Contra-indication | สิ่งขัดแย้ง, ข้อบ่งห้าม(ใช้) |
United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization | [ UNESCO.org ] United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization (UNESCO) is a specialized agency of the United Nations. Its purpose is to contribute to peace and security by promoting international collaboration through education, science, and culture in order to further universal respect for justice, the rule of law, and human rights along with fundamental freedom proclaimed in the UN Charter. en.wikipedia.org/wiki/UNESCO, See also: S. UNESCO, United Nations Educational Scientific and Cultural Organization, R. UN |
educational supervisor | (n) ศึกษานิเทศก์ |
specifications | (n) ข้อมูลจำเพาะ (มักปรากฏท้ายคู่มือผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า) |
public education | (n) ระบบการศึกษาของรัฐ ที่ถูกกำหนดขึ้นโดยรัฐบาลและใช้เงินภาษีช่วยสนับสนุน เช่น โรงเรียนภายใต้การดูแลของรัฐ หรือโรงเรียนรัฐ ถูกเรียกว่า public school (ขณะที่ในอังกฤษ public school คือโรงเรียนอิสระที่ได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากการบริจาคเพื่อให้คนยากจนได้เรียน) |
authentication | (n) สัญลักษณ์หรือเครื่องหมายที่รับรองว่าเป็นของแท้หรือแสดงที่มา |
application | (n) โปรแกรมประยุกต์ในระบบคอมพิวเตอร์ สามารถใช้คำทับศัพท์ แอปพลิเคชัน ได้ |
advocation | (แอดโวเค' เชิน) n. =advocacy, การเรียกให้ปรากฏ, Syn. summoning |
aerification | (แอริฟิเค' เชิน) n. การรวมกับอากาศ, ภาวะที่รวมกับอากาศ (act of combining with air) |
allocation | (แอลโลเค' เชิน) n. การจัดสรร, การแบ่งสรร, การบรรจุ, ภาวะที่ถูกจัดสรรหรือแบ่งสรร, ส่วนแบ่ง, การลงบัญชี, Syn. allotment |
ammonification | (อะมอนนิฟิเค' เชิน) n. การใส่แอมโมเนีย, การสร้างแอมโมเนีย, ภาวะที่ถูกใส่แอมโมเนีย |
amplification | (แอมพลิฟีเค' เชิน) n. การขยายออกให้กว้างหรือใหญ่ขึ้น, ภาวะที่ถูกขยายออก, การขยายข้อความหรือเรื่องราว, ข้อความหรือเรื่องราวที่ขยายออก, สิ่งที่ใช้ขยาย, การเพิ่มกำลังกระแสไฟฟ้าหรือการเพิ่มโวลต์, Syn. enlargement, Ant. reduction |
application | (แอพพลิเค'เชิน) n. การสมัคร, ความเกี่ยวข้อง, ความมีประโยชน์, การใช้, การร้องขอ, คำร้องขอ, ใบสมัคร, ความสนใจอย่างใกล้ชิด, การประยุกต์, โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับรูปแบบหนึ่งรูปแบบใด, Syn. administration, utility, request |
application program | โปรแกรมประยุกต์ <คำแปล>หมายถึง โปรแกรมประเภทต่าง ๆ ที่ออกแบบขึ้นเพื่อสนองความต้องการ เช่น โปรแกรมบัญชี หรือ โปรแกรมทำคะแนน |
application software | ซอฟต์แวร์ประยุกต์ <คำแปล>หมายถึง โปรแกรมประเภทต่าง ๆ ที่ออกแบบขึ้นเพื่อสนองความต้องการ เช่น โปรแกรมบัญชี หรือโปรแกรมทำคะแนนมีความหมายเหมือน application program |
application window | วินโดว์โปรแกรม <คำแปล>หมายถึงวินโดว์ของโปรแกรมแต่ละโปรแกรม ถ้าจะสร้างแฟ้มข้อมูล ก็จะมองเห็นมีวินโดว์ใหม่ซ้อนขึ้นมาอีกวินโดว์หนึ่ง เรียกว่า วินโดว์เอกสาร (document window) |
autointoxication | (ออดทอินทอคซิเค'เชิน) n. การเป็นพิษจากภายในร่างกาย., Syn. autotoxemia -autotoxic adj. autotoxicosis |
avocation | (แอฟวะเค' เชิน) n. งานอดิเรก, งานประจำ, อาชีพ, งาน, การเบนความสนใจ |
calcification | (แคลซิฟิเค'เชิน) n. การเปลี่ยนเป็นหินปูนหรือแคลเซี่ยมคาร์บอเนต, การกลายเป็นกระดูก |
cation | (แคท'ไอออน) n. ไอออนบวก, อะตอมหรือกลุ่มอะตอมที่มีประจุบวก, See also: cationic adj. ดูcation, Syn. kation |
classification | (แคลสซิฟิเค'เชิน) n. การแบ่งออกเป็นหมวดหมู่., See also: classificatory adj. -al adj. |
claudication | n. ขาเป๋ |
client application | โปรแกรมเฉพาะเครื่อง1. ในเรื่องของข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ (LAN) คำนี้หมายถึง โปรแกรมที่เก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์บางเครื่อง โดยปกติ ในระบบเครือข่ายนั้น จะต้องมีคอมพิวเตอร์กลางเครื่องหนึ่ง ซึ่งใช้เป็นที่เก็บโปรแกรมต่าง ๆ ไว้ให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายสามารถเรียกไปใช้ได้ เรียกว่า เครื่องบริการแฟ้ม (file server) (คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่ายไม่จำเป็นต้องมีโปรแกรมเหล่านั้น) แต่ถ้าเครื่องบริการแฟ้มนั้นเสีย คอมพิวเตอร์อื่น ๆ ในเครือข่ายเดียวกันนั้นก็จะทำงานไม่ได้เลย ฉะนั้น เราจึงมักจะให้คอมพิวเตอร์บางเครื่องในเครือข่ายมีโปรแกรมเก็บไว้ในเครื่องของตนเองด้วย อย่างไรก็ตาม ในกรณีนี้ คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นที่แม้จะอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน จะไม่สามารถเรียกโปรแกรมจากคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ไปใช้ได้ เราเรียกโปรแกรมที่เก็บอยู่เฉพาะในเครื่องนี้ว่า " client application "2. โปรแกรมบนระบบวินโดว์ที่สามารถโยงถึงที่มาของภาพหรือข้อความที่เป็นต้นแบบได้ หากเมื่อใดมีการแก้ไขในแฟ้มต้นแบบ โปรแกรมก็จะจัดการแก้ไขในแฟ้มใหม่ ให้ด้วย ดู OLE เปรียบเทียบ |
codification | n. การรวบรวม, ประมวล |
coeducation | n. สหศึกษา. |
collocation | n. การวางเข้าด้วยกันให้เหมาะ |
communication | (คะมิวนิเค'เชิน) n. การติดต่อ, การสื่อสาร, การคมนาคม |
complication | (คอมพลิเค'เชิน) n. ความซับซ้อน, ความยุ่งเหยิง, ความแทรกซ้อน, โรคแทรกซ้อน, สิ่งแทรกซ้อน, Syn. variation, problem |
computer education | คอมพิวเตอร์ศึกษาหมายถึง การเรียนรู้วิชาทางคอมพิวเตอร์เพียงพอที่จะรู้เรื่องราว ความเป็นมา องค์ประกอบ การใช้ งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวิธีที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ พอ สมควร มีความหมายเหมือน computer appreciation |
convocation | (คอนวะเค'เชิน) n. การเรียกประชุม, ภาวะที่ถูกเรียกประชุม, กลุ่มคนที่ชุมนุมกันตามคำเรียกตัว, การชุมนุมทางศาสนา, Syn. assemblage, congregation |
corneal oacification | แก้วตาเป็นฝ้า |
dedication | (เดดดิเค'เชิน) n. การอุทิศ, การอุทิศตัว, คำจารึกอุทิศ, คำอุทิศ, Syn. address |
deification | (ดีอิฟิเค'เชิน) n. การทำให้เป็นพระเจ้าหรือเทวดา, |
demarcation | (ดิมาร์เค'เชิน) n. การกำหนดเขตแดน, การแบ่งเขต, การปักเขต, เส้นปันเขต. |
dislocation | n. การเคลื่อนที่เดิม, การทำให้แพลง, การทำให้ออกจากที่ซ่อน |
disqualification | n. การตัดสิทธิ, ภาวะที่ถูกตัดสิทธิ, สิ่งที่ถูกตัดสิทธิ |
diversification | (ไดเวอซิฟิเค'เชิน) n. ความหลากหลาย |
duplication | (ดิวพละเค'เชิน) n. การอัดสำเนา, การทำจำลอง, การทำซ้ำ, สำเนา, สิ่งที่จำลองมา, สิ่งที่เหมือนกันทุกอย่าง, การทำซ้ำ, Syn. identical, dual, copy, mate, replica |
dynamic allocation | การจัดสรรแบบพลวัตหมายถึง การสั่งให้คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลลงในหน่วยความจำของเครื่อง ในขณะเดียวกับที่กำลังปฏิบัติงานของโปรแกรมอื่นอยู่ |
edification | (เอดดะฟะเค, 'เชิน) n. การสอน, การสั่งสอน, การอบรมศีลธรรม, การเทศนา, การกระตุ้น, Syn. instruction |
education | (เอดจุเค, 'เชิน) n. การศึกษา, การสั่งสอน, การฝึกฝน, คุรุศาสตร์, ศึกษาศาสตร์, See also: educational adj. ดูeducation, Syn. schooling, training |
educationist | n. นักศึกษาศาสตร์, Syn. educationalist |
electrodesiccation | n. การทำลายเนื้อเยื่อด้วยกระแสไฟฟ้าซึ่งทำให้สูญเสียน้ำ |
embrocation | n. การชโลมด้วยยา, ยาทาแก้เคล็ดบวม, ยานวด |
evocation | (เอฟวะเค'เชิน) n. การเรียกปลุก, การขอร้อง, การเรียก, การกระตุ้นให้เกิดขึ้น, การนำมาซึ่ง |
explication | n. การอธิบาย, คำอธิบาย, คำชี้แจง, คำแปล |
fabrication | (แฟบระเค'เชิน) n. การประดิษฐ์, การคิดค้น, การปลอมขึ้น, เรื่องที่เสกสรรขึ้นมา, Syn. deceit |
federal communication com | คณะกรรมการกลางกำกับดูแลกิจการสื่อสารใช้ตัวย่อว่า FCC (อ่านว่า เอฟซีซี) เป็นหน่วยงานของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ที่มีหน้าที่ควบคุมในเรื่องการสื่อสาร โดยเฉพาะการควบคุมสัญญาณความถี่ของคลื่นวิทยุ |
file allocation table | ตารางการจัดสรรแฟ้มใช้ตัวย่อว่า FAT (อ่านว่า แฟ็ต) ใช้ในระบบดอส หมายถึงส่วนหนึ่งของจานบันทึกที่เป็นตารางสำหรับเก็บชื่อ ขนาด ความจุ และที่อยู่ของแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ ที่อยู่ในจานบันทึกนั้น |
file identification | สัญลักษณ์แสดงชื่อแฟ้มหมายถึงป้ายหรือที่ ๆ จะทำเครื่องหมายบ่งบอกว่า แฟ้มข้อมูลนั้นชื่ออะไรเก็บไว้ในสื่อชนิดใด เช่น แฟ้มข้อมูลชื่อ CHULA เก็บไว้ในสื่อที่เป็นแถบบันทึกมีจำนวนทั้งสิ้นสี่ม้วน เป็นต้นมีความหมายเหมือน file label |
fornication | (ฟอร์นะเค'เชิน) n. การลักลอบได้เสียกันก่อนแต่งงาน, การเป็นชู้, การบูชาเทวรูป, การเคารพบูชาอย่างหลับหูหลับตา., See also: fornicatory adj. |
fortification | (ฟอร์ทิพีเค'เชิน) n. การทำให้แข็งแรง, การสร้างป้อมปราการ, ป้อมปราการ, Syn. fort, defense |
frication | (ฟริคเค'เชิน) n. เสียงเสียดสีหรือกระทบที่เกิดจากการใช้ลิ้นแตะ -fricative adj. |
fructification | n. การออกผล, การให้กำเนิดผล, ผลไม้, อวัยวะที่ให้กำเนิดผล |
general education | n. สามัญศึกษา |
glorification | n. การสรรเสริญ |
gratification | (แกรททะฟะเค'เชิน) n. ความปลื้มปีติ, สิ่งที่ทำให้พอใจ, รางวัล, เรื่องที่ทำให้น่ายินดี, การทำให้สำเร็จความใคร่, Syn. satisfaction, comfort |
abdication | (n) การลาออก, การสละราชสมบัติ, การยกเลิก |
allocation | (n) การจัดสรร, การแจกจ่าย, การแบ่งสรร |
altercation | (n) การวิวาท, การทะเลาะ |
amplification | (n) การขยาย |
application | (n) ใบสมัครงาน, การสมัครงาน, คำร้องขอ, การแสดงความจำนง |
avocation | (n) งาน, การงาน, อาชีพ, งานอดิเรก, การทำมาหากิน |
beatification | (n) การประสาทพร, ความสุข |
clarification | (n) การทำให้กระจ่าง, การอธิบาย |
classification | (n) การแบ่งประเภท, การจัดหมวดหมู่, การแยกประเภท |
coeducation | (n) สหศึกษา |
collocation | (n) การจัดระเบียบ, การจัดวาง |
communication | (n) การติดต่อ, การบอกให้ทราบ, การสื่อสาร, การคมนาคม |
complication | (n) ความซับซ้อน, ความสับสน, ความยุ่งยาก, ความแทรกซ้อน |
confiscation | (n) การยึดทรัพย์, การริบ |
convocation | (n) การชุมนุมทางศาสนา, การเรียกประชุม, ที่ประชุม, ความสนุกสนาน |
dedication | (n) การอุทิศ, คำกล่าวอุทิศ |
defalcation | (n) การฉ้อโกง, การฉ้อฉล, การยักยอก |
demarcation | (n) การกำหนดเขต, การปักปันเขต, เส้นเขตแดน, การแบ่งเขต, การแบ่งแยก |
deprecation | (n) การต่อต้าน, ความไม่เห็นด้วย, การคัดค้านความชิงชัง |
dislocation | (n) ความคลาดเคลื่อน, การแยกจากกัน, การเคลื่อนที่ |
duplication | (n) การทำสำเนา, การก๊อบปี้, การอัดสำเนา, การจำลอง, การทำซ้ำ |
edification | (n) การอบรมศีลธรรม, การสั่งสอน, การเทศนา |
education | (n) การสั่งสอน, การอบรม, การศึกษา, ครุศาสตร์, ศึกษาศาสตร์ |
educational | (adj) ซึ่งให้ความรู้, เกี่ยวกับการอบรมสั่งสอน, ทางการศึกษา |
electrification | (n) การเกิดประจุไฟฟ้า, การเกิดกระแสไฟฟ้า, การปล่อยกระแสไฟฟ้า |
equivocation | (n) การพูดสองแง่สองง่าม, การพูดอ้อมค้อม, การพูดกำกวม |
eradication | (n) การทำลาย, การถอนรากถอนโคน, การกำจัด |
excommunication | (n) การตัดออกจากศาสนา, การคว่ำบาตร, การขับไล่, การไล่ออก |
exemplification | (n) การยกตัวอย่าง, สำเนาเอกสาร, การให้ตัวอย่าง |
fabrication | (n) ประดิษฐกรรม, การสร้าง, การประดิษฐ์, การคิดค้น |
falsification | (n) การปลอมแปลง, ของปลอม, การทำผิด |
fornication | (n) การผิดผี, การเป็นชู้, การผิดประเวณี |
fortification | (n) การเสริมกำลัง, ป้อมปราการ, กำแพง, เครื่องป้องกันข้าศึก |
glorification | (n) เกียรติศักดิ์, ชื่อเสียง, การสรรเสริญ, การสดุดี |
gratification | (n) การทำให้พอใจ, ความอิ่มเอมใจ, การทำให้ถูกใจ, รางวัล |
identification | (n) การชันสูตร, การวินิจฉัย, การชี้ตัว, การแยกแยะ |
implication | (n) การเกี่ยวพัน, ความหมาย, ความเกี่ยวข้อง, นัย |
imprecation | (n) การแช่ง, การสาป, คำสบถ |
indication | (n) การแสดง, การบอกเล่า, การบ่งบอก, เครื่องหมายแสดง |
intensification | (n) การทำให้แรงขึ้น, การทำให้หนาแน่นขึ้น |
intoxication | (n) ความเป็นพิษ, ความมึนเมา, ความมัวเมา |
invocation | (n) การภาวนา, การขอร้อง, การอุทธรณ์, การเรียกผี |
justification | (n) การให้เหตุผล, การแสดงความบริสุทธิ์, การอ้างเหตุผล |
location | (n) ที่ตั้ง, ทำเล, การตั้ง, สถานที่, ตำแหน่งที่ตั้ง |
lubrication | (n) การหล่อลื่น, การใช้น้ำมัน |
mastication | (n) การเคี้ยว, การบด |
modification | (n) การเปลี่ยนแปลง, การแก้ไข, การดัดแปลง, การลดหย่อน |
mollification | (n) การปลอบ, การระงับโทสะ, การทำให้สงบ |
mortification | (n) การทรมานร่างกาย, ความตกใจ, ความบัดสี |
multiplication | (n) การคูณ, การเพิ่มจำนวน, การทวีคูณ |
provocation | การยั่วยุ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
provocation test; test, challenge | การทดสอบท้า, การทดสอบกระตุ้นให้ปรากฏ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phylogenetic classification | การจำแนกตามวิวัฒนาการชาติพันธุ์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
PDC (personal digital communication) | พีดีซี (การสื่อสารส่วนบุคคลแบบดิจิทัล) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
partial rectification | การเรียงกระแสตรงบางส่วน [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
pressure application time | เวลาใช้แรงกด [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
perfrication | การทานวด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
passive reciprocation | การตอบสนองแบบกสานติ์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
phacoemulsification | หัตถการสลายต้อแก้วตา, หัตถการสลายต้อกระจก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
plication | การพับ, การจีบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
poisoning; intoxation; toxication | ๑. ภาวะถูกพิษ, ภาวะเป็นพิษ [ มีความหมายเหมือนกับ intoxication ๑ ]๒. การให้สารพิษ [ มีความหมายเหมือนกับ intoxication ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
PCN (personal communication network) | ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่พีซีเอ็น [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
PCS (personal communication service) | พีซีเอส (บริการสื่อสารส่วนบุคคล) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
PCT (personal communication telephone) | พีซีที (โทรศัพท์พื้นฐานใช้นอกสถานที่, โทรศัพท์พื้นฐานพกพา) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
personal communication network (PCN) | ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่พีซีเอ็น [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
personal communication service (PCS) | บริการสื่อสารส่วนบุคคล (พีซีเอส) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
personal communication telephone (PCT) | โทรศัพท์พื้นฐานใช้นอกสถานที่, โทรศัพท์พื้นฐานพกพา (พีซีที) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
prefabrication | การปรุงประกอบ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
PIN (personal identification number) | พิน (รหัสประจำตัว) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
political communication | การสื่อสารทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
palliative medication | โอสถบำบัดบรรเทาอาการ, โอสถบำบัดประทัง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
personification | บุคลาธิษฐาน, บุคคลวัต [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pre-school education | อนุบาลศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
publication | ๑. การประกาศโฆษณา๒. สิ่งพิมพ์เผยแพร่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
personal digital communication (PDC) | การสื่อสารส่วนบุคคลแบบดิทิทัล (พีดีซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
personal identification number (PIN) | รหัสประจำตัว (พิน) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
private education | การศึกษาเอกชน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
P.C. (position classification) | การจำแนกตำแหน่งตามหน้าที่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pacification | การทำให้เกิดสันติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
patent, revocation of | การเพิกถอนสิทธิบัตร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
party identification | การสังกัดพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
primary education | ประถมศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
privileged communication | การติดต่อส่วนตัวซึ่งมีเอกสิทธิ์ที่ไม่จำต้องเปิดเผย [ ดู confidential communication ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
public education | การศึกษาของรัฐ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
pyeloplication | การพับเย็บกรวยไต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
position classification (P.C.) | การจำแนกตำแหน่งตามหน้าที่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
publication of banns | การประกาศชื่อผู้จะสมรส [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
premedication | การให้ยานำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prevarication | การปิดบังข้อความจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
luxation; dislocation | ๑. ข้อเคลื่อน๒. การพลัดที่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lame; claudication | อาการกะเผลกเหตุปวด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lubrication | การหล่อลื่น [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lubrication system | ระบบหล่อลื่น [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
letter of hypothecation | หนังสือประกันการส่งสินค้า, ตราสารจำนอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
law, classification of | การแบ่งแยกประเภทกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lignification | การมีลิกนิน [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
location | ตำแหน่ง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
location | ตำแหน่ง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
location clause | ข้อกำหนดสถานที่เก็บสินค้า [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
location limit | ขีดจำกัดสถานที่เก็บสินค้า [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Educational Technology | เทคโนโลยีการศึกษา, การประยุกต์เอาระเบียบวิธีการ แนวความคิดต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนผลิตผลอันเกิดจากผลของวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Application Processes | กระบวนการประยุกต์ใช้ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Classification | การวิเคราะห์หนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Dedication page | หน้าคำอุทิศ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Dewey Decimal Classification | การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Cataloging in Publication | การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์ , การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์, Example: Cataloging in Publication หรือ CIP คือ การจัดทำรายการข้อมูลในสิ่งพิมพ์ เป็นโครงการหนึ่งของหอสมุดรัฐสภาอเมริกับหน่วยงานอื่นๆ ในการจัดการรายการบรรณานุกรม โครงการนี้ เริ่มเมื่อปี ค.ศ. 1971 เพื่อกระจายข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดรัฐสภาอเมริกันและหน่วยงานที่ร่วมโครงการ ข้อมูลที่นำมาสร้างข้อมูลรายการสิ่งพิมพ์นี้ ได้มาจากสำนักพิมพ์ผู้ร่วมโครงการ มีข้อมูลมากพอที่ให้บรรณารักษ์ใช้ในการทำบัตรรายการหรือรายการหลักได้ หรือใช้เป็นตัวช่วยในการลงรายการ โดยมีการดัดแปลงหรือแก้ไขให้ตรงกับนโยบายในการลงรายการ หรือให้มีความเหมาะสมกับการให้บริการของห้องสมุดมากขึ้น ทำให้ลดเวลาในการวิเคราะห์หนังสือได้มาก สามารถส่งหนังสือออกให้บริการได้เร็วขึ้น <p> <p> การจัดทำ Cataloging ของหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน มีความสมบูรณ์ในกระบวนการจัดทำรายการบรรณานุกรมของหนังสือ กล่าวคือ สำนักพิมพ์จะต้องส่งแบบฟอร์มการลงรายการบรรณานุกรม (CIP Data Application form) พร้อมเอกสารฉบับเต็มมายังหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกำหนดการลงรายการบรรณานุกรม พร้อมส่งกลับไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อจัดพิมพ์ข้อมูลบรรณานุกรมดังกล่าวลงในหน้าหลังหน้าปกใน (Verso) ซึ่งรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ ก็จะถูกส่งออกไปยังห้องสมุด และร้านค้าหนังสือทั่วโลก แต่กระบวนการกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์จนกว่าสำนักพิมพ์จะส่งหนังสือกลับมายังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเติมข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น จำนวนหน้า ขนาดและตรวจสอบความถูกต้องจากการพิมพ์ของสำนักพิมพ์อีกครั้ง หลังจากการตรวจสอบ รูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้จะถูกเผยแพร่อีกครั้ง จากกระบวนการดังกล่าวนี้เอง ทำให้หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน สามารถจัดเก็บหนังสือทุกเล่มที่ผลิตในประเทศ และเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาได้อย่างครบถ้วน <p> <p> หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย เป็นอีกแห่งหนึ่งที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติด้วยกรอบของวิธีการ ๒ แนวทาง กล่าวคือ กฎหมายการพิมพ์ที่ให้ความสำคัญกับหอสมุดแห่งชาติในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์ของประเทศ และการแบ่งปันรายการบรรณานุกรมระหว่างห้องสมุดทั้งภายในและต่างประเทศ โดยหน้าที่สำคัญประการหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย ก็คือ การกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกระบวนการที่ไม่ต่างจากหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกันเท่าใดนัก นับตั้งแต่สำนักพิมพ์ส่งงานที่จะพิมพ์พร้อมเลข ISBN ที่ได้รับมาจากตัวแทนออกเลข ISBN จนถึงส่งมาให้หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลียจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำ CIP คือ การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวเข้าหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย <p> <p> ส่วนหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ สำนักพิมพ์ และร้านหนังสือที่จัดพิมพ์หนังสือใหม่ ซึ่งต้องการข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ (Cataloguing-in-Publication - CIP) รวมถึงห้องสมุดที่ต้องการข้อมูลหนังสือใหม่เพื่อแจ้งไปยังผู้ใช้บริการในรูปแบบของ Alert services จะต้องติดต่อขอรับบริการข้อมูล CIP ที่ Bibliographic Data Services Limited - BDSL ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดทำ CIP ซึ่งมีมาตรฐานตามที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษกำหนด ด้วยการติดต่อตรงไปยัง BDSL หรือติดต่อผ่านไปที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูล CIP ที่ได้อาจใช้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นในการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม จนกว่าหอสมุดแห่งชาติอังกฤษจะได้รับตัวเล่มจากสำนักพิมพ์ จึงจะมีการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่ถาวรต่อไป <p> <p> ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติ รับบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมให้กับสำนักพิมพ์หรือหน่วยงานที่ขอใช้บริการเช่นเดียวกับการให้บริการหมายเลข ISBN <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110314-CIP.jpg" width="640" height="200" alt="CIP"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาต่างประเทศ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110315-cip.jpg" width="640" height="200" alt="CIP2"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาไทย <p>รายการบรรณานุกรม <p>United States Copyright Office. [ ออนไลน์ ] http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Copyright_Office. Accessed: 20100628 : 00.07. <p> <p>Haddad, Peter. 1999. National bibliography in Australia: moving into the next millennium. [ ออนไลน์ ] http://archive.ifla.org/IV/ifla65/papers/016-123e.htm. Accessed: 20100629 : 09.50. <p> <p>National Library of Australia. Cataloguing-in-publication user guide. [ ออนไลน์ ] http://www.nla.gov.au/services/user-guide.html. Accessed: 20100629 : 09.55. <p> <p>Bibliographic Data Services Limited. [ ออนไลน์ ]. http://www.bibliographicdata.co.uk. Accessed: 20100629 : 17.30. <p> <p>Nielsen UK ISBN Agency. [ ออนไลน์ ] http://www.isbn.nielsenbook.co.uk/controller.php?page=121. Accessed: 20100629 : 14.25. <p> <p>The British National Bibliography. [ ออนไลน์ ] http://www.bl.uk/bibliographic/natbib.html. Accessed: 20100629 : 13:00. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Government publication | สิ่งพิมพ์รัฐบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Educational Technology | เทคโนโลยีการศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library classification | การจัดหมู่หนังสือ, Example: เดิมห้องสมุดส่วนใหญ่จัดเก็บหนังสือ ตามขนาดของหนังสือ ตามสีของปก หรือตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ ต่อมา ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือขึ้น โดยแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ โดยมีพัฒนาการ ดังนี้ <p> <p>1. สมัยโบราณ <p><p> 1.1 ชาวอัสซีเรียน เชื่อกันว่า ชาวอัสซีเรียนเป็นพวกที่เริ่มวิธีการจัดหมู่อย่างเป็นแบบแผน ในสมัยพระเจ้าอัสซูบานิปาล มีการจัดกลุ่มแท่งดินเหนียวในห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์ออกเป็น 2 หมวดใหญ่แบ่งตามเนื้อเรื่อง คือ เรื่องราวทางโลก และ เรื่องราวทางสวรรค์ <p><p> 1.2 ชาวโรมัน ห้องสมุดในสมัยโรมัน มีการแบ่งแยกหนังสือตามประเภทของผู้เขียน เป็น 2 หมวด คือ หนังสือของพวกนักเขียนนอกศาสนา และหนังสือของพวกนักเขียนที่นับถือศาสนาคริสต์หรือนักบวช <p><p> 1.3 ชาวอียิปต์ คัลลิมาคัส ซึ่งเป็นบรรณารักษ์ของห้องสมุดอเล็กซานเดรีย จัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่ คือ กวีนิพนธ์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา วาทศิลป์ และเบ็ดเตล็ด <p> 2 สมัยกลาง อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก คิดระบบการจัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 3 ภาคได้แก่ <p><p> - ความรู้ภาคปฏิบัติ (Practical หรือ Ethical) ประกอบด้วย วิชาเศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ และนิติศาสตร์ <p><p> - ความรู้ในทางสร้างสรรค์ (Productive หรือ Creative) ประกอบด้วย วิชากวีนิพนธ์ และศิลปะ <p><p> - ความรู้ภาคทฤษฎี (Theoretical) ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และเทววิทยา <p> 3. สมัยศตวรรษที่ 16 คอนราด เกสเนอร์ (Conrad Gesner) เขียนหนังสือชื่อ Bibliotheca Universalis ซึ่งเป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือภาษาลาติน กรีก และฮินดู จัดเรียงตามรายชื่อหนังสือตามลำดับหัวข้อวิชา โดยแบ่งออกเป็น 21 หัวข้อ <p> 4. สมัยศตวรรษที่ 17 เซอร์ ฟรานซิส เบคอน (Sir Francis Bacon) ได้เขียนหนังสือชื่อ The Advancement of Learning ขึ้นในปี ค.ศ. 1605 โดยเบคอนมีความคิดว่า มนุษย์มีความรู้สึกนึกคิดเป็น 3 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วนมีผลทำให้เกิดความรู้ขึ้น ได้แก่ ส่วนที่ 1 ความจำ (Memory) ทำให้เกิดวิชาประวัติศาสตร์ ส่วนที่ 2 จินตนาการ (Imagination) ทำให้เกิดวิชาร้อยกรอง และ ส่วนที่ 3 เหตุผล (Reason) ทำให้เกิดวิชาปรัชญา <p> จากแนวความคิดนี้เอง ประธานาธิบดี โธมัส เจฟเฟอสัน (Thomas Jefferson) แห่งสหรัฐอเมริกา ได้นำมาจัดทำเป็นระบบจัดหมู่หนังสือในห้องสมุดส่วนตัว ซึ่งต่อมาก็ได้ถูกนำมาใช้เป็นระบบจัดหมู่หนังสือในหอสมุดรัฐสภาอเมริกันในยุคแรก <p> 5. สมัยศตวรรษที่ 18 กุสตาฟ บูรเนต์ (Gustave Brunet) ชาวฝรั่งเศส เขียนหนังสือคู่มือการจัดหมู่หนังสือและห้องสมุดชื่อ Manuel du Libraire et d l' Amateur de Livres โดยแบ่งความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่คือ เทววิทยา นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดี <p> 6. สมัยศตวรรษที่ 19-20 ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือเพื่อใช้ในห้องสมุดอย่างจริงจังหลายระบบ ได้แก่ <p><p> ค.ศ. 1876 ระบบทศนิยมดิวอี้ <p><p>ค.ศ. 1891 ระบบเอ็กแพนซีฟ <p><p>ค.ศ. 1901 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><p>ค.ศ. 1905 ระบบทศนิยมสากล <p><p> ค.ศ. 1906 ระบบซับเจ็ค <p><p> ค.ศ. 1933 ระบบโคลอน <p><p> ค.ศ. 1935 ระบบบิบลิโอกราฟิค <p> ระบบการจัดหมู่ในระยะแรกมีแนวคิดในการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่อย่างมีเหตุผลตามแนวทฤษฎี จึงเรียกว่า ระบบทฤษฎี (Theoretical system) ต่อมาในศตวรรษที่ 20 แนวความคิดเปลี่ยนเป็นการคำนึงถึงหนังสือที่มีอยู่จริงในห้องสมุด จึงเรียกว่า ระบบปฏิบัติ (Practical system) <p> บรรณานุกรม <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์. 2520. ประวัติการทำบัตรรายการและการจัดหมู่หนังสือ. เอกสารบรรณารักษศาสตร์ เล่ม 19. กรุงเทพฯ : แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. <p> Wynar, Bohdan S. 1985. Introduction to Cataloging and Classification. 7th ed. Littletob, Colo. : Libraries Unlimited. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Communication in information science | การสื่อสารทางสารสนเทศศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Date of publication | ปีที่พิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Decimal classification | การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Dedication page | หน้าคำอุทิศ, Example: <p>หน้าคำอุทิศ ซึ่งเป็นหน้าที่อยู่ถัดจากหน้าปกใน และมักจะอยู่ก่อนหน้าคำนำ เป็นหน้าที่ผู้เขียนแสดงคำกล่าวว่าต้องการอุทิศหนังสือเพื่อมอบให้แก่ผู้มีอุปการคุณ หรือบุคคลที่รักใคร่สนิทสนม ซึ่งอาจจะเป็นบุคคลหนึ่งบุคคลใด หรือกลุ่มของบุคคลก็ได้ตามที่ต้องการ ทั้งนี้เพื่อเป็นการระลึกถึงคุณงามความดีของบุคคลเหล่านั้นที่มีส่วนสนับ สนุนหรือเป็นแรงบันดาลใจให้ผู้เขียนในการสร้างสรรค์ผลงาน โดยคำอุทิศอาจจะเป็นประโยคหรือวลีที่มีความกระชับ <p>ตัวอย่างหน้าคำอุทิศ หนังสือ เรื่อง Enigma โดย Robert Harris <p>ข้อมูลบรรณานุกรม: Harris, Robert. Enigma. London : Arrow Books, 2001. <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110222-dedication-page-1.jpeg" alt="Dedication page"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Dewey Decimal Classification | การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Indentification card | บัตรประจำตัว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Identification page | หน้าประทับตราห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library of Congress Classification System | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Location | ตำแหน่งของทรัพยากรสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
No place of publication | ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ (มปท.) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Place of publication | สถานที่พิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Publication | สิ่งพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Universal Decimal Classification | ระบบทศนิยมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Year of publication | ปีที่พิมพ์, Example: <p>ปีที่พิมพ์ (Year of publication) หมายถึง ปีที่ตีพิมพ์หนังสือ เป็นส่วนที่บอกว่าหนังสือนั้นตีพิมพ์เมื่อใด ระบุเป็นปีที่พิมพ์ ทั้งไทยและสากล ขึ้นอยู่กับภาษาที่ใช้ในการเขียนหนังสือ เช่น 2555 หรือ 2012 <p>ปีที่พิมพ์ แตกต่างจากคำว่า ปีพิมพ์ (Volume : Vol. ) ที่ใช้สำหรับสิ่งพิมพ์ประเภทวารสาร ซึ่งหมายถึง จำนวนปีที่ได้ตีพิมพ์วารสารนั้นออกมา เช่น ปีพิมพ์ที่ 2 (Vol. 2) หมายถึง วารสารรายชื่อนั้นตีพิมพ์เป็นปีที่ 2 <p>ปีที่พิมพ์ เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญในการเขียนบรรณานุกรม ซึ่งให้รายละเอียดของหนังสือ คือ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้าหรือจำนวนเล่ม ภาพประกอบ อาจมีบรรณนิทัศน์ (คำอธิบายสาระสำคัญของหนังสือโดยย่อ) ประกอบด้วย <p>หนังสือบางเล่มอาจไม่ระบุปีที่พิมพ์ หากไม่มี ให้ใช้ว่า (ม.ป.ป.) ถ้าหนังสือไม่ปรากฏทั้งสถานที่พิมพ์และปีที่พิมพ์ ให้ใช้ว่า (ม.ป.ท., หรือ ม.ป.ป.) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Acquisition of serial publication | การจัดหาวารสาร, Example: <p>วารสาร (Journals, Serials, Periodicals) คือ ทรัพยากรสารสนเทศ ความรู้ ประเภทหนึ่งในห้องสมุดที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ในการติดตามความเคลื่อนไหวและความก้าวหน้าในเทคโนโลยีใหม่และงานวิจัย วิชาการในสาขาหนึ่ง ๆ วารสารโดยเฉพาะวารสารวิชาการนับว่ามีความสำคัญ และเป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลายในการเผยแพร่บทความ ความรู้ และเพื่อประโยชน์ในการต่อยอดผลงานวิจัย วิชาการ และการเป็นเอกสารอ้างอิง วารสารวิชาการบางชื่อได้รับการเชื่อถือและยอมรับว่าเป็นทฤษฎีที่ค้นพบใหม่จริง เป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และสังคม <p>ความสำคัญและคุณค่าของวารสารวิชาการเป็นเงื่อนไขหนึ่งที่ผลักดันให้ห้องสมุดต้องจัดหามาให้บริการ นอกเหนือจากเอกสาร หนังสือ และตำรา ต่าง ๆ และด้วยศักยภาพเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ส่งผลให้กระบวนการตีพิมพ์บทความวารสารวิชาการมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยจากเดิมที่ตีพิมพ์บทความในรูปแบบวารสารฉบับพิมพ์หรือรูปเล่ม ปรับเปลี่ยนเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Journals) หรือออนไลน์ที่ผู้อ่านสามารถเข้าถึงบทความได้อย่างง่ายดาย สะดวกและรวดเร็ว ทุกที่และทุกเวลาในโลก พร้อมทั้งช่วยให้การรวบรวมและจัดการข้อมูลสามารถทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นับเป็นแนวโน้มสำคัญของห้องสมุดในปัจจุบัน ในการเรียนรู้วิธีและการบริหารจัดการในการบอกรับรูปแบบใหม่ดังกล่าว <p>อย่างไรก็ตามห้องสมุดหลายแห่งโดยเฉพาะห้องสมุดในประเทศกำลังพัฒนามักประสบปัญหาเรื่องงบประมาณที่มีจำกัดในการจัดหาวารสารวิชาการที่มีราคาสูง รวมทั้งนโยบายการจัดสรรงบประมาณของหน่วยงานที่ไม่แน่นอนในแต่ละปี สวนทางกับความต้องการของผู้ใช้บริการที่ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง ห้องสมุดจึงได้ดำเนินการทุกวิถีทางในการหาหนทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว เช่น การสำรวจการใช้วารสารวิชาการ เพื่อพิจารณายกเลิกชื่อที่มีการใช้น้อย จัดเรียงลำดับความต้องการจากมากที่สุดไปสู่ระดับรองลงไป เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานได้อย่างคุ้มค่ากับการลงทุน รวมทั้งวิธีการติดต่อขอยืม ถ่ายสำเนา จากห้องสมุดแหล่งอื่น ๆ กล่าวคือไม่มีห้องสมุดแห่งใดในโลกที่จัดหาวารสาร ได้ครบทุกรายชื่อที่ผลิตหรือเผยแพร่ และอีกหนึ่งบริการที่สำคัญ และกล่าวถึงกันมากในขณะนี้ คือบริการจัดหาเฉพาะบทความที่ต้องการอ่าน (Pay per view / Pay per article) นับเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ประหยัดค่าใช้จ่าย โดยบริการรูปแบบนี้มีมานานแล้ว ให้บริการผ่านบริษัทนายหน้า ผู้แทนจำหน่าย นอกเหนือจากธรรมเนียม วัฒนธรรมเดิมของการจัดหา คือ จัดหาล่วงหน้าทั้งปีเพื่อรอให้ผู้ใช้บริการได้ใช้หรืออ่าน <p>หลายทศวรรษที่ผ่านมา แนวโน้มราคาวารสารวิชาการเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องอย่างไม่สมเหตุสมผล สูงกว่าภาวะอัตราเงินเฟ้อในสัดส่วนที่ไม่สมดุล โดยเฉพาะวารสารวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์ (STM) ห้องสมุดในฐานะที่อยู่ต้นทางในการให้บริการแก่ผู้ใช้ ควรกำหนดนโยบาย และมาตรการ วิธีการรองรับต่อสถานการณ์ดังกล่าว สถานภาพห้องสมุดปัจจุบันเสมือนตกอยู่ในสถานะจำยอม และยอมรับทุกเงื่อนไขที่สำนักพิมพ์เป็นผู้กำหนดทิศทางในเรื่องราคาแต่เพียงฝ่ายเดียวมาตลอด เป็นหัวข้อที่ท้าทายความสามารถของบรรณารักษ์ นักสารสนเทศในฐานะผู้จัดการความรู้ ในการที่จะหาแนวทาง วิธีการดำเนินการเพื่อให้สถานการณ์ดีขึ้น โดยยึดผลประโยชน์ของผู้ใช้บริการเป็นสำคัญที่จะต้องเข้าถึงข้อมูล ความรู้ ได้อย่างเท่าทัน และประหยัดงบประมาณของประเทศชาติ ซึ่งขณะนี้กระแสวารสารที่เข้าถึงได้ฟรี (Open Access) กำลังได้รับความสนใจและมีบทบาทสำคัญมาก จากผู้ที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากภาวะวิกฤติของ วารสารวิชาการนั่นเอง <p>อย่างไรก็ตาม การจัดหาวารสารเป็นงานที่มีความต่อเนื่องยาวนาน เพราะวารสารเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกเป็นลำดับตามช่วงเวลาที่แน่นอน สม่ำเสมอโดยไม่มีกำหนดเวลาสิ้นสุด ดังนั้นเมื่อเริ่มกระบวนการจัดหา ผู้ปฏิบัติงานต้องรับผิดชอบงานจัดหาวารสารใน 1 ปี และ ปีต่อ ๆไปด้วย กระบวนการจัดหาวารสารเป็นงานที่มีขั้นตอนการดำเนินงานอย่างเป็นลำดับ และต่อเนื่องเชื่อมโยง ตั้งแต่การบอกรับ การจ่ายเงินค่าบอกรับเป็นสมาชิก ตลอดจนการทวงถามวารสาร เพื่อให้ได้วารสารครบตามจำนวนตามเงื่อนไขในการเป็นสมาชิก หลังจากนั้นวารสารจะถูกนำไปสู่กระบวนการทางเทคนิค และงานบริการต่อไป การจัดหาวารสาร มี 4 วิธีการ คือ การจัดซื้อ (จากผู้ผลิตวารสารโดยตรง การจัดซื้อโดยสมัครเป็นสมาชิกหน่วยงานหรือสมาคม หรือ การจัดซื้อผ่านตัวแทนบอกรับวารสาร) การขอรับบริจาคหรือการได้รับอภินันทนาการ การแลกเปลี่ยนวารสาร และการผลิตขึ้นเอง <p>ปัญหาที่พบในการจัดหาวารสารที่ห้องสมุดมักประสบ คือ <p>1. ได้รับวารสารล่าช้า ไม่ตรงตามกำหนด <p>2. ได้รับวารสารไม่ครบถ้วนตามจำนวน <p>3. อัตราค่าสมาชิกสูงมาก โดยเฉพาะวารสารต่างประเทศในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p>4. กรณีวารสารอิเล็กทรอนิกส์ อาจมีปัญหาในการเข้าถึง (Access) ว่าไม่สามารถสืบค้นข้อมูลฉบับเต็มได้ <p>โดยทั่ว ๆ ไป ขั้นตอนการจัดหาวารสาร มีดังนี้ <p>1. สำรวจความต้องการใช้วารสาร ที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความต้องการใช้ <p>2. ตัดสินใจว่าวารสารรายชื่อใด ควรบอกรับโดยตรงจากสำนักพิมพ์ หรือบอกรับผ่านตัวแทน <p>3. ตรวจสอบรายละเอียดของวารสารที่ต้องการจัดหาอย่างละเอียด ให้มีความถูกต้องมากที่สุด ข้อมูลพื้นฐานที่ควรมีคือ ชื่อวารสาร เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) สำนักพิมพ์ ราคา เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อลดความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้ในการจัดหาวารสาร <p>4. ติดต่อสำนักพิมพ์ หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร เพื่อให้นำเสนอราคาบอกรับวารสาร ซึ่งควรติดต่อล่วงหน้าเพื่อจัดเตรียมงบประมาณที่เหมาะสมและเพียงพอ และให้ได้รับวารสารครบถ้วนในปีนั้น <p>5. ส่งใบสั่งซื้อ (Purchase Order : PO) และดำเนินการชำระเงินแก่สำนักพิมพ์หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร ซึ่งขั้นตอนนี้ห้องสมุดควรเก็บสำเนาเอกสารต่าง ๆ และทำการบันทึกการจ่ายเงิน เพื่อตรวจสอบการดำเนินงานย้อนหลังได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Classification, Dewey Decimal | การวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้, Example: ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification Syste, - DDC หรือ DC) เป็นระบบการจัดหมู่หนังสือที่เก่าแก่และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ผู้คิดระบบทศนิยมดิวอี้ คือ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1873 และจัดพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1876 ใช้ชื่อว่า A Classicification and Subject Index for Cataloging and Arranging Books and Pamphlets of a Library โดยครอบคลุมการแบ่งย่อยเนื้อหาวิชาจากเรื่องกว้างๆ ไปจนถึงเนื้อเรื่องเฉพาะ นอกเหนือจากฉบับพิมพ์แล้ว ปัจจุบันคือ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 22 ยังมีเป็นแบบออนไลน์อีกด้วย <p> <p> ลักษณะทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นระบบที่คิดขึ้นโดยการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ตามหลักทฤษฎี (Theoretical systems) กล่าวคือ กำหนดการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ในแต่ละหมวดหมู่ โดยคำนึงถึงลำดับพัฒนาการของการเกิดวิชาความรู้ในแต่ละสาขาเป็นสำคัญ เริ่มจาก <p> - ปรัชญา: เป็นเนื้อหาความรู้แรก เป็นเรื่องที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับตน คือใคร มาจากไหน ความดีหรือความชั่ว คืออะไร เป็นอย่างไร <p> - ศาสนา: เป็นวิชาที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับพระเจ้า พระเจ้าคือใคร จะช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร <p> - สังคมศาสตร์: ถัดจากคิดเกี่ยวกับตัวเอง คือ การที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับบุคคลอื่น การอยู่ร่วมกันต้องมีการคิดถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับผู้อื่น <p> - ภาษา: การที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับถ้อยคำและการสื่อสารเพื่อการติดต่อ สมาคม <p> - วิทยาศาสตร์: มนุษย์คิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ทำไมจึงเกิด มีการคิด พิสูจน์ ได้ข้อเท็จจริงที่อธิบายปรากฏารณ์ต่างๆ และบันทึกข้อเท็จจริงนั้นๆ ไว้ <p> - วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี: เมื่อมนุษย์นำความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความสุขสบาย <p> - ศิลปะและนันทนาการ: มนุษย์คิดสร้างสรรค์จากความประทับใจของตนเป็นงานเชิงศิลปะ ดนตรี และความบันเทิง <p> - วรรณกรรมหรือวรรณคดี: งานศิลปะที่สร้างขึ้นถูกมนุษย์นำมาถ่ายทอด และบอกเล่าผ่านทางตัวอักษร <p> - ประวัติศาสตร์: มนุษย์บันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ <p> - ความรู้ทั่วไปหรือเบ็ดเตล็ด: การเอาความรู้อื่นๆ ที่ไม่อาจจัดไว้ในหมวดหมู่อื่นได้ มารวมไว้ด้วยกัน <p> 2. จัดแบ่งหมวดวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วๆ ไป สู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้น แบ่งออกเป็นชั้น ชั้นละ 10 กลุ่ม จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย ดังนี้ <p> 2.1 การแบ่งครั้งที่ 1 (First Summary) คือ แบ่งวิชาความรู้ทุกแขนงวิชาของมนุษยชาติออกเป็นหมวดใหญ่ (Main class) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักร้อย 0-9 เป็นสัญลักษณ์แทนวิชาความรู้ทั้ง 10 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และ ความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 100 ปรัชญาและจิตวิทยา (Philosophy and psychology) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) <p> 400 ภาษา (Languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Science) <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology and applied science) <p> 700 ศิลปะและนันทนาการ (Arts and recreation) <p> 800 วรรณคดี (Literature) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และชีวประวัติ (History, geography and biography) <p> 2.2 การแบ่งครั้งที่ 2 (Second Summary) คือ การแบ่งหมวดวิชาความรู้หมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็นหมวดย่อย (Division) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักสิบ 0-9 แทนความรู้หมวดย่อย เช่น หมวดใหญ่ 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งเป็นหมวดย่อย 10 หมวด คือ <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology (Applied sciences) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences) <p> 620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ (Home economics) <p> 650 การจัดการ (Management) <p> 660 อุตสาหกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้เฉพาะอย่าง (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> ดังนั้น หมวดใหญ่ 10 หมวดจึงแบ่งเป็นหมวดย่อยได้ 100 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 010 บรรณานุกรม (Bibliographies) <p> 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (Library & information sciences) <p>030 หนังสือรวบรวมความรู้ทั่วไป สารานุกรม (Encyclopedias & books of facts) <p> 040 ยังไม่กำหนดใช้ (No longer used) <p> 050 นิตยสาร วารสาร และสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Magazines, journals & serials) <p> 060 สมาคม องค์การและพิพิธภัณฑวิทยา (Associations, organizations & museums) <p> 070 สื่อใหม่ วารสารศาสตร์ และการพิมพ์ (News media, journalism & publishing) <p>080 รวมเรื่อง (General collections) <p> 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสือหายาก (Manuscripts & rare books) <p> 100 ปรัชญา (Philosophy) <p> 110 อภิปรัชญา (Metaphysics) <p> 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตุผล ความเป็นมนุษย์ (Epistemology, causation, humankind) <p> 130 จิตวิทยานามธรรม (Paranormal phenomena) <p> 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม (Specific philosophical schools) <p> 150 จิตวิทยา (Psychology) <p> 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา (Logic) <p> 170 จริยศาสตร์ ศีลธรรม (Ethics (Moral philosophy)) <p> 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก (Ancient, medieval, Oriental philosophy) <p> 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (Modern Western philosophy (19th-century, 20th-century)) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 210 ศาสนาธรรมชาติ (Natural theology) <p> 220 ไบเบิล (Bible) <p> 230 เทววิทยาตามแนวคิดคริสต์ศาสนา (Christian theology) <p> 240 ศีลธรรมชาวคริสต์ การอุทิศเพื่อศาสนา (Christian moral & devotional theology) <p> 250 คริสต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบัติ (Christian orders & local church) <p> 260 สังคมชาวคริสต์ เทววิทยาทางศาสนา (Christian social theology) <p> 270 ประวัติคริสต์ศาสนา (Christian church history) <p> 280 นิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา (Christian denominations & sects) <p> 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่นๆ (Other & comparative religions) <p> 300 สังคมศาสตร์ สังคมวิทยา และ มนุษยวิทยา (Social sciences, Sociology & anthropology) <p> 310 สถิติศาสตร์ (General statistics) <p> 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง (Political science) <p> 330 เศรษฐศาสตร์ (Economics) <p> 340 กฎหมาย (Law) <p> 350 รัฐประศาสนศาสตร์ และวิทยาการทหาร (Public administration) <p> 360 การบริการสังคม และสมาคม (Social services; assoication) <p> 370 การศึกษา (Education) <p> 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนส่ง (Commerce, communications, transport) <p>390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา (Customs, etiquette, folklore) <p> 400 ภาษา (Language) <p> 410 ภาษาศาสตร์ (Linguistics) <p> 420 ภาษาอังกฤษ (English & Old English) <p> 430 ภาษาเยอรมัน (Germanic languages; German) <p> 440 ภาษาโรมานซ์ ; ภาษาฝรั่งเศส (Romance languages; French) <p> 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romantic) <p> 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Protugese languages) <p> 470 ภาษาละติน (Italic languages; Latin) <p> 480 ภาษากรีก (Hellenic languages; Classical Greek) <p> 490 ภาษาอื่นๆ (Other languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p> 510 คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> 520 ดาราศาสตร์ (Astronomy & allied sciences) <p> 530 ฟิสิกส์ (Physics) <p> 540 เคมี (Chemistry & allied sciences) <p> 550 วิทยาศาสตร์โลก (Earth sciences) <p> 560 บรรพชีวินวิทยา (Paleontology; Paleozoology) <p>570 ชีววิทยา (Life sciences) <p> 580 พฤกษศาสตร์ (Plants) <p>590 สัตววิทยา (Zoological sciences/Animals) <p> 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี (Technology (Applied sciences)) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences; Medicine) <p>620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering & applied operations) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว (Home economics & family living) <p> 650 การจัดการธุรกิจ (Management & auxiliary services) <p> 660 วิศวกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 สินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> 700 ศิลปกรรม การบันเทิง (Arts) <p> 710 ภูมิสถาปัตย์ (Civic & landscape art) <p> 720 สถาปัตยกรรม (Architecture) <p> 730 ประติมากรรม (Plastic arts; Sculture) <p> 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ (Drawing & decorative arts) <p> 750 จิตรกรรม ภาพเขียน (Painting & paintings) <p> 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิก (Graphic arts; Printmaking & prints) <p> 770 การถ่ายรูป ภาพถ่าย (Photography & photographs) <p> 780 ดนตรี (Music) <p> 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา (Recreational & performing arts) <p> 800 วรรณกรรม วรรณคดี (Literature) <p> 810 วรรณคดีอเมริกันในภาษาอังกฤษ (Literature rhetoric & criticism) <p> 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ (English & Old English literatures) <p> 30 วรรณคดีภาษาเยอรมัน (Literatures of Germanic languages) <p> 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ (Literatures of Romance languages) <p> 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romanic) <p> 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Portugese literature) <p> 870 วรรณคดีภาษาละติน (Italic literature; Latin) <p> 880 วรรณคดีภาษากรีก (Hellenic literatures; Classical Greek) <p> 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ (Literatures of other languages) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ (History, geography & biography) <p> 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว (Geography & travel) <p> 920 ชีวประวัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (Biography, genealogy, insignia) <p> 930 ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ (History of ancient world) <p> 940 ประวัติศาสตร์ยุโรป โลกตะวันตก (General history of Europe) <p> 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก (General history of Asia; Far East) <p> 960 ประวัติศาสตร์แอฟริกา (General history of Africa) <p> 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ (General history of North America) <p> 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ (General history of South America) <p> 990 ประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ ของโลก (General history of other areas) <p>จากหมวดย่อย 100 หมวด เลขตัวที่ 2 คือเลขหลักสิบของหมวดย่อยทั้ง 100 หมวด เป็นเลข 0-9 เหมือนๆ กัน เพราะหมวดใหญ่แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อยเท่าๆ กัน ซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานของระบบที่ใช้เลขฐาน 10 เป็นหลักในการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้จากหมวดใหญ่ไปหมวดย่อย และเลขหมู่หมวดใหญ่แต่ละหมวด ต่างก็มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาความรู้หมวดย่อยทุกหมวด เช่น หมวด 100 ครอบคลุมวิชาความรู้ในหมวด 110-190 <p> <p>2.3 การแบ่งครั้งที่ 3 (Third Summary) คือ การแบ่งวิชาความรู้ในหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็นหมู่ย่อย (Section) 10 หมู่ย่อย ตัวอย่าง การแบ่งหมวดย่อย 630 <p> 630 เกษตรศาสตร์ <p> 631 เทคนิค อุปกรณ์ และวัสดุ (Techniques, equipment, materails) <p> 632 ความเสียหายของพืชอันเกิดจากเชื้อโรคและสัตว์ (Plant injuries, diseases, pests) <p> 633 การเพาะปลูกพืชไร่ (Field & plantation crops) <p> 634 การทำสวนผลไม้ ผลไม้ และป่าไม้ (Orchards, fruits, forestry) <p> 635 การทำสวนครัว (Garden crops (Horticulture)) <p> 636 สัตวบาล (Animal husbandry) <p> 637 อุตสาหกรรมนมเนย (Processing dairy & related products) <p> 638 การเพาะเลี้ยงแมลง (Insect culture) <p> 639 การล่าสัตว์ การตกปลา การอนุรักษ์ (Hunting, fishing, comservation) <p> ในแต่ละหมู่ย่อย ยังแบ่งวิชาความรู้ออกไปสู่เรื่องที่เฉพาะมากขึ้นได้อีก โดยการกระจายเลขหลังจุดทศนิยมต่อจากเลข 3 หลักดังกล่าว เช่น <p> หมวด 600 Technology (Applied sciences) เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ <p> 610 Medical sciences Medicine (การแพทย์) <p> 611 Human anatomy, cytology, tissues (กายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยื่อ) <p> 630 Agriculture & related technologies (การเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร) <p> 631 Crops & their production (พืชและผลิตผล) <p> 632 Plant injuries, diseases, pests (โรคพืช แมลงศัตรูพืช) <p> 633 Field crops (พืชไร่) <p> 634 Orchards, fruits, forestry (ผลไม้และการทำป่าไม้) <p> .9 Forestry (การทำป่าไม้) <p> .92 Forest economy (ไม้เศรษฐกิจ) <p> .928 Management (การจัดการ) <p> .956 Forestation (การเพาะพันธุ์) <p> .9562 Seeds, seed collecting, seeding (เมล็ดพันธุ์) <p> ตัวอย่าง หนังสือ เรื่อง การปลูกพืชด้วยเมล็ด เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 634.9562 <p> พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 495.913 <p> ระบบทศนิยมดิวอี้มีตารางช่วย (Auxiliary tables) ซึ่งเป็นตารางย่อยใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หนังสือ เพื่อระบุลักษณะเฉพาะของหนังสือมากยิ่งขึ้น ว่าเนื้อเรื่องที่เขียนในลักษณะใด เขียนเป็นภาษาใด เกี่ยวกับพื้นที่หรือท้องถิ่นใด หรือเกี่ยวกับใคร เป็นต้น ช่วยให้สามารถวิเคราะห์เนื้อหาได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น ตารางช่วยดังกล่าวมี 7 ตาราง ได้แก่ <p> ตารางที่ 1 ตารางเลขวิธีเขียน (Standard subdivisions) หรือ ตารางย่อยมาตรฐาน ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ได้ทุกหมวดหมู่ แสดงถึงวิธีเขียน เช่น <p> 01- สำหรับหนังสือที่เขียนในเชิงทฤษฎีและปรัชญา <p> 02- สำหรับหนังสือคู่มือ หนังสือภาพ หนังสือที่มีตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเป็นส่วนประกอบสำคัญ หนังสือนามานุกรม และหนังสือเบ็ดเตล็ดอื่นๆ <p> 03- สำหรับหนังสือพจนานุกรม สารานุกรม บัญชีคำศัพท์ <p> 04- เป็นเลขว่างซึ่งจะกำหนดใช้เพื่อแบ่งย่อยเรื่องเฉพาะของเลขหมู่บางเลขหมู่เท่านั้น <p> 05- สำหรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น หนังสือรายปี รายงานประจำปี วารสารและหนังสือพิมพ์ <p> 06- สำหรับเรื่องของสมาคมและชมรมวิชาชีพ รวมทั้งการดำเนินงานของสมาคมหรือชมรมนั้นๆ <p> 07- สำหรับหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อการศึกษาและการสอน เช่น ตำรา งานวิจัย หลักสูตร สมุดแบบฝึกหัด เป็นต้น <p> 08- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติและพรรณนาเรื่องราวของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มอาชีพ <p> 09- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติของเรื่องราวต่างๆ ในยุคสมัยใดยุคสมัยหนึ่ง และเขียนถึงเรื่องราวต่างๆ ในพื้นที่หรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ คือ ประวัติของพุทธศาสนา <p> พุทธศาสนา (เลขหมู่คือ 294) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> ประวัติ (-09) <p> เลขหมู่ที่กำหนดจากการเติม ได้เป็น 294.309 <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เป็น พจนานุกรมทางวิทยาศาสตร์ <p> วิทยาศาสตร์ (500) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> พจนานุกรม (-03) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 503 <p> ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิศาสตร์ (Areas) ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ที่มีคำอธิบายให้เพิ่มเลขภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงให้ทราบถึงสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องภายในเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นที่ใด ซึ่งอาจจะเป็นทวีป ประเทศ รัฐ เมือง แม่น้ำ มหาสมุทร เป็นต้น <p> -1 เขตภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น เขตมหาสมุทร ทะเล เขตภูมิอากาศ <p> -2 สำหรับหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในเขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่ง <p> -3 ดินแดนสมัยโบราณ เช่น เมโสโปเตเมีย ปาเลสไตน์ อียิปต์ <p> -4 ทวีปยุโรป <p> -5 ทวีปเอเซีย <p> -6 ทวีปแอฟริกา <p> -7 ทวีปอเมริกาเหนือ <p> -8 ทวีปอเมริกาใต้ <p> -9 พื้นที่ส่วนอื่นๆ เช่น หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และดินแดนที่อยู่นอกโลก เช่น อวกาศ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร <p> ตารางที่ 3 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดวรรณคดี ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดวรรณคดีเพื่อระบุลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีนั้นๆ <p> -08 สำหรับหนังสือรวมวรรณคดี เฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -09 สำหรับหนังสือประวัติศาสตร์และวิจารณ์วรรณคดีเฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -1-8 ลักษณะคำประพันธ์ ได้แก่ <p> -1 กวีนิพนธ์ <p> -2 บทละคร <p> -3 นวนิยาย <p> -4 ความเรียง บทความ <p> -5 สุนทรพจน์ ปาฐกถา <p> -6 จดหมาย <p> -7 เรื่องเชิงล้อเลียนและตลกขบขัน <p> -8 งานเขียนเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เช่น บันทึกประจำวัน บันทึกความจำ สุภาษิตคำคม <p> ตารางที่ 4 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดภาษา เป็นตารางเลขย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดภาษาเฉพาะ เพื่อระบุเรื่องเฉพาะของแต่ละภาษานั้น เช่น ไวยากรณ์ภาษา พจนานุกรมภาษา หลักการอ่าน เขียนภาษา เป็นต้น <p> -1 หลักในการเขียนและพูดภาษาต่างๆ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน <p> -2 นิรุกติศาสตร์ <p> -3 พจนานุกรมภาษา <p> -32-39 พจนานุกรมสองภาษา <p> -5 ระบบโครงสร้างหรือหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้เป็นมาตรฐาน <p> -7 ภาษาที่ไม่ได้ใช้เป็นมาตรฐาน เช่น ภาษาถิ่น ภาษาแสลง ภาษาโบราณ <p> -8 ภาษาประยุกต์ (การนำเอาภาษาไปประยุกต์ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น การแปล การสอน) <p> ตัวอย่าง <p> เนื่อเรื่องของหนังสือ เป็นพจนานุกรมภาษาไทย <p> ภาษาไทย (495.91) <p> เรื่องเฉพาะทางภาษา (เลขจากตารางที่ 4) <p> พจนานุกรมภาษาเดียว (-3) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 495.913 <p> ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ กลุ่มชนชาติ เป็นตารางย่อยที่ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางอื่นเพื่อแบ่งย่อยเนื้อเรื่องออกไปตามกลุ่มเชื้อชาติหรือเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ <p> -01 ชนพื้นเมือง <p> -03 กลุ่มเผ่าพันธุ์พื้นฐานของมนุษย์ เช่น คอเคซอยด์ มองโกลอยด์ <p> -1-9 กลุ่มเชื้อชาติของมนุษย์ จัดตามถิ่นกำเนดหรือถิ่นที่อยู่ <p> -1 เชื้อชาติอเมริกันเหนือ <p> -2 เชื้อชาติแองโกล-แซกซอน บริติช อังกฤษ <p> -3 เชื้อชาตินอร์ดดิค เช่น พวกเยอรมัน <p> -4 เชื้อชาติลาตินใหม่ เช่น พวกฝรั่งเศส <p> -5 เชื้อชาติอิตาเลียน <p> -6 เชื้อชาติสเปนและโปรตุเกส <p> -7 เชื้อชาติอิตาลิค เช่น พวกโรมันโบราณ <p> -8 เชื้อชาติกรีก <p> -9 เชื้อชาติอื่นๆ เช่น พวกอินเดียน สลาฟ แอฟริกัน ไทย จีน ญี่ปุ่น ฯลฯ <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เรื่อง ประเพณีการแต่งงานของไทย <p> ประเพณีการแต่งงาน (392.5) <p> เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ (เลขจากตารางที่ 5) <p> เชื้อชาติไทย (-9591) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 392.50899591 <p> ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา กำหนดเพื่อใช้กับเลขหมู่ในตารางช่วยอื่น เพื่อระบุภาษาที่ใช้ในการเขียนเนื้อเรื่องของหนังสือแต่ละเล่ม <p> สังเขปตารางเลขภาษา <p> -1 ภาษาอินโด-ยูโรเปียน <p> -2 ภาษาอังกฤษและแองโกล-แซกซอน <p> -3 ภาษาเยอรมัน <p> -4 ภาษาตระกูลโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส <p> -5 ภาษาอิตาเลียน <p> -6 ภาษาสเปนและโปรตุเกส <p> -7 ภาษาตระกูลอิตาลิค เช่น ภาษาลาติน <p> -8 ภาษาตระกูลเฮลเลนิก เช่น ภาษากรีก <p> -9 ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาฮีบรู เป็นต้น <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ สารานุกรมภาษาไทย <p> สารานุกรมทั่วไป (039) <p> ภาษา (เลขจากตารางที่ 6) <p> ภาษาไทย (-95911) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 039.95911 <p> ตารางที่ 7 ตารางเลขบุคคล เป็นตารางย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางช่วยอื่นเพื่อระบุเรื่องย่อยของหนังสือว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในลักษณะใด เช่น กลุ่มอาชีพ เพศ วัย ชนชั้นทางสังคม ฯลฯ ตาราง 7 จะใช้ประกอบกับเลขหมู่ที่มีคำอธิบายให้เติมเลขบุคคลจากตาราง 7 ช่วย (Add "Persons" notation ...) เช่น Add "Person" notation 04-87 from Table 7 to base number 704 e.g. lawyers as artists 704.344; however, class art dealers in 338.7617; description, critical appraisal, wors, biography of artisits in 709.2 <p> สังเขปตารางเลขบุคคล <p> -01 ปัจเจกบุคคล <p> -02 กลุ่มบุคคลทั่วไปไม่ระบุลักษณะเฉพาะทางอาชีพ เพศ วัย และอื่นๆ <p> -03 กลุ่มบุคคลจัดตามภูมิหลังทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ <p> -04 กลุ่มบุคคลจัดตามเพศและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ <p> -05 กลุ่มบุคคลจัดตามอายุ <p> -06 กลุ่มบุคคลจัดตามลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ <p> -08 กลุ่มบุคคลจัดตามสภาพทางร่างกายและจิตใจ <p> -09 กลุ่มบุคคลที่ไม่จัดอยู่ในวิชาชีพเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักวิจัย นักการศึกษา บรรณารักษ์ และนักสารสนเทศ โดยจะมีตัวเลขแบ่งย่อยอีกตามกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาชีพต่างๆ <p> ตัวอย่าง หนังสือเกี่ยวกับจิตรกรรมและมัณฑนศิลป์ของเด็กนักเรียน <p> จิตรกรรมและมัณฑศิลป์ (704.04-.87) <p> เด็กนักเรียน หาเลขเด็กนักเีรียนจากตาราง 7 (-054 4) <p> เลขหมู่ทีเ่กิดจากการเติม 704.0544 <p> บรรณานุกรม <p>Guide to use of Dewey decimal classification : based on the practice of the Decimal Classification Office at the Library of Congress. 1962. Lake Placid Club, N.Y. : Forest Press. <p>OCLC Online Computer Library Center, Inc. Summaries DDC Dewey Decimal Classification. 2003. Rereive from http://www.oclc.org/dewey/resources/summaries/deweysummaries.pdf. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> ทองหยด ประุทุมวงศ์ และ พรทิยพ์ สุวันทารัตน์. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบทศนิยมดิวอี้ ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 150-217. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Classification, Library of Congress | ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Communication in library science | การสื่อสารทางบรรณารักษศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Serial publication | สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110602-serial-publications.jpg" Title="Serial publication" alt="Serial publication"> <br>ภาพที่ 1 ตัวอย่างหน้าปกสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง <p>คือ สิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดการออกอย่างต่อเนื่อง ภายในชื่อเรื่องเดียวกัน ทั้งนี้ส่วนใหญ่มักมีหมายเลขแสดงลำดับที่การออกในแต่ละช่วงปีที่ดำเนินการจัดพิมพ์และเผยแพร่ เช่น วารสาร Nature Medicine ซึ่งมีกำหนดออกรายเดือน ฉบับประจำเดือน พ.ค. 2554 คือ May 2011, Volume 17 No 5 pp515-632 <p>ตัวอย่างกำหนการออก <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายสี่เดือน (Quarterly) คือ 4 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 3 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายปี (Annually) คือ 1 ปี : ครั้ง เช่น รายงานประจำปี <p>สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องนี้รวมถึง วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ สิ่งพิมพ์รายปี เช่น รายงานประชุมปี รายงานการสำรวจ สถิติ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Radio frequency identification systems | รหัสประจำตัวระบบคลื่นความถี่วิทยุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Communication | การสื่อสาร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Wireless communication | การสื่อสารไร้สาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Wireless communication systems | ระบบสื่อสารไร้สาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Optical communication | การสื่อสารเชิงแสง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Quantum communication | การสื่อสารเชิงควอนตัม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Telecommunication | โทรคมนาคม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Science communication | การสื่อสารวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Acidification | การทำให้เป็นกรด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Data compression (Telecommunication) | การบีบอัดข้อมูล (โทรคมนาคม) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Data compression (Telecommunication) | การบีบอัดข้อมูล (โทรคมนาคม) [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Echo suppression (Telecommunication) | การบีบอัดสัญญาณเสียงสะท้อน (โทรคมนาคม) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Coal gasification | การผลิตก๊าซจากถ่านหิน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Gene amplification | การเพิ่มจำนวนยีน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Detoxification (Health) | การล้างพิษ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Soil acidfication | ความเป็นกรดของดิน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Cation | แคตไอออน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Global system for moble communication | จีเอสเอ็ม (ระบบสื่อสารเคลื่อนที่) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Educational technologist | นักเทคโนโลยีทางการศึกษา [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Electric fault location | ตำแหน่งฟอลต์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radio frequency identification system | ระบบกำหนดรหัสประจำตัวด้วยคลื่นความถี่วิทยุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Multimedia system in education | ระบบมัลติมีเดียในการศีกษา [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Ramification | [ra-mə-fə-ˈkā-shən] (n) ผลม, ผลที่ตามมา, ผลสรุป, ผลที่เกิดขึ้น, See also: outgrowth, Syn. consequence |
adjudication | (n) คำตัดสิน (จะใช้ในกรณีการตัดสินคดีล้มละลาย) |
application | (n) ใบคำร้อง, ใบคำขอ |
authentication unit | หน่วยรับรองความน่าเชื่อถือ |
Bachelor of Education | (n) ศึกษาศาสตรบัณฑิต |
co-education | [โค เอ็ดดึเคชัน] (n) สหศึกษา |
coronary calcification | (n) ภาวะแคลเซียมเกาะผนังเส้นเลือดหัวใจ |
deduplication | (n) การทำหน้าที่เพียงอย่างเดียว |
devitrification | [しっとう] กระบวนการเปลี่ยนแก้วเป็นคริสตัล |
divarication | (n) การแตกสาขา, See also: forking, ramification, forking, Syn. ramification |
educational durable objects | ครุภัณฑ์ทางการศึกษา |
Fabrication | (jargon) การแปรรูปโลหะ |
floccinaucinihilipilification | [/ˌflɒksɪˌnɔːsɪˌnɪhɪlɪˌpɪlɪfɪˈkeɪʃ(ə)n/. [ flok-suh-naw-suh-nahy-hil-uh-pil-uh-fi-key-] (n, uncountable, noun) [ ส่วนใหญ่ใช้ในเชิงตลกขบขัน ] การกระทำหรือนิสัยที่มองว่าบางสิ่งบางอย่างนั้นไม่สำคัญ, ไม่มีค่า, หรือไร้ค่า., See also: disdaining, ignoring, A. esteeming, valuing, praising, Syn. devaluing |
general educational development | การสอบเทียบวุฒิ |
identification, friend or foe | (n) ระบบพิสูจน์ฝ่ายว่าเป็นมิตรหรือศัตรู |
inclusive education | (n) การศึกษาแบบเรียนรวม - เป็นการเรียนการสอนที่รวมเอานักเรียนที่ต้องการความใส่ใจดูแลเป็นพิเศษ (อาจพิการ ฯลฯ) มาเรียนรวมกับเด็กปกติ |
Inclusive Education | (n) การศึกษาแบบเรียนร่วม การจัดการศึกษาให้กับกลุ่มบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ เช่น คนพิการ คนด้อยโอกาส คนไร้สัญชาติ คนอพยพ โดยคำนึงถึงการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน หรือระบบการศึกษาแบบปกติ มีจุดมุงหมายเพื่อสร้างความเข้าใจ และการยอมรับความแตกต่าง ความสามารถระหว่างบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนค้นพบศักยภาพของตนเอง และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข |
indemnification | ค่าสินไหมทดแทน |
Khonkaen Vocational College | [ขอนแก่น โวเคชั่นแนลคอลเลจ] (n) วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น |
qualification allowance | เงินวิทยฐานะ |
quantification | การทำให้เป็นตัวเลข |
safety education | สวัสดิรักษา |
specification | (vt) รายละเอียด |
telecommunications | (n) การสื่อสารทางไกลโดยใช้โทรศัพท์ เคเบิล โทรทัศน์ วิทยุและโทรเลข |
The Asia-Pacific Development & Communication Centre (ADCC) of Dhurakij Pundit Univer | (adj) The Asia-Pacific Development & Communication Centre (ADCC) of Dhurakij Pundit University provides short-term capacity-building training courses to development professionals from governments, NGOs, development banks and UN agencies. |
verification | (n) การทวนสอบ |
ความนัย | (n) implication, See also: meaning, Syn. ความหมาย, Example: ถ้อยโต้ตอบเหล่านี้มีความนัยซ่อนเร้นอยู่ |
ทำเลทอง | (n) golden location, See also: good spot, good location, Syn. ทำเลดี, Example: ร้านค้าแถวนี้กลายเป็นแหล่งทำเลทองไปในทันทีหลังจากมีการสร้างห้างสรรพสินค้าขึ้น |
บัตรประชาชน | (n) ID card, See also: identification card, identity card, Syn. บัตรประจำตัวประชาชน, บัตรประจำตัว, Example: รัฐบาลออกบัตรประชาชนให้ประชาชนทุกคน, Thai Definition: เอกสารแสดงฐานะโดยย่อของบุคคล มักมีรูปถ่ายของบุคคลนั้นติดอยู่ด้วย |
บัตรเหลือง | (n) temporary ID card, See also: temporary identification card, Example: เขานำใบแจ้งความไปที่อำเภอเพื่อออกบัตรเหลืองชั่วคราวแทนบัตรประชาชน, Thai Definition: บัตรที่ทางอำเภอออกให้เพื่อใช้แทนบัตรประชาชนชั่วคราว |
วัยเรียน | (n) studying age, See also: education age, Syn. วัยศึกษา, Example: เมื่อนึกถึงวัยเรียนความทรงจำที่สนุกสนานก็ผุดขึ้นมามากมาย, Count Unit: วัย, Thai Definition: ระยะเวลาของอายุที่อยู่ในช่วงกำลังศึกษาเล่าเรียน |
ตื้นลึกหนาบาง | (n) ins and outs, See also: inside story, complication (of), Example: เขาไม่รู้ถึงตื้นลึกหนาบางเรื่องที่พ่อแม่ทะเลาะกัน, Thai Definition: รายละเอียดของเรื่องที่ไม่เปิดเผย |
กรมอาชีวศึกษา | (n) Department of Vocational Education |
กศน. | (n) Department of Non-Formal Education, Syn. กรมการศึกษานอกโรงเรียน |
กสท. | (n) The Communications Authority of Thailand, See also: CAT., Syn. การสื่อสารแห่งประเทศไทย |
คค | (n) Ministry of Transport and Communications, Syn. กระทรวงคมนาคม |
นศ.บ. | (n) Bachelor of Arts in Mass Communication, Syn. นิเทศศาสตรบัณฑิต |
ป. | (n) primary education, Syn. ประถมศึกษา |
ม. | (n) secondary education, Syn. มัธยม |
ม. | (n) secondary education, Syn. มัธยมศึกษา, Thai Definition: การศึกษาระหว่างประถมศึกษากับอุดมศึกษา |
ยูเนสโก | (n) UNESCO, See also: United Nations Educational Scientific and Cultural Organization, Syn. องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ |
ศธ | (n) Ministry of Education, Syn. กระทรวงศึกษาธิการ |
สกศ. | (n) Office of the National Education Commission, See also: ONEC, Syn. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ |
สช. | (n) Office of Private Education Commission, Syn. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน |
สปช. | (n) Office of the National Primary Education Commission, Syn. สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ |
อ.ส.ม.ท. | (n) The Mass Communication Organization of Thailand, See also: MCOT, Syn. องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย |
เครื่องมือสื่อสาร | (n) communication tool, Syn. อุปกรณ์การสื่อสาร, Example: ในยุคโลกาภิวัตน์ เครื่องมือสื่อสาร โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ถือเป็นส่วนประกอบสำคัญในการจัดการศึกษา |
ศูนย์การคมนาคม | (n) communication center |
ศูนย์การสื่อสาร | (n) communication center |
อุปกรณ์การเรียนการสอน | (n) teaching aid, See also: educational aid |
ประกาศรับ | (v) announce one is accepting application, See also: announce accepting application, Syn. รับสมัคร, ประกาศรับสมัคร, Example: หากบริษัทเรามีตำแหน่งว่าง เราจะประกาศรับทันที, Thai Definition: แจ้งให้ทราบถึงการรับสมัคร |
อุปกรณ์โทรคมนาคม | (n) telecommunication, Example: ภายในยานจะติดตั้งอุปกรณ์สำหรับนำทางและอุปกรณ์โทรคมนาคมที่สำคัญไว้คอยติดต่อกับภาคพื้นดิน, Thai Definition: เครื่องมือที่ใช้ในการส่งและรับสัญญาณโดยอาศัยระบบสายวิทยุสื่อสารหรือระบบแม่เหล็กไฟฟ้าอื่นๆ |
สถานศึกษา | (n) school, See also: establishment for education, Syn. โรงเรียน |
สถาบันอุดมศึกษา | (n) institution of education, Syn. มหาวิทยาลัย, วิทยาลัย |
สัตยาบัน | (n) ratification, Syn. คำมั่นสัญญา, คำรับรอง, คำมั่น |
สิ่งเร้า | (n) stimulus, See also: provocation, spur, incentive, Syn. สิ่งจูงใจ, สิ่งล่อใจ |
สื่อสารมวลชน | (n) mass communication |
การสื่อสาร | (n) communication, Syn. การติดต่อสื่อสาร, Example: ภาษาเป็นสื่อสำคัญที่มนุษย์ใช้เพื่อการสื่อสาร และเก็บบันทึกเรื่องราว, Thai Definition: การส่งเนื้อหาจากฝ่ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ายหนึ่ง |
แทรกซ้อน | (v) have complications, Syn. สอดแทรก, เข้าแทรก, แทรก, Example: เขาตัดสินใจอำลาการเมือง เนื่องจากเข้าผ่าตัดลำไส้ใหญ่แล้วอาการต่างๆ ที่แทรกซ้อนยังไม่ดีขึ้น, Thai Definition: การที่สิ่งหนึ่งเกิดขึ้นในระหว่างที่อีกสิ่งหนึ่งกำลังเกิดอยู่ |
หมวดหมู่ | (n) classification, See also: category, grouping, sort, type, Syn. พวก, หมู่, หมวด, Example: นักภาษาศาสตร์ทำการแบ่งภาษาต่างๆ ในโลกออกเป็นหมวดหมู่ตามโซนและต้นตระกูลภาษา |
นัยประหวัด | (n) implication, Thai Definition: ความสัมพันธ์ต่อเนื่องประหวัดถึงกันระหว่างสิ่งใดสิ่งหนึ่งกับความคิดที่เกิดขึ้น |
สถานศึกษาวิชาชีพ | (n) vocational school, See also: professional school, Example: สถานศึกษาวิชาชีพในวิทยาลัยชุมชนมุ่งเน้นการสอนวิชาชีพทั่วไป และสอนหลักสูตรระยะสั้นสำหรับนักศึกษาผู้ใหญ่ |
สิ่งพิมพ์เผยแพร่ | (n) publication, Example: ห้องสมุดประชาชนอำเภอจะเป็นแหล่งบริการข่าวสารข้อมูลในหมู่บ้าน โดยการผลิตเอกสารสิ่งพิมพ์เผยแพร่ที่เหมาะสมให้กับชาวชนบท, Thai Definition: สมุด แผ่นกระดาษ หรือวัตถุใดๆ ที่พิมพ์ขึ้น โดยมีเนื้อหาที่ต้องการเผยแพร่ข้อมูลข้อมูลต่อสาธารณะชน |
สถานภาพทางการศึกษา | (n) educational status |
มัธยมศึกษาตอนปลาย | (n) high school education, Syn. มัธยมปลาย, ม.ปลาย, Ant. มัธยมศึกษาตอนต้น, Example: กำลังคนที่เป็นที่ต้องการทางเศรษฐกิจมักจะตกอยู่ในผู้ที่จบมัธยมศึกษาตอนปลาย อาชีวศึกษาหรือมหาวิทยาลัย, Thai Definition: การศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 |
มูลนิธิกองทุนการศึกษาเพื่อการพัฒนา | (n) The Education for Development Foundation, See also: EDF, Example: มูลนิธิกองทุนการศึกษาเพื่อการพัฒนาได้มีการจัดการประชุมสรุปผลการทำงานประจำปีขึ้น ที่สวนเพชรรีสอร์ท จังหวัดเพชรบุรี, Thai Definition: องค์กรอาสาสมัครที่ไม่แสวงหาผลกำไร ให้ทุนการศึกษาเพื่อช่วยเหลือเยาวชนที่ต้องการเรียนต่อในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แต่ครอบครัวไม่สามารถจะสนับสนุนให้เรียนต่อได้ อันเนื่องมาจากความยากจน |
การพิสูจน์ | (n) proof, See also: confirmation, accreditation, certification, Syn. การยืนยัน, การรับรอง, Example: สมมติฐานดังกล่าวนี้ยังไม่เคยได้รับการพิสูจน์อย่างจริงจังเลยว่าเป็นความจริงหรือไม่, Thai Definition: การแสดงให้เห็นจริง |
ครอบจักรวาล | (adj) universal, See also: of wide application, Example: นักวิจัยหลายท่านยังคงมุ่งประเด็นการวิจัยไปยังความรู้แบบครอบจักรวาล, Thai Definition: ครอบทั่วหมดทุกอย่าง |
บัตรประจำตัว | (n) identity card, See also: identification card, Syn. บัตรประจำตัวประชาชน, Example: ชาวบ้านที่จะมาขอรับเงินต้องแสดงบัตรประจำตัวเสียก่อน หัวคะแนนจึงจ่ายให้, Count Unit: ใบ, ฉบับ, Thai Definition: เอกสารแสดงฐานะโดยย่อของบุคคล มักมีรูปถ่ายของบุคคลนั้นติดอยู่ด้วย |
ใบแจ้งความ | (n) notice, See also: notification, Example: ตำรวจออกใบแจ้งความให้เพื่อไปทำบัตรประชาชนใบใหม่ |
ใบสมัคร | (n) application, Syn. ใบสมัครงาน, Example: มีผู้ยื่นใบสมัครในตำแหน่งนี้ 20 คน, Thai Definition: เอกสารแจ้งขอความจำนงเข้าเรียน ขอเข้าทำงานหรือร่วมกิจการ |
มัธยม | (n) secondary (education), See also: middle school, high school, Syn. มัธยมศึกษา, Example: ถึงแม้ว่าพระยาอนุมานราชธนจะจบแค่มัธยม 4 แต่ท่านเป็นพระยาเมื่ออายุเพียง 36 ปีเท่านั้น, Thai Definition: ชั้นการศึกษา หลักสูตรสูงกว่าชั้นประถม ต่ำกว่าอุดมศึกษา, Notes: (สันสกฤต) |
มัธยมศึกษา | (n) secondary education, See also: high school education, Syn. ม., มัธยม, Example: พ่อสำเร็จมัธยมศึกษาทางวิทยาศาสตร์ ในทางภาษาศาสตร์จึงไม่ค่อยสันทัด, Thai Definition: การศึกษาระหว่างประถมศึกษากับอุดมศึกษา |
วิชาชีพ | (n) vocation, See also: profession, occupation, career, Thai Definition: อาชีพที่ต้องอาศัยวิชาความรู้ความชำนาญ |
วิทยุสื่อสาร | (n) radio communication, Example: ไต๋เรือกรอกเสียงลงไปยังปากพูดวิทยุสื่อสารอย่างร้อนรน เพื่อขอความช่วยเหลือ, Count Unit: เครื่อง |
วุฒิ | (n) qualification, Syn. ภูมิรู้, Example: สำหรับตัวผมนั้นคงจะได้รับเลือก เพราะมีวุฒิสูงกว่าคุณสมบัติอย่างอื่น, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
อาชีพ | [āchīp] (n) EN: profession ; occupation ; livelihood ; career ; vocation ; work FR: profession [ f ] ; métier [ m ] ; occupation [ f ] ; activité [ f ] ; boulot [ m ] (fam.) ; job [ m ] (fam.) |
อาชีวะ | [āchīwa] (n) EN: trade ; occupation ; vocation ; profession ; career ; calling |
อาชีวศึกษา | [āchīwaseuksā] (n) EN: vocational education ; vocational training FR: enseignement professionnel [ m ] |
ไอออนบวก | [ai-øn būak] (n, exp) EN: cation FR: cation [ m ] |
อาการ | [ākān] (n) EN: symptom ; syndrom ; indication FR: symptôme [ m ] ; signe [ m ] |
อาคารเรียน | [ākhān rīen] (n, exp) EN: school building ; education building FR: bâtiment scolaire [ m ] |
แบบใบสมัคร | [baēp bai samak] (n, exp) EN: application form FR: formulaire d'inscription [ m ] |
ใบดำ | [baidam] (n) EN: notification of funeral FR: faire-part de décès [ m ] |
ใบคำร้องขอ | [bai khamrøngkhø] (n, exp) EN: application form |
ใบขออนุญาต | [bai khø anuyāt] (n, exp) EN: application form |
ใบลา | [bailā] (n) EN: request for leave of absence ; application for leave ; application for leave of absence |
ใบมรณบัตร | [bai møranabat] (n, exp) EN: notification of death FR: certificat de décès [ m ] ; attestation de décès [ f ] |
ใบสมัคร | [bai samak] (n, exp) EN: application ; application form FR: bulletin d'inscription [ m ] ; formulaire d'inscription [ m ] ; demande d'adhésion [ f ] |
ใบสมัครงาน | [bai samak ngān] (n, exp) EN: application ; application form |
ใบสมัครสมาชิก | [bai samak samāchik] (n, exp) EN: member application FR: demande d'adhésion [ f ] ; bulletin d'adhésion [ m ] |
ใบสุทธิ | [baisutthi] (n) EN: certificate of identity ; monk's identification card |
ใบต่างด้าว | [bai tāngdāo] (n, exp) EN: alien identification card FR: carte d'immigration [ f ] |
บ้านเช่า | [bān chao] (n, exp) EN: rented house ; house to let FR: maison à louer [ f ] ; maison en location [ f ] |
บรรณาธิการ | [bannāthikān] (n) EN: editor FR: éditeur [ m ] ; directeur de publication [ m ] ; rédacteur en chef [ m ] |
บรรณาธิการิณี | [bannāthikārinī] (n) EN: editress ; woman editor FR: directrice de publication [ f ] ; rédactrice en chef [ f ] ; éditrice [ f ] |
บัตรเหลือง | [bat leūang] (n, exp) EN: temporary ID card ; temporary identification card FR: carte d'identité provisoire [ f ] |
บัตรประชาชน | [bat prachāchon] (n, exp) EN: ID card ; identification card ; identity card FR: carte d'identité [ f ] |
บัตรประจำตัว | [bat prajamtūa] (n, exp) EN: identity card ; i.d. card ; identification card FR: carte d'identité [ f ] ; pièce d'identité [ f ] |
บัตรประจำตัวข้าราชการ | [bat prajamtūa khārātchakān] (n, exp) EN: official identification card |
เบี้ยบำนาญ | [bīa bamnān] (n) EN: pension ; life pension FR: pension [ f ] ; allocation de retraite [ f ] |
บริหารการสื่อสาร | [børihān kān seūsān] (n, exp) EN: communication management FR: management en communication [ m ] |
บุพนิมิต | [bupphanimit] (n) EN: prognostication |
เช่า | [chao] (v) EN: ren ; lease ; hire FR: louer ; prendre en location |
เชิงเทิน | [choēngthoēn] (n) EN: rampart ; battlements ; earthwork fortification FR: rempart [ m ] ; fortification [ f ] |
ช่วยบอกที | [chūay bøk thī] (v, exp) FR: donner des explications |
ดาวเทียมสื่อสาร | [dāothīem seūsān] (n, exp) EN: communication satellite FR: satellite de télécommunications [ m ] ; satellite-relais [ m ] |
โดยปริยาย | [dōi pariyāi] (adv) EN: implicitly ; indirectly ; figuratively ; by implication ; by analogy ; tacitly ; in a sense FR: implicitement |
แห่ง | [haeng] (n) EN: place ; location ; spot ; stop ; point FR: place [ f ] ; endroit [ m ] ; lieu [ m ] ; site [ m ] |
ให้เช่า | [hai chao] (v, exp) EN: lease ; let FR: louer ; donner en location ; affermer |
หิ้วผู้หญิง | [hiu phūying] (v, exp) EN: take a woman out for sexual gratification ; pick up a girl FR: embarquer une fille (fam.) |
ห้องเช่า | [hǿng chao] (n, exp) EN: room (for rent) ; apartment FR: chambre en location [ f ] ; appartement [ m ] |
ห้องขายตั๋ว | [hǿng khāi tūa] (n, exp) EN: box office FR: bureau de location [ m ] ; guichet [ m ] |
ห้องตีตั๋ว | [hǿng tī tūa] (n, exp) EN: box office FR: bureau de location [ m ] ; guichet [ m ] |
แจ้งเกิด | [jaēng koēt] (n, exp) EN: notification of birth FR: déclaration de naissance [ f ] |
จำกัดความ | [jamkatkhwām] (v) EN: define ; give meaning of word FR: définir ; donner la signification |
จริยศึกษา | [jariyaseuksā] (n) EN: moral education ; ethical education FR: éducation morale [ f ] |
จิตวิทยาการศึกษา | [jittawitthayā kānseuksā] (n, exp) EN: educational psychology FR: psychologie éducative [ f ] |
จิตวิทยาการสื่อสาร | [jittawitthayā kān seūsān] (n, exp) EN: psychology of communication FR: psychologie de la communication [ f ] |
จดหมายสมัครงาน | [jotmāi samak ngān] (n, exp) EN: letter of application |
กำหนด | [kamnot] (n) EN: specification ; determination ; assignation ; stipulation FR: spécification [ f ] ; détermination [ f ] ; fixation [ f ] ; stipulation [ f ] |
กำหนดเวลา | [kamnot wēlā] (n, exp) EN: time limit ; schedule FR: planification [ f ] |
การอธิบาย | [kān athibāi] (n) EN: explanation FR: explication [ f ] |
การแบ่งเขต | [kān baeng khēt] (n, exp) EN: demarcation FR: démarcation [ f ] |
การแบ่งแยก | [kān baengyaēk] (n) EN: split ; demarcation |
การแบ่งกลุ่ม | [kān baeng klum] (n, exp) EN: classification ; clustering |
abdication | (n) a formal resignation and renunciation of powers, Syn. stepping down |
abdication | (n) the act of abdicating, Syn. stepping down |
acidification | (n) the process of becoming acid or being converted into an acid |
active application | (n) an application that is currently running and in the foreground |
adjudication | (n) the final judgment in a legal proceeding; the act of pronouncing judgment based on the evidence presented |
adult education | (n) a course (via lectures or correspondence) for adults who are not otherwise engaged in formal study |
affrication | (n) the conversion of a simple stop consonant into an affricate |
allocation | (n) (computer science) the assignment of particular areas of a magnetic disk to particular data or instructions, Syn. storage allocation |
allocation unit | (n) a group of sectors on a magnetic disk that can be reserved for the use of a particular file |
ammonification | (n) impregnation with ammonia or a compound of ammonia |
amplification | (n) addition of extra material or illustration or clarifying detail, Syn. elaboration |
amplification | (n) the amount of increase in signal power or voltage or current expressed as the ratio of output to input, Syn. gain |
amplification | (n) (electronics) the act of increasing voltage or power or current |
animal communication | (n) communication between animals (of the same species) |
application | (n) the act of bringing something to bear; using it for a particular purpose, Syn. practical application |
application | (n) a verbal or written request for assistance or employment or admission to a school |
application | (n) the work of applying something, Syn. covering, coating |
application | (n) a program that gives a computer instructions that provide the user with tools to accomplish a task, Syn. application program, applications programme |
application | (n) a diligent effort, Syn. diligence |
application | (n) the action of putting something into operation |
application form | (n) a form to use when making an application |
application-oriented language | (n) a language whose statements resemble terminology of the user, Syn. problem-oriented language |
auditory communication | (n) communication that relies on hearing |
authentication | (n) a mark on an article of trade to indicate its origin and authenticity, Syn. hallmark, assay-mark |
authentication | (n) validating the authenticity of something or someone, Syn. certification |
avocation | (n) an auxiliary activity, Syn. pursuit, sideline, hobby, spare-time activity, by-line |
avocational | (adj) of or involved in an avocation |
ballistic identification | (n) identification of the gun that fired a bullet from an analysis of the unique marks that every gun makes on the bullet it fires and on the shell ejected from it, Syn. ballistic fingerprinting, bullet fingerprinting |
bank identification number | (n) an identification number consisting of a two-part code assigned to banks and savings associations; the first part shows the location and the second identifies the bank itself, Syn. BIN, ABA transit number |
beatification | (n) the action of rendering supremely blessed and extremely happy |
beatification | (n) (Roman Catholic Church) an act of the Pope who declares that a deceased person lived a holy life and is worthy of public veneration; a first step toward canonization |
beautification | (n) the act of making something more beautiful |
bifurcation | (n) a bifurcating branch (one or both of them) |
bifurcation | (n) the place where something divides into two branches |
bifurcation | (n) the act of splitting into two branches |
bilocation | (n) the ability (said of certain Roman Catholic saints) to exist simultaneously in two locations |
biometric identification | (n) the automatic identification of living individuals by using their physiological and behavioral characteristics, Syn. biometric authentication, identity verification |
calcification | (n) a process that impregnates something with calcium (or calcium salts) |
calcification | (n) tissue hardened by deposition of lime salts |
calcification | (n) an inflexible and unchanging state |
cartilaginification | (n) abnormal formation of cartilage from other tissues; observed in some Asians |
cation | (n) a positively charged ion |
cationic | (adj) of or relating to cations, Ant. anionic |
cationic detergent | (n) a class of synthetic detergents in which the surface-active part of the molecule is the cation, Syn. invert soap |
certification | (n) the act of certifying or bestowing a franchise on, Syn. enfranchisement, Ant. disenfranchisement |
change of location | (n) a movement through space that changes the location of something, Syn. travel |
clarification | (n) an interpretation that removes obstacles to understanding, Syn. illumination, elucidation |
classification | (n) a group of people or things arranged by class or category, Syn. categorisation, categorization |
classification | (n) the basic cognitive process of arranging into classes or categories, Syn. categorisation, sorting, categorization |
classification | (n) restriction imposed by the government on documents or weapons that are available only to certain authorized people, Ant. declassification |
Abdication | n. [ L. abdicatio: cf. F. abdication. ] The act of abdicating; the renunciation of a high office, dignity, or trust, by its holder; commonly the voluntary renunciation of sovereign power; |
Abjudication | n. Rejection by judicial sentence. [ R. ] Knowles. [ 1913 Webster ] |
Acetification | n. The act of making acetous or sour; the process of converting, or of becoming converted, into vinegar. [ 1913 Webster ] |
Acidification | n. [ Cf. F. acidification. ] The act or process of acidifying, or changing into an acid. [ 1913 Webster ] |
Adjudication | n. [ L. adjudicatio: cf. F. adjudication. ] |
Adsignification | n. Additional signification. [ R. ] Tooke. [ 1913 Webster ] |
Advocation | n. [ L. advocatio: cf. OF. avocation. See Advowson. ] The holy Jesus . . . sits in heaven in a perpetual advocation for us. Jer. Taylor. [ 1913 Webster ] The donations or advocations of church livings. Sanderson. [ 1913 Webster ] |
Aërification | n. [ Cf. F. aérification. See A&unr_;rify. ] |
Albication | n. The process of becoming white, or developing white patches, or streaks. [ 1913 Webster ] |
Albification | n. [ Cf. F. albification: L. albus white + ficare (only in comp.), facere, to make. ] The act or process of making white. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] |
Allocation | n. [ LL. allocatio: cf. F. allocation. ] The allocation of the particular portions of Palestine to its successive inhabitants. A. R. Stanley. [ 1913 Webster ] |
Altercation | n. [ F. altercation, fr. L. altercatio. ] Warm contention in words; dispute carried on with heat or anger; controversy; wrangle; wordy contest. “Stormy altercations.” Macaulay. [ 1913 Webster ] Their whole life was little else than a perpetual wrangling and altercation. Hakewill. [ 1913 Webster ] |
Amplification | n. [ L. amplificatio. ] Exaggeration is a species of amplification. Brande & C. [ 1913 Webster ] I shall summarily, without any amplification at all, show in what manner defects have been supplied. Sir J. Davies. [ 1913 Webster ] |
Appendication | n. An appendage. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] |
Application | n. [ L. applicatio, fr. applicare: cf. F. application. See Apply. ] He invented a new application by which blood might be stanched. Johnson. [ 1913 Webster ] If a right course . . . be taken with children, there will not be much need of the application of the common rewards and punishments. Locke. [ 1913 Webster ] Had his application been equal to his talents, his progress might have been greater. J. Jay. [ 1913 Webster ] |
Apprecation | n. [ L. apprecari to pray to; ad + precari to pray, prex, precis, prayer. ] Earnest prayer; devout wish. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] A solemn apprecation of good success. Bp. Hall. [ 1913 Webster ] |
Aprication | n. Basking in the sun. [ R. ] [ 1913 Webster ] |
authentication | n. a mark on an article of trade to indicate its origin and authenticity.
|
Auto-intoxication | n. [ Auto- + intoxication. ] (Med.) Poisoning, or the state of being poisoned, from toxic substances produced within the body; autotoxæmia. [ Webster 1913 Suppl. ] |
Autotoxication | n. [ Auto- + toxication. ] (Physiol.) Same as Auto-intoxication. [ Webster 1913 Suppl. ] |
Averruncation | n. [ Cf. OF. averroncation. ] |
Avocation | n. [ L. avocatio. ] Impulses to duty, and powerful avocations from sin. South. [ 1913 Webster ] Heaven is his vocation, and therefore he counts earthly employments avocations. Fuller. [ 1913 Webster ] By the secular cares and avocations which accompany marriage the clergy have been furnished with skill in common life. Atterbury. [ 1913 Webster ] ☞ In this sense the word is applied to the smaller affairs of life, or occasional calls which summon a person to leave his ordinary or principal business. Avocation (in the singular) for vocation is usually avoided by good writers. [ 1913 Webster ] There are professions, among the men, no more favorable to these studies than the common avocations of women. Richardson. [ 1913 Webster ] In a few hours, above thirty thousand men left his standard, and returned to their ordinary avocations. Macaulay. [ 1913 Webster ] An irregularity and instability of purpose, which makes them choose the wandering avocations of a shepherd, rather than the more fixed pursuits of agriculture. Buckle. [ 1913 Webster ] |
Beatification | n. [ Cf. F. béatification. ] The act of beatifying, or the state of being beatified; esp., in the R. C. Church, the act or process of ascertaining and declaring that a deceased person is one of “the blessed, ” or has attained the second degree of sanctity, -- usually a stage in the process of canonization. “The beatification of his spirit.” Jer. Taylor. [ 1913 Webster ] |
beautification | n. the act of making something more beautiful. [ WordNet 1.5 ] |
Bifurcation | n. [ Cf. F. bifurcation. ] A forking, or division into two branches. [ 1913 Webster ] |
Bilocation | n. [ Pref. bi- + location. ] Double location; the state or power of being in two places at the same instant; -- a miraculous power attributed to some of the saints. Tylor. [ 1913 Webster ] |
Calcification | n. (Physiol.) The process of change into a stony or calcareous substance by the deposition of lime salt; -- normally, as in the formation of bone and of teeth; abnormally, as in calcareous degeneration of tissue. [ 1913 Webster ] |
Calorification | n. [ Cf. F. calorification. ] Production of heat, esp. animal heat. [ 1913 Webster ] |
Caprification | n. [ L. caprificatio, fr. caprificare to ripen figs by caprification, fr. caprificus the wild fig; caper goat + ficus fig. ] The practice of hanging, upon the cultivated fig tree, branches of the wild fig infested with minute hymenopterous insects. [ 1913 Webster ] ☞ It is supposed that the little insects insure fertilization by carrying the pollen from the male flowers near the opening of the fig down to the female flowers, and also accelerate ripening the fruit by puncturing it. The practice has existed since ancient times, but its benefit has been disputed. [ 1913 Webster ] |
Carnification | n. [ Cf. F. carnification. ] The act or process of turning to flesh, or to a substance resembling flesh. [ 1913 Webster ] |
Cartilaginification | n. [ L. cartilago, -laginis, cartilage + facere to make. ] The act or process of forming cartilage. Wright. [ 1913 Webster ] |
Cation | n. [ Gr. &unr_; downward + &unr_; going, p. pr. of &unr_; to go. ] (Chem.) a positively charged atom, radical, or molecule, which in electrolysis migrates to the cathode; a positive |
cationic | adj. (Chem.) of or pertaining to cations; having a net positive charge; positively |
Certification | n. [ L. certificatio: cf. F. certification. ] The act of certifying. [ 1913 Webster ] |
Chondrification | n. (Physiol.) Formation of, or conversion into, cartilage. [ 1913 Webster ] |
Chylification | n. (Physiol.) The formation of chyle. See Chylifaction. [ 1913 Webster ] |
Chymification | n. [ Chyme + L. facere to make: cf. F. Chymification. ] (Physiol.) The conversion of food into chyme by the digestive action of gastric juice. [ 1913 Webster ] |
Clarification | n. [ Cf. F. clarification, L. clarificatio glorification. ] The clarification of men's ideas. Whewell. [ 1913 Webster ] |
Classification | n. [ Cf. F. classification. ] The act of forming into a class or classes; a distribution into groups, as classes, orders, families, etc., according to some common relations or affinities. [ 1913 Webster ]
|
Claudication | n. [ L. claudicatio. ] A halting or limping. [ R. ] Tatler. [ 1913 Webster ] |
Codification | n. [ Cf. F. codification. ] The act or process of codifying or reducing laws to a code. [ 1913 Webster ] |
Coeducation | n. An educating together, of different sexes or races; -- now used almost exclusively in reference to the education males and females together. [ WordNet 1.5 +PJC ] -- |
Coindication | n. [ Cf. F. coïdication. ] One of several signs or symptoms indicating the same fact; |
Collocation | n. [ L. collocatio. ] The choice and collocation of words. Sir W. Jones. [ 1913 Webster ] |
Communication | n. [ L. communicatio. ] Argument . . . and friendly communication. Shak. [ 1913 Webster ] Evil communications corrupt good manners. 1 Cor. xv. 33. [ 1913 Webster ] The Euxine Sea is conveniently situated for trade, by the communication it has both with Asia and Europe. Arbuthnot. [ 1913 Webster ] |
communicational | adj. used in communication; |
Complication | n. [ L. compliasion: cf. F. complication. ] A complication of diseases. Macaulay. [ 1913 Webster ] Through and beyond these dark complications of the present, the New England founders looked to the great necessities of future times. Palfrey. [ 1913 Webster ] |
Comprecation | n. [ L. comprecatio, fr. comprecari to pray to. See Precarious. ] A praying together. [ Obs. ] Bp. Wilkins. [ 1913 Webster ] |
Conduplication | n. [ L. conduplicatio. ] A doubling together or folding; a duplication. [ R. ] [ 1913 Webster ] |
Confiscation | n. [ L. confiscatio. ] The act or process of taking property or condemning it to be taken, as forfeited to the public use. [ 1913 Webster ] The confiscations following a subdued rebellion. Hallam. [ 1913 Webster ] |
位 | [位] position; location; classifier for people; place; seat; classifier for binary bits (e.g. 十六位 16-bit or 2 bytes) #117 [Add to Longdo] |
教育 | [教 育] to educate; to teach; education #259 [Add to Longdo] |
到了 | [到 了] at last; finally; in the end; has arrived; when subj. arrives at a location or time #388 [Add to Longdo] |
处 | [处 / 處] place; location; spot; point; office; department; bureau; respect; classifier for locations or items of damage: spot, point #427 [Add to Longdo] |
转发 | [转 发 / 轉 發] to transmit; forwarding (mail, SMS, packets of data); to pass on; to reprint (an article from another publication) #881 [Add to Longdo] |
应用 | [应 用 / 應 用] to use; to apply; application; applicable #884 [Add to Longdo] |
交通 | [交 通] transport; traffic; communication #889 [Add to Longdo] |
教学 | [教 学 / 教 學] teacher and student; education #1,074 [Add to Longdo] |
假 | [假] vacation #1,170 [Add to Longdo] |
交流 | [交 流] exchange; give-and-take; to exchange; to alternate; communication; alternating current (elec.) #1,201 [Add to Longdo] |
体育 | [体 育 / 體 育] sports; physical education #1,281 [Add to Longdo] |
规范 | [规 范 / 規 範] norm; standard; specification; regulation; rule; within the rules; to fix rules; to regulate; to specify #1,303 [Add to Longdo] |
申请 | [申 请 / 申 請] to apply for sth; application (form etc) #1,372 [Add to Longdo] |
通知 | [通 知] to notify; to inform; notice; notification #1,407 [Add to Longdo] |
理由 | [理 由] reason; grounds; justification #1,688 [Add to Longdo] |
药物 | [药 物 / 藥 物] medicaments; pharmaceuticals; medication; medicine; drug #1,893 [Add to Longdo] |
学院 | [学 院 / 學 院] college; educational institute; school; faculty #2,091 [Add to Longdo] |
资格 | [资 格 / 資 格] qualifications #2,161 [Add to Longdo] |
地点 | [地 点 / 地 點] place; site; location; venue #2,285 [Add to Longdo] |
定位 | [定 位] position; location; localization #2,324 [Add to Longdo] |
所在 | [所 在] place; location; whereabouts; domicile; to be located; to belong to (organization, etc) #2,343 [Add to Longdo] |
季度 | [季 度] period of three month; quarter, used for financial matters, school, publications etc #2,430 [Add to Longdo] |
标 | [标 / 標] the topmost branches of a tree; surface; sign; to mark; (outward) sign; indication; prize; award; bid #2,592 [Add to Longdo] |
电信 | [电 信 / 電 信] telecommunications #2,643 [Add to Longdo] |
探索 | [探 索] to explore; to probe; commonly used in names of publications or documentaries #2,687 [Add to Longdo] |
三国 | [三 国 / 三 國] Three Kingdoms period following the break-up of the Han (220-280); several Three Kingdoms periods in Korean history, esp. from 1st century AD to unification under Silla 新羅|新罗 in 658 #2,792 [Add to Longdo] |
通道 | [通 道] (communications) channel; thoroughfare; passage #2,944 [Add to Longdo] |
道理 | [道 理] reason; argument; sense; principle; basis; justification #3,176 [Add to Longdo] |
场所 | [场 所 / 場 所] location; place #3,334 [Add to Longdo] |
回报 | [回 报 / 回 報] (in) return; reciprocation; payback; retaliation; to report back; to reciprocate #3,527 [Add to Longdo] |
通讯 | [通 讯 / 通 訊] communications; a news story (e.g. dispatched over the wire) #3,772 [Add to Longdo] |
联通 | [联 通 / 聯 通] China United Telecommunications Corporation; abbr. to China Unicom or Unicom; abbr. of 中國聯通|中国联通 #3,855 [Add to Longdo] |
广西 | [广 西 / 廣 西] Guangxi province in south China; since 1959, Guangxi Zhuang autonomous region 廣西壯族自治區|广西壮族自治区, location of the Zhuang minority peoples, abbr. 桂, capital Nanning 南寧|南宁 #3,875 [Add to Longdo] |
热线 | [热 线 / 熱 線] hotline (communications link) #3,948 [Add to Longdo] |
招聘 | [招 聘] recruitment; to invite applications for a job #3,963 [Add to Longdo] |
积 | [积 / 積] to amass; to accumulate; to store; measured quantity (such as area of volume); product (the result of multiplication); to integrate (math.); to solve (or integrate) an ordinary differential equation (math.); old; long-standing #4,063 [Add to Longdo] |
分类 | [分 类 / 分 類] classification #4,064 [Add to Longdo] |
放假 | [放 假] to have a holiday or vacation #4,417 [Add to Longdo] |
迹象 | [迹 象 / 跡 象] mark; indication; sign; indicator #5,042 [Add to Longdo] |
格式 | [格 式] form; specification; format #5,432 [Add to Longdo] |
规格 | [规 格 / 規 格] standard; norm; specification #5,467 [Add to Longdo] |
干燥 | [干 燥 / 乾 燥] to dry (of paint, cement etc); dessication; dull; uninteresting; arid #5,488 [Add to Longdo] |
假期 | [假 期] vacation #5,550 [Add to Longdo] |
验证 | [验 证 / 驗 證] to inspect and verify; experimental verification #5,712 [Add to Longdo] |
教育部 | [教 育 部] Ministry of Education #5,759 [Add to Longdo] |
困扰 | [困 扰 / 困 擾] perplex; cause complications #5,984 [Add to Longdo] |
并发症 | [并 发 症 / 併 發 症] complications (undesired side-effect of medical procedure) #6,589 [Add to Longdo] |
联络 | [联 络 / 聯 絡] communication; get in touch with; contact; connection (math.) #6,622 [Add to Longdo] |
分歧 | [分 歧] difference (of opinion, position); bifurcation #6,700 [Add to Longdo] |
址 | [址] location; site #6,867 [Add to Longdo] |
明示 | [めいじ, meiji] TH: การระบุหรือชี้ให้เห็นอย่างชัดแจ้ง EN: specification (vs) |
利用 | [りよう, riyou] TH: การประยุกต์ใช้ EN: application |
明記 | [めいき, meiki] TH: รายละเอียด EN: specification (vs) |
夏休み | [なつやすみ, natsuyasumi] TH: วันหยุดภาคฤดูร้อนเดือนสิงหาคม EN: summer vacation |
申込 | [もうしこみ, moushikomi] TH: การสมัคร EN: application |
指定 | [してい, shitei] TH: การระบุคุณสมบัติเฉพาะ EN: specification |
識別 | [しきべつ, shikibetsu] TH: การระบุลักษณะเฉพาะ EN: identification |
出版 | [しゅっぱん, shuppan] TH: การตีพิมพ์ EN: publication (vs) |
電気通信大学 | [でんきつうしんだいがく, denkitsuushindaigaku] TH: มหาวิทยาลัยเดงกิซือชิน EN: University of Electro-Communication |
使用 | [しよう, shiyou] TH: การประยุกต์ใช้ EN: application |
変更 | [へんこう, henkou] TH: แก้ไขใหม่ EN: modification |
お知らせ | [おしらせ, oshirase] TH: หมายประกาศ EN: Notification |
に | [ni] (prt) indicates such things as location of person or thing, location of short-term action, etc.; (P) #2 [Add to Longdo] |
で | [de] (prt) (1) indicates location of action; at; in; (2) indicates time of action; (3) indicates means of action; cause of effect; by; (conj) (4) and then; so; (aux) (5) (alternate form of 〜て used for some verb types) (See て) indicates continuing action; (P) #8 [Add to Longdo] |
利用 | [りよう, riyou] (n, vs) use; utilization; utilisation; application; (P) #20 [Add to Longdo] |
使用 | [しよう, shiyou] (n, vs) use; application; employment; utilization; utilisation; (P) #123 [Add to Longdo] |
化 | [か, ka] (suf) (See 化する) action of making something; -ification #151 [Add to Longdo] |
元(P);本(P);素;基 | [もと, moto] (n) (1) (usu. 元) origin; source; (2) (esp. 基) base; basis; foundation; root; (3) (also 因, 原) cause; (4) (esp. 素) ingredient; material; (5) (元 only) (somebody's) side; (somebody's) location; (6) original cost (or capital, principal, etc.); (7) (plant) root; (tree) trunk; (8) (See 和歌) first section of a waka; (ctr) (9) (本 only) counter for blades of grass, tree trunks, etc., and for falcons (in falconry); (n) (10) handle (chopsticks, brush, etc.); grip; (P) #170 [Add to Longdo] |
大学(P);大學(oK) | [だいがく, daigaku] (n) (1) (See 総合大学) post-secondary education institution, incl. university, college, etc.; (2) (abbr) (See 大学寮, 国学・こくがく・2) former central university of Kyoto (established under the ritsuryo system for the training of government administrators); (3) (See 四書) the Great Learning - one of the Four Books; (P) #195 [Add to Longdo] |
変更 | [へんこう, henkou] (n, vs) change; modification; alteration; revision; amendment; (P) #196 [Add to Longdo] |
み | [mi] (suf) (1) (also written with the ateji 味) (See 甘み) -ness (nominalizing suffix, esp. of sensory or subjective adjectives); (2) (See 深み) nominalizing suffix indicating location; (3) (See 降りみ降らずみ) (as ...mi ...mi) alternating between ... and ... #210 [Add to Longdo] |
等 | [ら, ra] (suf) (1) pluralizing suffix (often humble, derogatory or familiar); and others; et alios; and the like; and followers; (2) (See あちら, いくら) or so (rough indicator of direction, location, amount, etc.); (3) (See 清ら) (after the stem of an adjective) nominalizing suffix #221 [Add to Longdo] |
教育 | [きょういく, kyouiku] (n, adj-no, vs) training; education; (P) #283 [Add to Longdo] |
にて | [nite] (prt) indicates location of action (formal literary form of "de"); at; in; (P) #355 [Add to Longdo] |
代 | [だい, dai] (n, n-suf) (1) charge; cost; price; (2) (See 台・だい・6) generation; age; reign; (3) (geological) era; (4) (after someone's name or title) a representative of; on behalf of; for (someone); (5) (See 代表電話番号) used after a phone number to indicate that it is a switchboard number; (ctr) (6) (See 台・だい・6) counter for decades of ages, eras, etc.; (7) counter for generations (of inheritors to a throne, etc.); (8) (abbr) (See 代理申請会社) proxy application company #376 [Add to Longdo] |
出版 | [しゅっぱん, shuppan] (n, vs) publication; (P) #386 [Add to Longdo] |
発表 | [はっぴょう, happyou] (n, vs) announcement; publication; (P) #389 [Add to Longdo] |
約 | [やく, yaku] (adv) (1) approximately; about; (n) (2) promise; (3) shortening; reduction; simplification; (4) { ling } (See 約音) contraction (in phonetics); (P) #405 [Add to Longdo] |
指定 | [してい, shitei] (n, vs) designation; specification; assignment; appointment; pointing at; (P) #415 [Add to Longdo] |
交通 | [こうつう, koutsuu] (n, vs) traffic; transportation; communication; exchange (of ideas, etc.); intercourse; (P) #460 [Add to Longdo] |
修正 | [しゅうせい, shuusei] (n, vs) amendment; correction; revision; modification; alteration; retouching; update; fix; (P) #502 [Add to Longdo] |
位置(P);位地 | [いち, ichi] (n, vs) place; situation; position; location; (P) #518 [Add to Longdo] |
表示 | [ひょうじ, hyouji] (n, vs) indication; expression; display; presentation; representation; manifestation; (P) #563 [Add to Longdo] |
明記 | [めいき, meiki] (n, vs) clear writing; specification; (P) #605 [Add to Longdo] |
直し | [なおし, naoshi] (n) (1) correction; rectification; (2) mending; repair; (P) #608 [Add to Longdo] |
移動 | [いどう, idou] (n, vs) (1) removal; migration; movement; (2) mobile (e.g. communications); (P) #641 [Add to Longdo] |
場所 | [ばしょ, basho] (n) (1) place; location; spot; position; (2) room; space; (3) basho (sumo wrestling tournament); (P) #669 [Add to Longdo] |
掲載 | [けいさい, keisai] (n) (1) publication (e.g. article in paper); appearance; insertion; (vs) (2) to insert (e.g. an article); to run (e.g. in a newspaper); to carry (e.g. an article); (P) #713 [Add to Longdo] |
統合 | [とうごう, tougou] (n, vs) (1) integration; unification; synthesis; (adj-no) (2) integrated; built-in; (P) #714 [Add to Longdo] |
お知らせ;御知らせ;お報せ;御報せ | [おしらせ, oshirase] (n, vs) (See 知らせ) notice; notification #741 [Add to Longdo] |
所在地 | [しょざいち, shozaichi] (n) location; (P) #758 [Add to Longdo] |
分類 | [ぶんるい, bunrui] (n, vs) classification; categorization; sorting; (P) #819 [Add to Longdo] |
判断 | [はんだん, handan] (n, vs) judgement; judgment; decision; adjudication; conclusion; decipherment; divination; (P) #823 [Add to Longdo] |
指摘 | [してき, shiteki] (n, vs) pointing out; identification; (P) #834 [Add to Longdo] |
発行 | [はっこう, hakkou] (n, vs) (1) issue (publications); publishing; (2) raising an event (software); (P) #856 [Add to Longdo] |
気 | [げ, ge] (n, n-suf) (1) sign; indication; trace; touch; feeling; (n-pref) (2) somehow; for some reason; seeming to be #979 [Add to Longdo] |
通信 | [つうしん, tsuushin] (n, vs) correspondence; communication; transmission; news; signal; (P) #980 [Add to Longdo] |
港 | [こう, kou] (suf) harbour (in location names) #1,001 [Add to Longdo] |
統一 | [とういつ, touitsu] (n, vs) unity; consolidation; uniformity; unification; compatible; (P) #1,007 [Add to Longdo] |
検証 | [けんしょう, kenshou] (n, vs) verification; inspection; (P) #1,028 [Add to Longdo] |
連絡(P);聯絡 | [れんらく, renraku] (vs, adj-no) (1) (See ご連絡) to contact; to get in touch; (n) (2) contacting; getting in touch; communication; call; message; (3) connection; coordination; junction; (adj-no) (4) intercalary; intercalaris; internuncial; (P) #1,171 [Add to Longdo] |
運用 | [うんよう, unyou] (n, vs) (1) making use of; application; practical use; investment; (2) operation; (P) #1,185 [Add to Longdo] |
伝 | [でん, den] (n) (1) legend; tradition; (2) biography; life; (3) method; way; (4) horseback transportation and communication relay system used in ancient Japan #1,400 [Add to Longdo] |
書籍 | [しょせき, shoseki] (n) book; publication; (P) #1,413 [Add to Longdo] |
仕事 | [しごと, shigoto] (n, vs, adj-no) (1) work; job; business; occupation; employment; vocation; task; (2) { physics } work; (P) #1,420 [Add to Longdo] |
区分 | [くぶん, kubun] (n, vs, adj-no) division; section; demarcation; partition; segmentation; subdivision; (traffic) lane; compartment; classification; sorting; (P) #1,551 [Add to Longdo] |
園(P);苑 | [その(P);えん(P), sono (P); en (P)] (n, n-suf) (1) (えん usually when a suffix) (See りんご園) garden (esp. man-made); orchard; park; plantation; (2) (See 学びの園) place; location; (P) #1,581 [Add to Longdo] |
拡大 | [かくだい, kakudai] (n, vs) magnification; enlargement; expansion; (P) #1,589 [Add to Longdo] |
破壊 | [はかい, hakai] (n, vs) (1) destruction; disruption; (2) { comp } (application) crash; (P) #1,694 [Add to Longdo] |
認定 | [にんてい, nintei] (n, vs) authorization; authorisation; acknowledgment; acknowledgement; certification; recognition; (P) #1,708 [Add to Longdo] |
刊行 | [かんこう, kankou] (n, vs) publication; issue; (P) #1,767 [Add to Longdo] |
仕様(P);仕樣(oK) | [しよう, shiyou] (n) (1) way; method; means; resource; remedy; (2) (technical) specification; (P) #1,781 [Add to Longdo] |
1対1の通信 | [いちたいいちのつうしん, ichitaiichinotsuushin] one to one communication [Add to Longdo] |
2進データ同期通信 | [2しんデータどうきつうしん, 2 shin de-ta doukitsuushin] binary synchronous communication [Add to Longdo] |
あいまい度 | [あいまいど, aimaido] equivocation [Add to Longdo] |
あいまい量 | [あいまいりょう, aimairyou] equivocation [Add to Longdo] |
あふれ表示 | [あふれひょうじ, afurehyouji] overflow indication [Add to Longdo] |
アソシエーション | [あそしえーしょん, asoshie-shon] application-association, association [Add to Longdo] |
アソシエーション応答側応用エンティティ | [アソシエーションおうとうがわおうようエンティティ, asoshie-shon outougawaouyou enteitei] association-responding-application-entity, association-responder [Add to Longdo] |
アソシエーション起動側応用エンティティ | [アソシエーションきどうがわおうようエンティティ, asoshie-shon kidougawaouyou enteitei] association-initiating-application-entity, association-initiator [Add to Longdo] |
アドレス修飾 | [アドレスしゅうしょく, adoresu shuushoku] address modification [Add to Longdo] |
アドレス変更 | [アドレスへんこう, adoresu henkou] address modification [Add to Longdo] |
アプリケーションサーバ | [あぷりけーしょんさーば, apurike-shonsa-ba] application server [Add to Longdo] |
アプリケーションソフトウェア | [あぷりけーしょんそふとうえあ, apurike-shonsofutouea] application software [Add to Longdo] |
アプリケーションプログラミングインタフェース | [あぷりけーしょんぷろぐらみんぐいんたふぇーす, apurike-shonpuroguraminguintafe-su] application programming interface (API) [Add to Longdo] |
アプリケーションプログラム | [あぷりけーしょんぷろぐらむ, apurike-shonpuroguramu] application program [Add to Longdo] |
アプリケーション開発 | [アプリケーションかいはつ, apurike-shon kaihatsu] application development [Add to Longdo] |
アプリケーション層 | [アプリケーションそう, apurike-shon sou] application layer [Add to Longdo] |
アプリケーション部 | [アプリケーションぶ, apurike-shon bu] application part [Add to Longdo] |
アンダフロー表示 | [アンダフローひょうじ, andafuro-hyouji] underflow indication [Add to Longdo] |
エクステンドメモリ仕様 | [エクステンドメモリしよう, ekusutendomemori shiyou] extended memory specification (XMS) [Add to Longdo] |
エラー表示 | [エラーひょうじ, era-hyouji] error indication [Add to Longdo] |
エンドエンド通信パス | [エンドエンドつうしんパス, endoendo tsuushin pasu] end to end communication path [Add to Longdo] |
オーバーフロー表示 | [オーバーフローひょうじ, o-ba-furo-hyouji] overflow indication [Add to Longdo] |
オフィスアプリケーション | [おふぃすあぷりけーしょん, ofisuapurike-shon] office application [Add to Longdo] |
オブジェクト修飾 | [オブジェクトしゅうしょく, obujiekuto shuushoku] object modification [Add to Longdo] |
キー入力検証 | [キーにゅうりょくけんしょう, ki-nyuuryokukenshou] keystroke verification [Add to Longdo] |
キラーアプリケーション | [きらーあぷりけーしょん, kira-apurike-shon] "killer" application [Add to Longdo] |
コード化 | [コードか, ko-do ka] encoding (vs), codification [Add to Longdo] |
コード透過形データ通信 | [コードとうかがたデータつうしん, ko-do toukagata de-ta tsuushin] code-transparent data communication [Add to Longdo] |
コード独立形データ通信 | [コードどくりつがたデータつうしん, ko-do dokuritsugata de-ta tsuushin] code-independent data communication [Add to Longdo] |
コネクションレス型 | [コネクションレスがた, konekushonresu gata] connectionless communication [Add to Longdo] |
コネクションレス型ネットワーク伝送 | [こねくしょんれすがたネットワークでんそう, konekushonresugata nettowa-ku densou] connectionless-mode (network communications) [Add to Longdo] |
コミュニケーション | [こみゅにけーしょん, komyunike-shon] communication [Add to Longdo] |
コミュニケーションシステム | [こみゅにけーしょんしすてむ, komyunike-shonshisutemu] communication system [Add to Longdo] |
コミュニケーション理論 | [コミュニケーションりろん, komyunike-shon riron] communication theory [Add to Longdo] |
コンピュニケーション | [こんぴゅにけーしょん, konpyunike-shon] computer communication [Add to Longdo] |
システム管理応用エンティティ | [システムかんりおうようエンティティ, shisutemu kanriouyou enteitei] systems-management-application-entity [Add to Longdo] |
システム管理応用サービス要素 | [システムかんりおうようサービスようそ, shisutemu kanriouyou sa-bisu youso] systems management application service element [Add to Longdo] |
システム管理応用プロセス | [システムかんりおうようプロセス, shisutemu kanriouyou purosesu] systems management application process [Add to Longdo] |
スペック | [すぺっく, supekku] specification (abbr) [Add to Longdo] |
ダイアログ確立指示未完了 | [ダイアログかくりつしじみかんりょう, daiarogu kakuritsushijimikanryou] dialogue establishment indication outstanding [Add to Longdo] |
ダイアログ終了指示未完了 | [ダイアログしゅうりょうしじみかんりょう, daiarogu shuuryoushijimikanryou] dialogue termination indication outstanding [Add to Longdo] |
テスト仕様 | [テストしよう, tesuto shiyou] test specification [Add to Longdo] |
データベースアプリケーション | [でーたべーすあぷりけーしょん, de-tabe-suapurike-shon] database application [Add to Longdo] |
データ確認 | [データかくにん, de-ta kakunin] (data) authentication [Add to Longdo] |
データ通信 | [データつうしん, de-ta tsuushin] data communication [Add to Longdo] |
データ通信機器 | [データつうしんきき, de-ta tsuushinkiki] Data Communications Equipment, DCE [Add to Longdo] |
データ通信装置 | [データつうしんそうち, de-ta tsuushinsouchi] data communications equipment [Add to Longdo] |
データ発信元認証 | [データはっしんもとにんしょう, de-ta hasshinmotoninshou] data origin authentication [Add to Longdo] |
デジタル証明 | [デジタルしょうめい, dejitaru shoumei] digital certificate, digital authentication [Add to Longdo] |
トークン | [とーくん, to-kun] authentication token, token [Add to Longdo] |