่งนี้ปรากฎเฉพาะอาณานิคมในทวีปอเมริกาเหนือ เทียบได้ตำแหน่งผู้ช่วยข้าหลวง (Lieutenant-Governor) ในอาณานิคมอื่นๆ | frontier post | (n) ที่ทำการพรมแดน | Governor-general | (n) ข้าหลวงต่างพระองค์ในดินแดนของอังกฤษ | hitum | (n, adj, malasia) สีดำ เช่นแถบชายแดนไทยมาเลเซีย (ด่านนอก/จังโหลน) มีภูเขาชื่อ ถูเขาไม้สีดา bukit kayu hitam | LANNA | (n) ล้านนา คือดินแดนที่มีจำนวนที่นานับล้าน เป็นอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ได้แก่จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ พะเยา น่าน ลำพูน และ ลำปาง โดยมีเมืองเชียงใหม่ เป็นราชธานี มีภาษาที่เรียกว่า คำเมือง หรือภาษาเหนือ ตัวหนังสือ ตัวเมือง วัฒนธรรม และ ประเพณี เป็นของตนเอง ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการปกครอง เป็นระบอบมณฑลเทศาภิบาล ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมี พระเจ้าอินทวิชยานนท์, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 เป็นพระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในฐานะราชอาณาจักรพระองค์สุดท้าย และ เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เป็นเจ้าผู้ปกครองนครองค์สุดท้าย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือและเชื้อสาย "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)" อยู่ในราชตระกูล ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง และ ณ น่าน | Lieutenant-Governor | ผู้แทนข้าหลวง เป็นตำแหน่งข้าราชการพลเรือนฝ่ายปกครองในดินแดนของสหราชอาณาจักร | non-refoulement | (n) หลักการไม่ส่งผู้ลี้ภัยกลับไปยังดินแดนหรือถิ่นที่ชีวิตและเสรีภาพของพวกเขาจะถูกคุกคาม Non-refoulement is a principle in international law, specifically, refugee law, which protects refugees from being returned to places where their lives and freedoms would be threatened.[ Google ] Art.33(1) of the 1951 UN Convention on the Status of Refugees, and its 1967 protocol. | promised land | (n) ดินแดนแห่งความหวัง | reserved officers' training corps | ร.ด., รักษาดินแดน, นักศึกษาวิชาทหาร | Territory Integrity | (n) บูรณภาพแห่งดินแดน | War Ensign | ธงชัยสมรภูมิ เป็นธงที่ถูกชักไว้บนเรือรบเพื่อแสดงสัญชาติของเรือรบ อาจมีการชักธงนี้ไว้บนบกในดินแดนที่กองทัพเจ้าของธงยึดครองอยู่ อาทิ เมื่อเยอรมนีเข้ายึดกรุงปารีสในปี ค.ศ. 1940 มีการชักธงชัยสมรภูมิเยอรมันไว้บนยอดหอไอเฟลเพื่อสื่อว่า ประเทศฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่อยู่ภายใต้การยึดครองของกองทัพเยอรมัน | ชมพูทวีป | (n) แดนแห่งต้นหว้า, Syn. ชมภูทวีป |
| 天国 | [てんごく, tengoku] (n) สวรรค์, แดนสุขาวดี, Syn. 極楽, Ant. 地獄 |
| 軍事訓練 | [ぐんじくんれん, gunjikunren] (n) วิชารักษาดินแดน, ร.ด. | 境界 | [きょうかい, kyoukai] (n) เขตแดน |
| 領事館 | [りょうじかん, ryoujikan] TH: สถานกงศุลที่ทำหน้าที่ดูแลเรื่องของประเทศตนในต่างแดน EN: consulate | 領土 | [りょうど, ryoudo] TH: ดินแดนที่อยู่ในอาณัติการปกครอง EN: dominion |
| untervermieten | (vt) |vermietete unter, hat untervermietet| ให้เช่าบ้านหรือห้องต่อ (โดยที่ชื่อผู้เช่าในสัญญาเช่ายังคงเดิม เป็นการรักษาห้องเช่านั้นไว้จะได้ไม่ต้องไปหาใหม่เวลาที่ต้องไปต่างเมืองหรือต่างแดนเป็นเวลานาน), See also: mieten | ausländisch | (adj, adv) ต่างประเทศ, ต่างแดน เช่น ausländische Firmen บริษัทของต่างประเทศ | ohne | (prep) ปราศจาก, ไร้ เช่น Kannst du es ohne mich schaffen? เธอทำได้ไหมโดยไม่มีฉัน, Ärzte ohne Grenze แพทย์ไร้พรมแดน |
| Landesherr | ลันเดสแฮร์ เป็นตำแหน่งเจ้าศักดินาในยุคกลาง มีอำนาจเฉกเช่นเจ้าแผ่นดินเหนือดินแดนหนึ่ง ดินแดนนั้นอาจมีสถานะเป็นรัฐอิสระ หรือรัฐบริวารของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็ได้ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |